ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อสร้างกระบวนการ ประเมิน ติดตามและเฝ้าระวังและแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของนักเรียน
ตัวชี้วัด : - เกิดกระบวนการ ประเมิน ติดตามและเฝ้าระวังและแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของนักเรียน 1 ตัวชี้วัดผลลัพธ์ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย ของโรงเรียน ปี2559 1.ภาวะโภชนาการนักเรียน 1.1 ร้อยละของเด็กนักเรียนที่มีภาวะเริ่มอ้วน (นักเรียนที่มีน้ำหนักต่อส่วนสูงเกินเกณฑ์มาตรฐาน: มากกว่าหรือเท่ากับ+2 S.D. ขึ้นไป) 1.90 1.2 ร้อยละของเด็กนักเรียนที่มีภาวะผอม (นักเรียนที่มีน้ำหนักต่อส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน: น้อยกว่าหรือเท่ากับ -2 S.D. ) 4.50 1.3 ร้อยละของเด็กนักเรียนที่มีภาวะเตี้ย (นักเรียนที่มีน้ำหนักต่อส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน: น้อยกว่าหรือเท่ากับ -2 S.D. ) 2.45 1.4 ร้อยละของเด็กนักเรียนที่มีภาวะส่วนสูงระดับดีและสมส่วน 92.00 2. สมรรถภาพทางกาย - ร้อยละของเด้กนักเรียนที่มีสมรรถภาพทางกายเหมาะสมตามวัยใน 3 ด้าน คือ การไหลเวียนเลือด ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ และความอ่อนตัว 75.00 3.สุขภาพด้านอื่นๆของนักเรียน 3.1 ร้อยละของเด็กนักเรียนที่เป็นโรคฟันผุ 8.00 ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย ของโรงเรียน ปี2559 3.2มีเหตุการณ์การระบาดของโรคอาหารเป็นพิษ ไม่มี 3.3ร้อยละของเด็กนักเรียนที่ไม่เป็นเหา 100.00 3.4ร้อยละของเด็กนักเรียนที่ตรวจพบความผิดปกติของสายตาและการได้ยินได้รับการดูแลส่งต่อรักษา ไม่มี 4.การบริโภคอาหาร - ร้อยละของเด็กนักเรียนที่บริโภคอาหารได้ถูกต้อง 75 5.สุขนิสัยที่พึงประสงค์ - ร้อยละของเด็กนักเรียนที่มีสุขนิสัยที่พึงประสงค์ 75 6.ปริมาณผลผลิตทางการเกษตรแบบผสมผสานในโรงเรียน 6.1 ปริมาณผัก 110 6.2 ปริมาณผลไม้ 100 6.3 สัตว์ปีก - 6.4 สัตว์น้ำ 400 6.5 เห็ด 150 7.ความรู้ด้านเกษตร โภชนาการ และสุขภาพ - ร้อยละของเด็กนักเรียนที่มีความรู้ด้านเกษตร โสหกรณ์ภชนาการ และสุขภาพระดับดีขึ้นไป 75 8.ความพึงพอใจของนักเรียนต่อโครงการสุขภาพในโรงเรียน 82 9.ความพึงพอใจของผู้ปกครองต่อโครงการสุขภาพในโรงเรียน 75 10.ความพึงพอใจของหน่วยงานที่สนับสนุน 72

 

 

 

2 เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชุมและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการสนับสนุนการพัฒนาโรงเรียนตามแนวทางการดาเนินงานความสาเร็จของการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจร
ตัวชี้วัด : เกิดการมีส่วนร่วมของชุมชุมและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการสนับสนุนการพัฒนาโรงเรียนตามแนวทางการดาเนินงานความสาเร็จของการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจร

 

 

 

3 เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมระหว่างครู นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชนเพิ่มขึ้น และเพื่อขยายผลเครือข่ายโรงเรียนในอำเภอ
ตัวชี้วัด : ขยายผลไปสู่โรงเรียนในเครือข่ายเข้าร่วม 10 โรง มาร่วมโครงการจำนวน10โรงดังนี้ 1. โรงเรียนบ้านควนประกอบ 2. โรงเรียนบ้านต้นประดู่ 3. โรงเรียนวัดควนขี้แรด 4. โรงเรียนบ้านคู 5. โรงเรียนบ้านป่าแก่ 6. โรงเรียนบ้านพูดกรป.กลาง 7. โรงเรียนบ้านนาทุ่งโพธิ์ 8. โรงเรียนบ้านหน้าวัง 9. โรงเรียนวัดเขาวงก์ 10. โรงเรียนวัดพังกิ่ง