ชื่อโรงเรียน | โรงเรียนบ้านบาโงย จ.ยะลา |
สังกัด | สพป. ยะลา เขต 1 |
หน่วยงานต้นสังกัด | สพป.ยะลา เขต 1 |
ที่อยู่โรงเรียน | 59 หมู่ที่ 4 ตำบลบาโงย อำเภอรามัน จังหวัดยะลา 95140 |
จำนวนนักเรียน | 108 คน |
ช่วงชั้น | อนุบาล,ประถม |
ผู้อำนวยการ | นายปิ่นพงษ์ เบญจมนัสกุล |
ครูผู้รับผิดชอบ | นางจินดาวรรณ ยูโซ๊ะ นางสาวอัลวานีย์ ยะหะแม |
ครูบูรณาการสอนโดยการสอดแทรกกิจกรรมผ่านการเรียนการสอนทุกรายวิชา
ให้นักเรียนฝึกปฎิบัติทักษะโดยผ่านการเรียน ออนไลน์โดยให้ผู้ปกครองช่วยดูแลและส่งเสริม/นักเรียนได้ฝึกปฎิบัติและเรียนรู้จากประสบการณ์จริง
- โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก(4465)_๒๒๐๖๐๙.jpg
- โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก(4465)_๒๒๐๖๐๙_0.jpg
- โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก(4465)_๒๒๐๖๐๙_1.jpg
- โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก(4465)_๒๒๐๖๐๙_2.jpg
- โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก(4465)_๒๒๐๖๐๙_3.jpg
- โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก(4465)_๒๒๐๖๐๙_4.jpg
- โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก(4465)_๒๒๐๖๐๙_5.jpg
- โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก(4465)_๒๒๐๖๐๙_6.jpg
- โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก(4465)_๒๒๐๖๐๙_7.jpg
- โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก(4465)_๒๒๐๖๐๙_8.jpg
- โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก(4465)_๒๒๐๖๐๙_9.jpg
อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ การเฝ้าระวัง การคัดกรองปัญหาทุพโภชนาการ และจัดทำข้อมูลภาวะโภชนาการ
อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ การเฝ้าระวัง การคัดกรองปัญหาทุพโภชนาการ และจัดทำข้อมูลภาวะโภชนาการ/นักเรียนได้รับความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและจัดให้มีระบบเฝ้าระวัง การคัดกรองและจัดทำข้อสารสนเทศ
มีการสร้างเครือข่ายเกษตรอินทรีย์และอาหารปลอดภัยในโรงเรียนและชุมชน รวมทั้งมีการจัดการสุขาภิบาลอาหารและสิ่งแวดล้อมที่ดีในโรงเรียน
มีการสร้างเครือข่ายเกษตรอินทรีย์และอาหารปลอดภัยในโรงเรียนและชุมชน /มีการขยายผลครัวเรือนต้นแบบเกษตรอินทรีย์และอาหารปลอดภัยเพิ่มขึ้นในระดับชุมชน
มีการดำเนินงานประชุม คณะกรรมการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จัดทำแผนงาน คำสั่ง ข้อตกลง กับภาคีเครือข่ายเกษตรอินทรีย์และอาหารปลอดภัย
,มีการดำเนินงานตามนโยบายและการบริหารจัดการของสถานศึกษา/ได้รับความร่วมมือในทุกภาคส่วนการดำเนินงานตามนโยบายการบริหารการจัดการของสถานศึกษา
การจัดทำเมนูอาหารกลางวันตามโปรแกรม Thai school lunch ปรับเปลี่ยนวิธีการโดยครูได้ส่งเมนู THL ผ่าน @Line ผู้ปกครอง
การใช้ โปรแกรม THL ในการจัดเมนู และคำณวนปริมาณสารอาหารในโครงการอาหารกลางวันและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค ลดหวาน มัน เค็ม เพิ่มผักผลไม้/ไดัปรับปรุงการจัดทำเมนูและการส่งเสริมให้ผู้ปกครองใช้เมนูตามที่โรงเรียนแนะนำในออนไลน์
บันทึก/แก้ไขข้อมูลและเอกสารทางการเงินให้ถูกต้องตามแนวทางของสสส.
ผลผลิต - ได้จัดทำรายงานทุกกิจกรรมที่ดำเนินการแล้วผ่านระบบออนไลน์ ผลลัพธ์ - ได้เรียนรู้และสามารถดำเนินการจัดทำรายงานผ่านระบบออนไลน์
คืนดอกเบี้ยโครงการ
ได้คืนเงินดอกเบี้ยให้โครงการเด็กไทยแก้มใสจำนวน 23.39บาท
1.เตรียมโรงเรือนไฮโดรพอนิกส์ 2.เตรียมวัสดุที่ใช้ในการปลูก 3.ปลูก 4.เก็บเกี่ยวผลผลิต
ผลผลิต มีผักไฮโดรพอนิกส์ป้อนสู่สหกรณ์โรงเรียน และจำหน่ายให้กับโครงการอาหารกลางวันของโรงเรียน ผลลัพธ์ นักเรียนได้รับประทานผักที่มีประโยชน์
1.จัดทำหนังสือเชิญแกนนำผู้ปกครองและวิทยากร 2.ดำเนินกิจกรรมตามแผนที่วางไว้ -อบรมให้ความรู้แก่แกนนำผู้ปกครองนักเรียนในเรื่องการจัดทำอาหารตามหลักโภชนาการ -แบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติการทำอาหารคาว อาหารหวานและเครื่องดื่มที่มีประโยชน์ตามสุขอนามัย -นำเสนอผลงานแต่ละกลุ่ม 3.สรุปกิจกรรมการดำเนินงาน
- จัดตั้งแกนนำกลุ่มผู้ปกครองเครือข่ายเด็กไทยแก้มใส 2.แม่ครัวและแกนนำผู้ปกครองมีการเรียนรู้เกี่ยวกับการทำอาหารตามหลักโภชนาการ 3.แม่ครัวและแกนนำผู้ปกครองมีทักษะในการปฏิบัติจริง
ประชุมชี้แจงกิจกรรมการดำเนินงาน วางแผนการดำเนินงานที่ได้รับมอบหมาย ดำเนินกิจกรรมตามที่ได้รับมอบหมาย สรุปรายงานผลการจัดกิจกรรม
มีผู้เข้าร่วมงานนิทรรศการ เผยแพร่ผลงานและการดำเนินงานแก่ชุมชนและหน่วยงานใกล้เคียง
เป็นแหล่งเรียนรู้ที่ศึกษาดูงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้
มีทรรศการเผยแพร่ผลงานและการดำเนินงานแ่ชุมชนและหน่วยงานใกล้เคียง
มีเครือข่ายการดำเนินงานเด็กไทยแก้มใสเพิ่มขึ้น
ประชุมชี้แจงการดำเนินกิจกรรม ร่วมประเมินสรุป การดำเนินกิจกรรม วิเคราะห์ภาวะสถานการณ์ต่อการจัดกิจกรรมต่างๆ เสนอแนะแนวทางการแก้ปัญหา สรุปรายงานผลการดำเนินกิจกรรม
มีการประชุมหารือระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้วิเคราะห์ แก้ปัญหาในกิจกรรมที่่ประสบปัญหา แลกเปลี่ยนประสบการณ์การดำเนินกิจกรรมในแต่ละกิจกรรม ได้รับแก้ไขและปรับปรุงการดำเนินงานให้ดียิ่งขึ้น
ประชุมชี้แจงการดำเนินกิจกรรม มอบหมายหน้าที่ครูผู้รับผิดชอบ ร่วมวางแผน จัดหา จัดเตรียม ตามวัตถุดิบที่ต้องการ ประสานความช่วยเหลือหน่วยงานในชุมชน สร้างเครือข่ายในชุมชนเพื่อเป็นแหล่งผลิตวัตถุดิบร่วมกัน ดำเนินกิจกรรมตามที่ได้รับมอบหมาย สรุปรายงานผลการดำเนินงาน
มีวัตถุดิบท่ีสอดคล้องกับการจัดเมนูอาหารตามโปรแกรม TSL มีเครือข่ายชุมชนช่วยหาวัตถุดิบอีกทางหนึ่ง มีแหล่งผลิตวัตถุดิบที่หลากหลายสามารถนำมาจัดทำเป็นเมนูอาหารกลางวันได้อย่างไม่ขาด
1.เตรียมอุปกรณ์สำหรับเก็บเกี่ยว 2.เก็บเกี่ยวพืชผัก 3.นำเข้าสู่สหกรณ์โรงเรียน 4.สหกรณ์จำหน่ายเข้าสู่โครงการอาหารกลางวันของโรงเรียน
1.นักเรียนและบุคลากรได้รับประทานผักที่ปลอดสารพิษ 2.โรงเรียนมีวัตถุดิบในการประกอบอาหารกลางวัน ตามโปรแกรม ThaiSchoolLunch
1.จ้างแม่ครัวประกอบอาหารเช้า 2.นักเรียนรับประทานอาหารเช้าเวลา 07.30-08.00 น. ทุกวัน
ผลผลิต -นักเรียนได้รับประทานอาหารเช้าทุกคนทุกวัน ผลลัพธ์ - นักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น
ประชุมชี้แจงวางแผนการดำเนินงาน -วางแผนจัดทำเมนูอาหารตามโปรแกรม TSL -จัดทำเมนูอาหารหมุนเวียน 2 สัปดาห์ -จัดพิมพ์และรวบรวมเป็นรูปเล่ม -เขียนรายการอาหารที่ได้บนกระดานเมนูเป็นประจำสัปดาห์ -สรุปรายงานการใช้โปรแกรม TSL
มีโปรแกรมอาหารในการคำณวนปริมาณวัสถถุดิบและค่าใช้จ่ายในการทำอาหารกลางวัน
มีเมนูอาหารที่มึคุณค่าทางโภชนาการที่หลากหลาย ให้กับนักเรียนอย่างเหมาะสมกับวัย
-ประชุมวางแผน ชี้แจงกิจกรรม ที่จะดำเนินการ -จัดหา วัสดุ อุปกรณ์ ในการดำเนินกิจกรรม -ดำเนินการตามกิจกรรมที่กำหนด -สรุปรายงานการดำเนินงาน
-มีวัตถุดิบในการผลิต จัดทำอาหาร ได้แก่ เห็ด ไก่ ปลา ผักสวนครัว และผลไม้ ชนิดต่าง
-มีวัตถุดิบอาหารในการจัดอาหารกลางวัน และอาหารเช้า สำหรับนักเรียนที่หลากหลาย มีประโยชน์ และปลอดสารพิษ
-นักเรียนได้เรียนรู้จากการฝึกปฏิบัติจริงในการทำกิจกรรมเกษตร อาหาร แลโภชนาการ สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
-ได้รับความรู้จากหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยตรง เช่น ความรู้เรื่องการเลี้ยง ปลา ไก่ จากปศุสัตว์และประมง
-มีความรู้ในเรื่องอาหารและโภชนาการจาก
-มีความรู้เรื่องการใช้วัสดุอุปกรณ์ในการทำการเกษตร อาหาร และโภชนาการ ที่ถูกต้องและปลอดภัย
-มีแหล่งเรียนรู้ให้แก่นักเรียน ครู ผู้ปกครอง รวมทั้งชุมชน
-ประชุมวางแผนจัดทำกิจกรรม -ทำหนังสือเชิญหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง -ดำเนินงานตามกิจกรรมตั้งแต่วันที่ 6 ธันวาคม 2559 ถึงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2560 -ออกแบบกิจกรรม สื่อประเภทต่างๆ -ลงมือปฏิบัติ ตามกระบวนการ นำเสนอ สรุปรายงานผล
1.โรงเรียนมืสื้่อและกิจกรรมฝึกทักษะนักเรียนทั้งทางด้านร่างกาย สมองและความรู้และความคิดสร้างสรรค์
2.นักเรีนได้ใช้อวัยวะต่างๆในการทำกิจกรรม ฝึกปฏิบัตื
3.นักเรียนมีความรู้ด้านต่างๆ เช่น โภชนาการ ภาษา และ การใช้สัญลักษญ์ ต่างๆ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดทำและบันทึกกิจกรรมรายงานผ่านระบบออนไลน์ รายกิจกรรมและแนวทางการเขียนสรุปรายงาน
ผลผลิต - ได้จัดทำรายงานทุกกิจกรรมที่ดำเนินการแล้วผ่านระบบออนไลน์
ผลลัพธ์ - ได้เรียนรู้และสามารถดำเนินการจัดทำรายงานผ่านระบบออนไลน์
การเยี่ยมติดตามโครงการโดยลงพื้นที่โรงเรียนบ้านบาโงย เพิื่อประเมินผลการจัดกิจกรรม ศรร.เด็กไทยแก้มใส ได้แก่ การเกษตรในโรงเรียน สหกรณ์นักเรียน การบริการอาหารกลางวัน การใช้เครื่องมือในการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงที่ได้มาตรฐาน และติดตามการลงข้อมูลในระบบติดตามออนไลน์ ตลอดจนแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับชุมชน
ผลผลิต- โครงการที่ดำเนินการมีความสมบูรณ์และมีประสิทธิภาพ ผลลัพธ์- ได้รับคำแนะนำในการดำเนินงานโครงการ - ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้
1.เตรียมโรงเรือนเพาะเห็ด2. จัดเรียงก้อนเชื้อเห็ดบนชั้นวาง 3.แบ่งนักเรียนรับผิดชอบในการดูแลเห็ด4. เก็บผลผลิตเข้าสู่สหกรณ์นักเรียนและจำหน่ายสู่โครงการอาหารกลางวันในโรงเรียน
ผลผลิต มีวัตถุดิบที่ปลอดสารพิษเข้าสู่โครงการอาหารกลางวัน ผลลัพธ์ 1.นักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น 2.นักเรียนได้รับประทานผักที่ปลอดสารพิษ
1.อบรมเชิงปฏิบัติการจากหน่วยงานที่รับผิดชอบในพื้นที่ ได้แก่ สำนักงานเกษตรสำนักงานที่ดินสำนักงานปศุสัตว์กรมชลประทานสกย.ธกส. และวิทยาท้องถิ่น
2.นักเรียนและผู้ปกครองลงมือปฏิบัติฐานการเรียนรู้ 10 ฐานการเรียนรู้ ได้แก่
2.1 ฐานการยางแห่งประเทศไทยจังหวัดยะลา
2.2 ฐานปุ๋ย
2.3 ฐานการทำนา
2.4 ฐานน้ำ
2.5 ฐานดิน
2.6 ฐานบัญชีรายรับ-รายจ่าย
2.7 ฐานอาหารสัตว์
2.8 ฐานการเลี้ยงปลา
2.9 ฐานนวัตกรรมแอร์แว
2.10 ฐานการเพาะปลูก
3.ครู นักเรียนและผู้ปกครองมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน 4.ให้การสนับสนุนเมล็ดพันธุ์ ปุ๋ย และดินสำหรับปลูกพืชให้กับผู้ร่วมอบรมเพื่อนำไปขยายผลสู่ชุมชน
ผลผลิต- นักเรียน ครูและผู้ปกครอง มีความรู้ความเข้าใจใน 8 องค์ประกอบ ผลลัพธฺ -1.นักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้และทักษะในการปฏิบัติผ่านประสบการณ์จริง และสามารถต่อยอดการเรียนรู้สู่โรงเรียนและชุมชนอย่างยั่งยืน 2.สามารถนำนวัตกรรมมาประยุกต์ใช้ให้เข้ากับบริบทของโรงเรียน 3.ได้รับสนับสนุนเมล็ดพันธุ์ ปุ๋ย และดินสำหรับปลูกพืชให้กับผู้ร่วมอบรมเพื่อนำไปขยายผลสู่ชุมชน
ประชุมวางแผนกำหนดการเดินทาง จัดทำหนังสือขออนุญาติการเดินทาง เดินทางตามกำหนดการ ศึกษาเรียนรู้การดำเนินงานโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสจากโรงเรียนต้นแบบสำนักสงฆ์ศรีวิจัย เช่น ศึกษานวัตกรรมเครื่องปิ้งไข่ การทำนำ้หมักชีวภาพใช้งานอเนกประสงค์ การทำถ่านจากเปลือกทุเรียน และเรียนรู้ทางเกษตรพอเพียง
ผลผลิตนักเรียนจำนวน35คนครูและบุคลากรจำนวน 15คน ได้ศึกษาดูงานการดำเนินงานเด็กไทยแก้มใสผลลัพธ์ คณะครู นักเรียน และกรรมการสถานศึกษา ได้รับความรู้นำมาใช้ในชีวิตประจำวัน และศึกษาวิธีการจัดทำนวัตกรรมเป็นของโีรงเรียน คณะครูนักเรียนเกิดการเรียนรู้แลกเปลี่ยนซึ่งกันและกันในการดำเนินงานโครงการเด็กไทยแก้มใส สรุปผลที่ได้จากการดูงาน 1.ได้นวัตกรรมการทำเตาชีวมวลมาใช้ในการจัดทำในโครงการอาหารกลางวันเพื่อประหยัดพลังงาน 2.ได้เรียนรู้การจัดการระบบสหกรณ์มาใช้ในโรงเรียน 3. ครูและบุคลากรได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้กระบวนการดำเนินงา่นโครงการศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส4. นักเรียนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้และฝึกการเป็นผู้นำ 5.คณะกรรมการสถานศึกษาได้นำแนวคิดไปบูรณาการเกษตรพอเพียงสู่ชุมชน
1.ชี้แจงรายละเอียดโครงการ 2.เปิดโอกาสให้หน่วยงานและชุมชนร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ แสดงความคิดเห็น 3.แต่งตั้งคณะกรรมการภาคีเครือข่ายและแกนนำผู้ปกครอง 4.ทุกภาคส่วนพร้อมให้ความร่วมมือและสนับสนุนโครงการอย่างเต็มศักยภาพ
ทุกภาคส่วนรับทราบเกี่ยวกับโครงการ มีความรู้ความเข้าใจและพร้อมให้ความร่วมมือและสนับสนุนโครงการอย่างเต็มศักยภาพ