ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านบางครั่ง จ.พังงา

รหัสโครงการ ศรร.1412-098 รหัสสัญญา 58-00-2265-ต.15 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน

กิจกรรม 1 งาน 1 ครอบครัว(เกษตรข้างบ้าน)

  1. ลักษณะการดำเนินงานเป็นการดำเนินการทำเกษตรเลี้ยงครอบครัว โดยใช้พื้นที่ข้างบ้านปลูกพืชผักสวนครัว ที่จำเป็นต้องใช้การประกอบอาหารในครัวเรือน เพื่อเป็นการลดรายจ่ายให้กับครอบครัว และเพิ่มรายได้ให้กับครอบครัว เมื่อเหลือกิน เหลือให้เป็นการสร้างจิตสำนึก สร้างความตระหนัก ในการดำเนินรงชีวิตแบบพอเพียง เลี้ยงชีวิตได้
  2. ขั้นตอน 2.1 ประชุมวิเคราะห์หาแนวทางในการดำเนินการสร้างจิตสำนึก อยู่อย่างพอเพียง กับคณะครู กรรมการสถานศึกษา 2.2 วางแผนการดำเนินงาน โดยการศึกษาหาความรุ้ จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ศึกษาดูงานจากแหล่งเรียนรู้ 2.3 ประชุมคณะครู กรรมการสถานศึกษา แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน กำหนดกิจกรรมการดำเนินงาน มอบหมายผู้รับผิดชอบแต่ละกิจกรรม 2.4 ดำเนินงานตามแผนที่วางไว้ 2.5 คณะกรรมการดำเนินงาน นิเทศ ติดตาม การดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง
  3. รายละเอียด
    อบรมให้ความรู้ ความเข้าใจ ในการดำเนินงาน กับนักเรียน คณะครู ผู้ปกครอง ชุมชน เพื่อชี้แจงรายละเอียดในการดำเนินงาน พร้อมฝึกทักษะในการปฏิบัติงาน มอบหมายให้ปฏิบัติงาน ตามที่ได้รับมอบหมาย ดำเนินการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้งานสำเร็จตามเป้าหมาย สรุปผลการดำเนินงาน เพื่อพัฒนาปรับปรุง ต่อไป
  4. หลักฐาน
    เอกสารการดำเนินงาน เช่น บัญชีรับจ่าย การดำเนินงาน ภาพถ่ายบันทึกการศึกษาดูงานจากหน่วยงานต่าง

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

สหกรณ์โรงเรียน

เป็นสหกรณ์ร้านค้ารับสินค้าผลผลิตการเกษตรในโรงเรียน เพื่อจำหน่ายให้กับโครงการอาหารกลางวัน และชุมชน โดยนำผลกำไรที่ได้ปันผลให้สมาชิก ตามระเบียบสหกรณ์

ส่งเสริมสนับสนุน ให้มีการดำเนินการต่อไป ที่มีปัญหาปรับแก้ ที่มีความต้อง จะสนับสนุนต่อไป

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

กิจกรรมรณรงค์กินไม่เหลือ เพื่อสุขภาพ

การรับประทานอาหารให้หมด ตามที่ตัก เน้นกินผัก ผลไม้ กินแต่พอดี

ส่งเสริม สนับสนุน การดำเนินงานกิจกรรมต่อไป เพื่อฝึกวินัยในการกินที่ถูกต้อง และเป็นประโยชน์แก่ รา่งกาย

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

กิจกรรม จัดการภาวะน้ำหนักเด็กอ้วน-ผอม

ลดปริมาณอาหาร เน้นอาหารหลัก5หมู่ สำหรับเด็กอ้วน เสริมออกกำลังกาย เพิ่มปริมาณอาหาร เน้นอาหารหลัก 5 หมู่ เสริม นม ไข่ ออกกำลังกาย ปรึกษาหมอ สำหรับเด็กผอม

ส่งเสริม สนับสนุน การมีส่วนร่วมในการดำเนินงานกิจกรรม กับผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงานสาธารณสุข

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

โครงงานเพื่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม

เป็นโครงงานที่คิดค้นขึ้นมาเพื่อทดลองให้เห็นผล และเกิดประโยชน์กับนักเรียน คณะครู ผู้ปกครอง ชุมชน โดยบูรณาการในกระบวนการเรียนการสอน

ส่งเสริม สนับสนุน กำกับติดตาม ให้ดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

โครงการโรงเรียนปลอดขยะ

เป็นโครงการที่เน้นการรักษาสิ่งแวดล้อม ด้านขยะ เพื่อนำขยะมาให้ประโยชน์ในด้านการเกษตรในโรงเรียน เช่น ทำปุ๋ยอินทรีย์ น้ำหมักชีวิภาพ เพื่อการเกษตรในโรงเรียน การนำวัสดุเหลือใช้มาเป็นประโยชน์ในการทำเป็นของใช้ ของประดับตกแต่ง ของเล่น ภายในโรงเรียน

ส่งเสริม สนับสนุน ขยายผล การดำเนินงานสู่ชุมชน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

กิจกรรมเฝ้าระวัง สุขภาพนักเรียน

ติดตามภาวะน้ำหนัก ส่วนสูง ของนักเรียนอย่างต่อเนื่อง โดย การมีส่วนร่วมกับผู้ปกครอง หน่วยงานสาธารณสุข เพื่อช่วยเหลือ แก้ไข

ส่งเสริมสนับสนุน ให้ดำเนินการต่อไป นิเทศติดตามการดำเนินงานกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

กิจกรรมบูรณาการ เด็กไทยแก้มใส ใส่ใจสุขภาพ

เป็นกิจกรรมบูรณาการ การจัดการเรียนรู้ด้านการเกษตร เพื่อผลิตผลสู่สหกรณ์โรงเรียน ให้โครงการอาหารกลางวันนำไปประกอบอาหารให้นักเรียนได้รับประทานครบ 5 หมู่เพื่อสุขภาพที่แข็งแรง โดยบูรณาการทั้ง 8 กลุ่มสาระ ตามตารางการเรียนรู้โดยครูประจำวิชาและภูมิปัญญาท้องถิ่น

ส่งเสริม สนับสนุน กำกับ นิเทศ ติดตาม การจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ

 

 

 

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

เกษตรอำเภอคุระบุรี/ ปศุสัตว์อำเภอคุระบุรี/พัฒนาที่ดินจังหวัดพังงา/องค์การบริหารส่วนตำบลบางวัน / สำนักงานสิ่งแวดล้อม/สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดพังงา/สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมภาค 15 ภูเก็ต

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

บริบทโรงเรียนอยู่ในขนบท มีพื้นที่ในการดำเนินงานได้มากมาย บุคลากร ชุมชน ส่งเสริมสนับสนุน หน่วยงานภาครัฐ และเอกชน เข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงานเป็นอย่างดี

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

ความมุ่งมั่นตั้งใจในการดำเนินงานของผู้บริหารสถานศึกษาคณะครู บุคลากร นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน มีความตระหนักในการดำเนินงาน

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

ศึกษาเรียนรู้จากการประชุม อบรม ศึกษาดูงาน ฝึกปฏิบัติ

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

เข้าร่วมประชุม อบรม ปฏิบัติ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

ทางโรงเรียนมีปริมาณพืชผักเพียงพอในการดำเนินการโครงการอาหารกลางวันค่อยข้างเพียงพอ ส่วนที่ขาดจะนำมาเพิ่มเติมจากชุมชน เพื่อเพิ่มรายได้ให้กับผู้ปกครอง

รายการอาหาร/ภาพถ่าย

1.ส่งเสริมสนับสนุนให้โรงเรียนและชุมชน เพิ่มปริมาณพืชผัก ผลไม้ ในปริมาณที่มากขึ้น 2. วางแผนการปลูกพืชผักที่เก็บรักษาได้นานกักตุนไว้เสริมในรายการอาหาร

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

มีการเลี้ยงไก้ไข่ เพื่ออาหารกลางวัน ของกลุ่มนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี่ที่ 4 จำนวน 150 ตัว เก็บไข่จำหน่ายให้สหกรณ์โรงเรียน เพื่อส่งขายโครงการอาหารลางวัน และชุมชน

รายการอาหาร/บัญชีรับ จ่าย /ภาพถ่าย

ส่งเสริมสนับสนุนให้ดำเนินกิจกรรมต่อไป

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

ฐานการเลี้ยงปลาดุก ปลานิล ของกลุ่มนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 มีการดำเนินการจำนวน 4 บ่อ เพื่อส่งขายให้กับสหกรณ์โรงเรียน เพื่อโครงการอาหารกลางวัน และชุมชน

รายการอาหาร /บัญชีรับจ่าย/ภาพถ่ายการดำเนินงาน

สนับสนุน ให้ดำเนินการต่อไป

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

โรงเรียนมีการบริการอาหารเช้าให้แก่นักเรียน โดยการทานผลไม้ที่มีในท้องถิ่น ร่วมกับนม เนื่องจากนักเรียนส่วนใหญ่ไม่ได้ทานอาหารมาโรงเรียน เนื่องจากผู้ปกครองต้องไปตัดยางตั้งเช้ามืด ไม่มีเวลาประกอบอาหารให้นักเรียน และรถรับ ส่งนักเรียน รับนักเรียนเช้ามาก นักเรียนยังไม่อยากรับประทานอาหารเช้า

บันทึกเวรครูเวรประจำวัน /ภาพถ่ายกิจกรรม

ส่งเสริมสนับสนุนให้ดำเนินการต่อไป

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

เน้นการประกอบอาหารด้วยเมนูผัก และทานผลไม้สัปดาห์ละ 3 วัน ควบคุม ดูแลการทานอาหารของนักเรียนอย่างใกล้ชิด ประสานผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการทานอาหารเมนูผักที่บ้านด้วย

ภาพถ่ายการดำเนินกิจกรรม /รายการอาหาร

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

จัดรายการอาหารด้วยโปรแกรมสคูลลั่น เน้นการบริโภคอาหารครบ 5 หมู่ ทุกวัน ในปริมาณที่พอดี ทานผลไม้ 3 วัน/สัปดาห์

เมนูอาหาร /ภาพถ่ายกิจกรรม

ส่งเสริมสนับสนุน ติดตามการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

ทางโรงเรียนส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้ปกครองนักเรียนผลิตพืช ผัก ผลไม้ ที่ปลอดสารพิษ เข้ามาจำหน่ายเพิ่มเติม ในกรณีที่ทางโรงเรียนมีผลิตไม่เพียงพอในการประกอบอาหาร

ทะเบียนผู้ปกครองที่ทำการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันของโรงเรียน / ภาพถ่าย

ส่งเสริม สนับสนุนให้ดำเนินการต่อไป พร้อมขยายผลสู่โรงเรียนใกล้เคียง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้ไม่ค่อยสมบูรณ์ เนื่องจากนักเรียน คณะครู กรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง ไม่ค่อยเห็นด้วย ว่าอาหารที่นักเรียนรับประทานน้อยเกินไป นักเรียนกินไม่อิ่ม และ ส่วนใหญ่นักเรียนจะได้กินดี ถูกสุขลักษณะก็เฉพาะที่โรงเรียนเท่านั้น จึงทำให้นักเรียนทานอาหารมื้อกลางวันที่โรงเรียนมากเป็นพิเศษ

บัญชีการซื้ออาหารสด-แห้ง/ รายการอาหาร /ภาพถ่ายกิจกรรม

ส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

มีการติดตามภาวะโภชนาการนักเรียนเดือนละครั้ง เพื่อประเมินการดำเนินงานของกิจกรรม อย่างต่อเนื่อง มีผลดี ผลเสีย อย่างไร จะได้ปรับปรุงแก่ไขทันท่วงที

แบบบันทึกภาวะน้ำหนักส่วนสูงของนักเรียน /แบบรายงานการดำเนินงาน

ส่งเสริมสนับสนุน ติดตามการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 1/12558 1/22558 2/12558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 1/22560 2/12560 2/22561 1/12561 1/22561 2/12561 2/22562 2/2
เตี้ย 21.50 21.50% 19.50 19.50% 15.71 15.71% 16.19 16.19% 6.83 6.83% 5.88 5.88% 3.49 3.49% 2.91 2.91% 2.08 2.08% 9.04 9.04% 8.43 8.43% 7.83 7.83% 7.65 7.65% 4.76 4.76% 5.83 5.83% 5.00 5.00% nan nan%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 30.00 30.00% 30.00 30.00% 22.38 22.38% 22.38 22.38% 7.32 7.32% 6.37 6.37% 4.65 4.65% 4.65 4.65% 4.17 4.17% 13.86 13.86% 13.86 13.86% 13.86 13.86% 11.18 11.18% 8.16 8.16% 10.83 10.83% 11.43 11.43% nan nan%
ผอม 18.10 18.10% 17.14 17.14% 8.57 8.57% 8.61 8.61% 11.71 11.71% 9.76 9.76% 6.40 6.40% 4.12 4.12% 4.69 4.69% 6.63 6.63% 4.82 4.82% 2.41 2.41% 7.02 7.02% 4.73 4.73% 5.63 5.63% 1.44 1.44% nan nan%
ผอม+ค่อนข้างผอม 33.81 33.81% 33.81 33.81% 19.05 19.05% 19.14 19.14% 11.71 11.71% 9.76 9.76% 14.53 14.53% 12.35 12.35% 9.90 9.90% 16.27 16.27% 16.27 16.27% 5.42 5.42% 16.37 16.37% 15.54 15.54% 11.97 11.97% 13.67 13.67% nan nan%
อ้วน 3.33 3.33% 3.33 3.33% 1.43 1.43% 0.96 0.96% 7.32 7.32% 2.93 2.93% 2.91 2.91% 1.76 1.76% 3.65 3.65% 3.61 3.61% 3.61 3.61% 1.81 1.81% 4.68 4.68% 6.08 6.08% 10.56 10.56% 4.32 4.32% nan nan%
เริ่มอ้วน+อ้วน 10.95% 10.95% 10.95% 10.95% 5.71% 5.71% 5.26% 5.26% 7.80% 7.80% 6.83% 6.83% 6.40% 6.40% 4.71% 4.71% 8.33% 8.33% 9.04% 9.04% 9.04% 9.04% 5.42% 5.42% 13.45% 13.45% 13.51% 13.51% 15.49% 15.49% 12.23% 12.23% nan% nan%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

มีการดำเนินกิจกรรมลดอ้วน เพิ่มผอม ให้นักเรียนกลุ่มที่มีปัญหาด้านภาวะโภชนาการ และดูแลการบริโภคอาหารของนักเรียนที่อยู่ในกลุ่มภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน จำนวนนักเรียนที่อ้วนมีปริมาณลดลง ปัจจุบันยังคงมีนักเรียนเริ่มอ้วน ร้อยละ 5.37 และ จำนวนนักเรียนอ้วนปัจจุบันลดลงเหลือ ร้อยละ 2.93

แบบสรุปผลการดำเนินงาน

ส่งเสริม สนับ สนุน ให้ดำเนินการต่อในภาคเรียนต่อไป

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

มีการจัดกิจกรรมลดอ้วน เพิ่มผอม ดูแลเรื่องการบริโภคอาหาร พร้อมอาหารเสริมประเภทนม และไข่ จำนวนนักเรียนที่มีภาวะผอม และค่อนข้างผอม มีจำนวน ลดลง ปัจจุบัน เหลือร้อยละ 6.83

แบบสรุปผลการดำเนินงาน

ส่งเสริม สนับสนุน ให้มีการดำเนินการต่อไป

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

จำนวนนักเรียนที่มีภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ย มีจำนวนลดลงเหลือร้อยละ 5.85 โดยการเน้นให้ออกกำลังกายยืดร่างกายเป็นหลัก พร้อมทานนม และไข่ ทุกวัน

แบบรายงานการดำเนินงาน

ส่งเสริม สนับสนุน ให้ดำเนินการต่อไป

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

ครูประจำชั้นจะดูแลภาวะทุพโภชนาการของนักเรียนอย่างสม่ำเสมอ พร้อมแก้ไขปัญหาโดยประสานผู้ปกครอง เจ้าหน้าที่สาธารณสุข หาแนวทางในการแก้ไขนักเรียนที่มีปัญหาด้านภาวะโภชนาการ

แบบบันทึกสมุดอนามัยของนักเรียนรายบุคคล

ส่งเสริมสนับสนุนให้ดำเนินการต่อไป

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

ทางโรงเรียนประสานผู้ปกครองแจ้งเพื่อทราบ ในภาวะโภชนาการของนักเรียน พร้อมขอความร่วมมือในการแก้ไขปัญาสุขภาพของนักเรียนร่วมกับครู เจ้าหน้าที่อนามัย

หนังสือขอความร่วมมือภาพถ่ายกิจกรรม

ส่งเสริมสนับสนุน ให้ดำเนินการต่อ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

เกษตรอำเภอคุระบุรี/ ปศุสัตว์อำเภอคุระบุรี/พัฒนาที่ดินจังหวัดพังงา/องค์การบริหารส่วนตำบลบางวัน / สำนักงานสิ่งแวดล้อม/สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดพังงา/สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมภาค 15 ภูเก็ต

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh