แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 1

ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านบาโงย จ.ยะลา

ชุมชน 59 ม.4 ตำบลบาโงย อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

รหัสโครงการ ศรร.1411-111 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-ต.18

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560

รายงานงวดที่ : 1 จากเดือน พฤษภาคม 2559 ถึงเดือน ตุลาคม 2559

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะกรรมการและภาคีเครือข่าย

วันที่ 27 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

1.มีคณะทำงานจากทุกภาคส่วนจำนวน  28  คน 2.มีนักเรียนและบุคลากรร่วมเป็นคณะทำงาน 117  คน 3.แม่ครัวและแกนนำผู้ปกครองเข้าร่วมเรียนรู้เกี่ยวกับการทำอาหารตามหลักโภชนาการจำนวน  6  คน

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ทุกภาคส่วนรับทราบเกี่ยวกับโครงการ  มีความรู้ความเข้าใจและพร้อมให้ความร่วมมือและสนับสนุนโครงการอย่างเต็มศักยภาพ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

ประชุมวางแผนการดำเนินงานโครงการ

กิจกรรมที่ทำจริง

1.ชี้แจงรายละเอียดโครงการ 2.เปิดโอกาสให้หน่วยงานและชุมชนร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ แสดงความคิดเห็น 3.แต่งตั้งคณะกรรมการภาคีเครือข่ายและแกนนำผู้ปกครอง 4.ทุกภาคส่วนพร้อมให้ความร่วมมือและสนับสนุนโครงการอย่างเต็มศักยภาพ

 

44 67

2. ศึกษาดูงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้แกนนำนักเรียนและครู

วันที่ 31 พฤษภาคม 2559 เวลา 07:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

1.มีคณะทำงานจากทุกภาคส่วนจำนวน  28  คน 2.มีนักเรียนและบุคลากรร่วมเป็นคณะทำงาน 117  คน 3.แม่ครัวและแกนนำผู้ปกครองเข้าร่วมเรียนรู้เกี่ยวกับการทำอาหารตามหลักโภชนาการจำนวน  6  คน

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลผลิตนักเรียนจำนวน35คนครูและบุคลากรจำนวน 15คน ได้ศึกษาดูงานการดำเนินงานเด็กไทยแก้มใสผลลัพธ์ คณะครู นักเรียน และกรรมการสถานศึกษา ได้รับความรู้นำมาใช้ในชีวิตประจำวัน และศึกษาวิธีการจัดทำนวัตกรรมเป็นของโีรงเรียน คณะครูนักเรียนเกิดการเรียนรู้แลกเปลี่ยนซึ่งกันและกันในการดำเนินงานโครงการเด็กไทยแก้มใส สรุปผลที่ได้จากการดูงาน 1.ได้นวัตกรรมการทำเตาชีวมวลมาใช้ในการจัดทำในโครงการอาหารกลางวันเพื่อประหยัดพลังงาน 2.ได้เรียนรู้การจัดการระบบสหกรณ์มาใช้ในโรงเรียน 3. ครูและบุคลากรได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้กระบวนการดำเนินงา่นโครงการศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส4. นักเรียนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้และฝึกการเป็นผู้นำ 5.คณะกรรมการสถานศึกษาได้นำแนวคิดไปบูรณาการเกษตรพอเพียงสู่ชุมชน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

1.ประชุมคณะทำงาน เพื่อเตรียมงานและมอบหมายหน้าที่รับผิดชอบ 2.ประสานงานโรงเรียนต้นแบบ 3.ทำหนังสือขออนุญาตผู้ปกครอง 4.เรียนรู้และฝึกปฎิบัติฐานการเรียนรู้จากโรงเรียนต้นแบบ

กิจกรรมที่ทำจริง

ประชุมวางแผนกำหนดการเดินทาง จัดทำหนังสือขออนุญาติการเดินทาง เดินทางตามกำหนดการ ศึกษาเรียนรู้การดำเนินงานโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสจากโรงเรียนต้นแบบสำนักสงฆ์ศรีวิจัย เช่น ศึกษานวัตกรรมเครื่องปิ้งไข่  การทำนำ้หมักชีวภาพใช้งานอเนกประสงค์ การทำถ่านจากเปลือกทุเรียน และเรียนรู้ทางเกษตรพอเพียง

 

56 50

3. อบรมเชิงปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับ 8 องค์ประกอบ

วันที่ 2 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00-16.00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

1.นักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจสามารถทำกิจกรรม ใน 8 องค์ประกอบ 2.อย่างน้อยร้อยละ 50 มีวัตถุดิบอาหาร สำหรับใช้ในการจัดอาหารกลางวันสำหรับนักเรียนที่หลากหลายและผสมผสานเกิดขึ้นในโรงเรียนอย่างยั่งยืน 3.มีอาหารเช้าสำหรับนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการอย่างน้อย 25 คน

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลผลิต- นักเรียน ครูและผู้ปกครอง มีความรู้ความเข้าใจใน 8 องค์ประกอบ ผลลัพธฺ -1.นักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้และทักษะในการปฏิบัติผ่านประสบการณ์จริง และสามารถต่อยอดการเรียนรู้สู่โรงเรียนและชุมชนอย่างยั่งยืน 2.สามารถนำนวัตกรรมมาประยุกต์ใช้ให้เข้ากับบริบทของโรงเรียน 3.ได้รับสนับสนุนเมล็ดพันธุ์ ปุ๋ย และดินสำหรับปลูกพืชให้กับผู้ร่วมอบรมเพื่อนำไปขยายผลสู่ชุมชน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

การเข้าร่วมฐานการเรียนรู้และอบรมเชิงปฎิบัติการทางด้านการเกษตร 

กิจกรรมที่ทำจริง

1.อบรมเชิงปฏิบัติการจากหน่วยงานที่รับผิดชอบในพื้นที่ ได้แก่ สำนักงานเกษตรสำนักงานที่ดินสำนักงานปศุสัตว์กรมชลประทานสกย.ธกส. และวิทยาท้องถิ่น 2.นักเรียนและผู้ปกครองลงมือปฏิบัติฐานการเรียนรู้ 10 ฐานการเรียนรู้ ได้แก่
2.1 ฐานการยางแห่งประเทศไทยจังหวัดยะลา

2.2 ฐานปุ๋ย

2.3 ฐานการทำนา

2.4 ฐานน้ำ

2.5 ฐานดิน

2.6 ฐานบัญชีรายรับ-รายจ่าย

2.7 ฐานอาหารสัตว์

2.8 ฐานการเลี้ยงปลา

2.9 ฐานนวัตกรรมแอร์แว

2.10 ฐานการเพาะปลูก

3.ครู นักเรียนและผู้ปกครองมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน 4.ให้การสนับสนุนเมล็ดพันธุ์ ปุ๋ย และดินสำหรับปลูกพืชให้กับผู้ร่วมอบรมเพื่อนำไปขยายผลสู่ชุมชน

 

79 83

4. การเพาะเห็ดนางฟ้า

วันที่ 25 มิถุนายน 2559 เวลา 08:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

1.นักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจสามารถทำกิจกรรม ใน 8 องค์ประกอบ 2.อย่างน้อยร้อยละ 50 มีวัตถุดิบอาหาร สำหรับใช้ในการจัดอาหารกลางวันสำหรับนักเรียนที่หลากหลายและผสมผสานเกิดขึ้นในโรงเรียนอย่างยั่งยืน 3.มีอาหารเช้าสำหรับนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการอย่างน้อย 25 คน

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลผลิต มีวัตถุดิบที่ปลอดสารพิษเข้าสู่โครงการอาหารกลางวัน ผลลัพธ์ 1.นักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น 2.นักเรียนได้รับประทานผักที่ปลอดสารพิษ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

การผลิตวัตถุดิบอาหารสำหรับใช้ในการจัดอาหารกลางวันสำหรับนักเรียนตลอดปีการศึกษา

กิจกรรมที่ทำจริง

1.เตรียมโรงเรือนเพาะเห็ด2. จัดเรียงก้อนเชื้อเห็ดบนชั้นวาง 3.แบ่งนักเรียนรับผิดชอบในการดูแลเห็ด4. เก็บผลผลิตเข้าสู่สหกรณ์นักเรียนและจำหน่ายสู่โครงการอาหารกลางวันในโรงเรียน

 

117 0

5. อาหารเช้าเพื่อนักเรียนทุพโภชนาการ

วันที่ 25 กรกฎาคม 2559 เวลา 07:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

1.มีข้อมูลสถานการณ์ภาวะโภชนาการของนักเรียนที่เป็นปัจจุบัน 2.มีการจัดเมนูอาหารตามโปรแกรม TSL ทุกวัน 3.มีการจัดทำ MOU ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน 4.นักเรียนทุกคนได้บริโภคอาหารกลางวันที่มีคุณภาพ

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลผลิต  -นักเรียนได้รับประทานอาหารเช้าทุกคนทุกวัน ผลลัพธ์ - นักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

จัดบริการอาหารเช้าที่มีประโยชน์ให้กับนักเรียนทุกคนทุกวัน

กิจกรรมที่ทำจริง

1.จ้างแม่ครัวประกอบอาหารเช้า 2.นักเรียนรับประทานอาหารเช้าเวลา 07.30-08.00 น. ทุกวัน

 

44 104

6. รับการนิเทศติดตามการดำเนินโครงการ

วันที่ 7 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

มีสรุปผลการดำเนินงานและสถานการณ์สุขภาพนักเรี่ยน

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลผลิต- โครงการที่ดำเนินการมีความสมบูรณ์และมีประสิทธิภาพ ผลลัพธ์- ได้รับคำแนะนำในการดำเนินงานโครงการ - ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

การเยี่ยมติดตามเสริมพลังศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส ครั้งที่ 2/2559

กิจกรรมที่ทำจริง

การเยี่ยมติดตามโครงการโดยลงพื้นที่โรงเรียนบ้านบาโงย เพิื่อประเมินผลการจัดกิจกรรม ศรร.เด็กไทยแก้มใส ได้แก่ การเกษตรในโรงเรียน  สหกรณ์นักเรียน การบริการอาหารกลางวัน การใช้เครื่องมือในการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงที่ได้มาตรฐาน และติดตามการลงข้อมูลในระบบติดตามออนไลน์ ตลอดจนแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับชุมชน

 

13 147

7. เก็บเกี่ยวผลิตผลทางการเกษตร

วันที่ 19 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

1.นักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจสามารถทำกิจกรรม ใน 8 องค์ประกอบ 2.อย่างน้อยร้อยละ 50 มีวัตถุดิบอาหาร สำหรับใช้ในการจัดอาหารกลางวันสำหรับนักเรียนที่หลากหลายและผสมผสานเกิดขึ้นในโรงเรียนอย่างยั่งยืน 3.มีอาหารเช้าสำหรับนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการอย่างน้อย 25 คน

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1.นักเรียนและบุคลากรได้รับประทานผักที่ปลอดสารพิษ 2.โรงเรียนมีวัตถุดิบในการประกอบอาหารกลางวัน ตามโปรแกรม ThaiSchoolLunch

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

เก็บผลผลิตทางการเกษตรเข้าสู่สหกรณ์โรงเรียน เพื่อจำหน่ายให้กับโครงการอาหารกลางวันของโรงเรียน

กิจกรรมที่ทำจริง

1.เตรียมอุปกรณ์สำหรับเก็บเกี่ยว 2.เก็บเกี่ยวพืชผัก 3.นำเข้าสู่สหกรณ์โรงเรียน 4.สหกรณ์จำหน่ายเข้าสู่โครงการอาหารกลางวันของโรงเรียน

 

117 117

8. การประชุมสัญจรโรงเรียนต้นแบบศูนย์การเรียนรู้เด็กไทยแก้มใส ครั้งที่ 1-2

วันที่ 13 ตุลาคม 2559 เวลา 07:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

1.มีคณะทำงานจากทุกภาคส่วนจำนวน  28  คน 2.มีนักเรียนและบุคลากรร่วมเป็นคณะทำงาน 117  คน 3.แม่ครัวและแกนนำผู้ปกครองเข้าร่วมเรียนรู้เกี่ยวกับการทำอาหารตามหลักโภชนาการจำนวน  6  คน

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลผลิต - ได้จัดทำรายงานทุกกิจกรรมที่ดำเนินการแล้วผ่านระบบออนไลน์

ผลลัพธ์ - ได้เรียนรู้และสามารถดำเนินการจัดทำรายงานผ่านระบบออนไลน์

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

การประชุมสัญจรเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้โรงเรียนต้นแบบศูนย์การเรียนรู้เด็กไทยแก้มใส ณ สถาบันจัดการระบบสุขภาพภาคใต้ สจรส มอ. เพื่อทำการเรียนรู้ในเรื่องของการจัดทำรายงานการเงินในงวดที่ 1 การลงบันทึกข้อมูลในระบบเว็ปhttp://www.dekthaikamsai.com/paper/160/owner

กิจกรรมที่ทำจริง

แลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดทำและบันทึกกิจกรรมรายงานผ่านระบบออนไลน์ รายกิจกรรมและแนวทางการเขียนสรุปรายงาน

 

2 3

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม 18 8                  
การใช้จ่ายงบประมาณ 80,000.00 29,444.00                  
คุณภาพกิจกรรม 32 27                  

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน

 

 

 

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

  1. การประชุมสัญจรโรงเรียนต้นแบบศูนย์การเรียนรู้เด็กไทยแก้มใส ครั้งที่ 1-2 ( 13 ต.ค. 2559 )
  2. อบรมแม่ครัวและแกนนำผู้ปกครอง ( 10 พ.ย. 2559 )
  3. เกมสื่อสร้างสรรค์พัฒนาทักษะเด็กไทยแก้มใส ( 6 ธ.ค. 2559 )
  4. การผลิตวัตถุดิบอาหารสำหรับใช้ในการจัดอาหารกลางวันสำหรับนักเรียน ( 20 ธ.ค. 2559 )
  5. จัดทำรายการอาหารโดยใช้โปรแกรม TSL ( 9 ม.ค. 2560 )
  6. วางแผนการจัดการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันที่สอดคล้องกับเมนูตามโปรแกรม TSL ( 8 ก.พ. 2560 )
  7. ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตามและประเมินผลรายกิจกรรม ( 15 ก.พ. 2560 )
  8. การจัดนิทรรศการแสดงผลงาน ( 28 ก.พ. 2560 )
  9. ปลูกผักไฮโดรพอนิกส์ ( 1 มี.ค. 2560 )
  10. คืนเงินดอกเบี้ยธนาคาร ( 30 มี.ค. 2560 - 4 เม.ย. 2560 )
  11. การประชุมสัญจรโรงเรียนต้นแบบศูนย์การเรียนรู้เด็กไทยแก้มใส ครั้งที่ 3 ( 4 เม.ย. 2560 )

(................................)
นางรัตนา ดำทองเสน
ผู้รับผิดชอบโครงการ