ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านลำทับ

รหัสโครงการ ศรร.1413-091 รหัสสัญญา 58-00-2265-ต.8 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน

การส่งเสริมเกษตรอินทรีย์เพื่อการปลูกผักปลอดสารพิษ

1.เป็นการคิดแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในการจัดการโรงเพาะเห็ดเนื่องจากเห็ดให้ผลผลิตน้อยและมีแมลงมาทำลายก้อนเชื้อส่งผลให้ก้อนเชื้อเน่าเสียเร็วดังนั้นเพื่อเพิ่มผลผลิตและน้ำหนักของเห็ดครูและนักเรียนจึงทำการทดลอง โดยใช้ฮอร์โมนไข่และสมุนไพรใน การเพิ่มน้ำหนักของดอกเห็ดและกำจัดแมลงศัตรูเห็ด

2.แปลงผักกางมุ้งเป็นการแก้ปัญหาแมลงศัตรูพืชที่มาทำลายผักกัดกินผักในแปลงจนเกิดความเสียหายและทำให้ไม่มีผลผลิตในการจัดทำอาหารกลางวันให้นักเรียนบริโภค

3.การปลูกมะนาวในท่อซีุเมนต์เป็นการช่วยในการกำจัดวัชพืชและควบคุมปริมาณการให้น้ำและและการให้ปุ๋ย การบังคับให้มะนาวออกผลผลิตนอกฤดูกาล

  1. การเลี้ยงกบในขวดพลาสติกเป็นนวัตกกรมที่เกิดขึ้นเพื่อใช้ประโยชน์จากเศษวัสดุเหลือใช้คือขวดน้ำพลาสติกโดยนำมาเลี้ยงกบเนื่องจากลดอัตราการตายของลูกกบจากการกินกันเองและเป็นการลดการแย่งอาการของกบซึ่งจะทำให้กบได้กินอาหารพอเพียงกับความต้องการและทำให้กบโตเร็ว

1.ให้นักเรียนศึกษาทดลองการนำพืชสมุนไพรอย่างอื่นมาใช้ในการใน การเพิ่มน้ำหนักของดอกเห็ดและกำจัดแมลงศัตรูเห็ดต่อไป

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

แผนบูรณาการเรียนรู้ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้

ฐานการเรียนรู้การเกษตรซึ่งผลผลิตที่ได้จะส่งผ่านสหกรณ์โรงเรียนและส่งต่อ โรงอาหารเพื่อปรุงเป็นอาหารกลางวันต่อไป

แผนบูรณาการเรียนรู้ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้จะจัดให้สอดคลองกับกิจกรรมและฐานการเรียนรู้เพื่อต่อยอดและพัฒนากิจกรรมต่อไป

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ

 

 

 

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

ผู้ปกครอง,ชุมชน,เทศบาล,หน่วยงานราชการ,สมาคมศิษย์เก่า,ภูมิปัญญาท้องถิ่น

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

ภายนอก- โรงเรียนอยู่ในเขตเมืองการคมนาคมสะดวก ทำให้การประสานงานรวดเร็ว ภายใน-โรงเรียนมีพื้นที่ อาคาร บุคลากร เพียงพอ ในการดำเนินงาน

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

โรงเรียนมี บุคลากรที่มีความสามัคคีให้ความร่วมมือในการทำงานเป็นทีมที่สำคัญได้รับการสนับสนุนจากผู้ปกครอง ชุมชน เป็นอย่างดี

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

ครูได้นำความรู้ที่ได้รับจากการอบรมและความรู้ที่ได้ศึกษาค้นคว้ามาขยายผลให้แก่นักเรียนและแม่ครัวอย่างเป็นระบบและถูกต้องตามกระบวนการ

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

โรงเรียนได้จัดการอบรมในเรื่องโภชนาการให้แก่ผู้ปกครองโดยได้เชิญผู้มีความรู้ในชุมชนมาเป็นวิทยากรให้ความรู้แก่ผู้ปกครองได้นำไปปรับใช้ในครอบครัวของตนเอง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

ทางโรงเรียนได้จัดฐานการเรียนรู้การเกษตรปลูกผักปลอดสารพิษเพื่อนำผลผลิตที่ได้มาปรุงเป็นอาหารกลางวันให้แก่นักเรียน ซึ่งปลูกผักหลายชนิดหมุนเวียนกันไป เช่น ผักบุ้ง , ผักกาดขาว, ผักคะน้า,ผักกวางตุ้ง,มะเขือ, แตงกวา, และถั่วฝักยาว โดยใช้คาบเรียนเกษตรและกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ ให้นักเรียนลงมือปลูกด้วยตนเองโดยให้นักเรียนดำเนินการทุกขั้นตอนด้วยตนเองเพื่อให้นักเรียนได้เกิดทักษะการเรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงและผลผลิตดังกล่าว ส่งเข้าสหกรณ์ ในปริมาณ 30

บัญชีการรับ – จ่าย ของฐานการเรียนรู้การเกษตร (ปลูกผัก)

นักเรียนเรียนรู้การเกษตรในการปลูกผักเพื่อให้นักเรียนได้ดำเนินการทุกขั้นตอนและพัฒนาเกี่ยวกับการเกษตรเพื่อให้ได้ผลผลิตที่ปลอดสารพิษนักเรียนเรียนรู้การเกษตรในการปลูกผักเพื่อให้นักเรียนได้ดำเนินการทุกขั้นตอนและพัฒนาเกี่ยวกับการเกษตรเพื่อให้ได้ผลผลิตที่ปลอดสารพิษ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

ไข่ เป็นอาหารโปรตีนที่มีราคาถูกให้คุณค่าทางโภชนาการสูง ทางโรงเรียนจึงได้ดำเนินจัดฐานการเรียนรู้เลี้ยงไก่ไข่,และฐานการเรียนรู้เป็ดไข่ เพื่อนำผลผลิตมาใช้ปรุงเป็นอาหารให้นักเรียนได้บริโภค

บัญชีการรับ – จ่าย ของฐานการเกษตร (การเลี้ยงไก่ไข่,เป็ดไข่)

นักเรียนเรียนรู้การดำเนินการเพื่อให้นักเรียนได้ดำเนินการทุกขั้นตอนและพัฒนาเกี่ยวกับการเลี้ยงไก่ไข่ ,เป็ดไข่ จนถึงเก็บผลผลิตส่งสหกรณ์โดยนักเรียนต้องบันทึกการเก็บผลผลิตและคำนวนกำไร ขาดทุน ในการดำเนินการ เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้ในกระบวนการจัดการผลิต

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

เนื้อปลานับเป็นแหล่งโปรตีนที่มีคุณภาพเหมาะต่อการนำมาประกอบอาหารให้แก่นักเรียนบริโภคทางโรงเรียนจึงได้ดำเนินการจัดให้มีฐาการเรียนรู้การเลี้ยงปลาในกระชังเพื่อนำมาใช้ในการประกอบอาหารให้แก่นักเรียน

บัญชีการรับ – จ่าย ของฐานการเกษตร (การเลี้ยงปลา)

นักเรียนเรียนรู้การดำเนินการเพื่อให้นักเรียนได้ดำเนินการทุกขั้นตอนและพัฒนาเกี่ยวกับการเลี้ยงปลา ให้นักเรียนสามารถคำนวนกำไร ขาดทุน ในการดำเนินการ เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้ในกระบวนการจัดการผลิต

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

อาหารมื้อเช้าเป็นมื้อที่สำคัญเป็นอย่างยิ่งทางโรงเรียนจึงจัดข้าวต้มบริการแก่นักเรียนทุกคน ทุกเช้า

โปรแกรมการจัดอาหารกลางวัน

โรงเรียนจะดำเนินการให้นักเรียนทุกคนได้รับประทานอาหารเช้าทุกคน

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

ในการจัดโปรแกรมอาหารกลางวันแก่นักเรียน ทุกมื้อจะจัดให้มี ผัก และผลไม้ทุกมื้อตามปริมาณที่เหมาะสมกับช่วงวัยของนักเรียน

โปรแกรมการจัดอาหารกลางวัน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

ในการจัดโปรแกรมอาหารกลางวันแก่นักเรียน ทุกมื้อจะจัดให้มี ผัก และผลไม้ทุกมื้อตามปริมาณที่เหมาะสมกับช่วงวัยของนักเรียน

โปรแกรมการจัดอาหารกลางวัน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

ทางโรงเรียนและหน่วยงานในชุมชนจัดให้มีการให้ความรู้ผู้ปกครองในเรื่องการทำการเกษตรแบบเกษตรอินทรีย์และส่งเสริมให้ชุมชนหันมาทำการเกษตรแบบเกษตรอินทรีย์

กิจกรรมอบรมการ การทำเกษตรแบบเกษตรอินทรีย์

ทางโรงเรียนได้ส่งเสริมการทำการเกษตรโดยมีแบบอินทรีย์แก่ผู้ปกครองนักเรียนและได้ออกเยี่ยมบ้านนักเรียนเพื่อติดตามการทำการเกษตรแบบอินทรีย์ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

ทางโรงเรียนใช้โปรแกรม TSL ในการคำนวณอาหารกลางวันของโรงเรียนเป็นรายเดือน

โปรแกรมอาหารกลางวันของโรงเรียน

นำโปรแกรม TSL เผยแพร่ต่อผู้ปกครองเพื่อนำไปใช้ในครอบครัว

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

การเฝ้าระวังและประเมินการเจริญเติบโตของเด็กวัยเรียน โดยใช้วิธีการชั่งน้ำหนัก และการวัดส่วนสูง แล้วนำค่าที่ได้มาแปลผลด้วยโปรแกรมเฝ้าระวังภาวการณ์เจริญเติบโตของเด็กอายุ 0 – 18 ปี ในแต่ละเทอม

นักเรียนที่มีน้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง (W/H) เกินเกณฑ์ (เริ่มอ้วนและอ้วน) คิดเป็นร้อยละ 5.16 และนักเรียนที่มีส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ (H/A) ต่ำกว่าเกณฑ์ คิดเป็นร้อยละ 2.85

มีการให้คำแนะนำและคำปรึกษาในการบริโภคอาหารเพื่อส่งเสริมการเจริญเติบโตของเด็กวัยเรียน เด็กขาดอาหารเด็กอ้วนและกลุ่มเสี่ยงเป็นรายบุคคล

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 1/12558 1/22558 2/12558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 1/22560 2/12560 2/22561 1/12561 1/22561 2/12561 2/2
เตี้ย 1.92 1.92% 1.57 1.57% 1.31 1.31% 1.31 1.31% 0.71 0.71% 0.45 0.45% 0.45 0.45% 0.45 0.45% 0.34 0.34% 0.34 0.34% 0.34 0.34% 0.08 0.08% 0.34 0.34% 0.34 0.34% 0.42 0.42% 0.42 0.42%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 4.90 4.90% 3.93 3.93% 3.85 3.85% 3.50 3.50% 3.48 3.48% 3.12 3.12% 2.67 2.67% 2.58 2.58% 2.27 2.27% 2.27 2.27% 1.17 1.17% 0.50 0.50% 2.13 2.13% 1.88 1.88% 2.09 2.09% 1.84 1.84%
ผอม 4.98 4.98% 4.81 4.81% 4.90 4.90% 4.81 4.81% 1.78 1.78% 1.60 1.60% 2.05 2.05% 1.52 1.52% 0.92 0.92% 0.92 0.92% 0.50 0.50% 0.42 0.42% 0.68 0.68% 0.26 0.26% 0.42 0.42% 0.42 0.42%
ผอม+ค่อนข้างผอม 6.56 6.56% 5.94 5.94% 6.38 6.38% 5.94 5.94% 4.99 4.99% 4.54 4.54% 4.45 4.45% 3.74 3.74% 2.52 2.52% 2.52 2.52% 1.09 1.09% 0.84 0.84% 1.62 1.62% 1.02 1.02% 1.76 1.76% 1.59 1.59%
อ้วน 3.41 3.41% 3.15 3.15% 2.80 2.80% 2.80 2.80% 2.76 2.76% 2.49 2.49% 2.58 2.58% 2.32 2.32% 2.10 2.10% 2.10 2.10% 1.93 1.93% 1.59 1.59% 1.71 1.71% 1.62 1.62% 1.67 1.67% 1.59 1.59%
เริ่มอ้วน+อ้วน 6.47% 6.47% 6.03% 6.03% 5.51% 5.51% 5.51% 5.51% 5.88% 5.88% 5.34% 5.34% 5.52% 5.52% 5.08% 5.08% 4.11% 4.11% 4.11% 4.11% 3.27% 3.27% 2.68% 2.68% 3.41% 3.41% 3.24% 3.24% 3.34% 3.34% 3.26% 3.26%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

เมื่อเปรียบเทียบนักเรียนที่มีภาวะเริ่มอ้วน ของภาคเรียนที่ 1 และภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 พบว่าไม่มีการเปลี่ยนแปลง ส่วนนักเรียนที่มีภาวะอ้วน พบว่าลดลงร้อยละ 0.18

แบบรายงานผลภาวะการเจริญเติบโตของนักเรียนรายบุคคล

มีการอบรมเรื่องธงโภชนาการโดยใช้หุ่นจำลองอาหารหรืออาหารจริงประกอบการสอน แล้วอธิบายแบบประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหารให้นักเรียนเข้าใจและสามารถประเมินตนเองได้

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

เมื่อเปรียบเทียบนักเรียนที่มีภาวะค่อนข้างผอม ของภาคเรียนที่ 1 และภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 พบว่า ลดลงร้อยละ 0.62 ส่วนนักเรียนที่มีภาวะผอม พบว่าลดลงร้อยละ 0.27

แบบรายงานผลภาวะการเจริญเติบโตของนักเรียนรายบุคคล

มีการอบรมเรื่องธงโภชนาการโดยใช้หุ่นจำลองอาหารหรืออาหารจริงประกอบการสอน แล้วอธิบายแบบประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหารให้นักเรียนเข้าใจและสามารถประเมินตนเองได้

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

เมื่อเปรียบเทียบนักเรียนที่มีภาวะค่อนข้างเตี้ย ของภาคเรียนที่ 1 และภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 พบว่า ลดลงร้อยละ 0.27 ส่วนนักเรียนที่มีภาวะเตี้ย พบว่าไม่มีการเปลี่ยนแปลง

แบบรายงานผลภาวะการเจริญเติบโตของนักเรียนรายบุคคล

มีการอบรมเรื่องธงโภชนาการโดยใช้หุ่นจำลองอาหารหรืออาหารจริงประกอบการสอน แล้วอธิบายแบบประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหารให้นักเรียนเข้าใจและสามารถประเมินตนเองได้

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและประเมินการเจริญเติบโตของเด็กวัยเรียน โดยใช้วิธีการชั่งน้ำหนัก และการวัดส่วนสูง แล้วนำค่าที่ได้มาแปลผลด้วยโปรแกรมเฝ้าระวังภาวการณ์เจริญเติบโตของเด็กอายุ 0 – 18 ปี ในแต่ละเทอมและจัดการส่งเสริมสุขภาพโดยการทดสอบสมรรถภาพทางกายของนักเรียน

แบบเปรียบเทียบการทดสอบสมรรถภาพทางกายของนักเรียน

จัดกิจกรรมดำเนินงานส่งเสริมการเจริญเติบโต ป้องกันและแก้ไขปัญหาโดยจัดอบรมพร้อมทั้งมีการฝึกปฏิบัติ เพื่อให้มีความรู้และทักษะในการเลือกซื้ออาหารอีกทั้งจัดอบรมโภชนาการให้แก่ผู้แม่ครัวในโรงเรียน และจัดการทดสอบสมรรถภาพทางกายของนักเรียนอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

จัดอบรมเรื่องธงโภชนาการ
พร้อมทั้งมีการฝึกปฏิบัติ เพื่อให้มีความรู้และทักษะในการเลือกซื้ออาหาร อีกทั้งจัดอบรมโภชนนาการให้แก่ผู้ปกครอง

แบบรายงานการเฝ้าระวังและประเมินการเจริญเติบโตของเด็กวัยเรียน

จัดอบรมกิจกรรมเกี่ยวกับการบริโภคอาหาร การเลือกซื้ออาหาร โดยเชิญวิทยากรมาอบรมให้คำแนะนำแก่ผู้ปกครองอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

ผู้ปกครอง,ชุมชน,เทศบาล,หน่วยงานราชการ,สมาคมศิษย์เก่า,ภูมิปัญญาท้องถิ่น

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh