แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อแก้ไขปัญหาทุพโภชนาการของนักเรียนในระยะยาว
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละของนักเรียนที่มีภาวะทุกโภชนาการลดลง นักเรียนมีภาวะอ้วนไม่เกินร้อยละ 5 นักเรียนมีภาวะผอม ลดลงจากเดิมไม่น้อยกว่าร้อยละ 0.5 ต่อปี นักเรียนมีภาวะเตี้ย ลดลงจากเดิมไม่น้อยกว่าร้อยละ 0.5 ต่อปี 2.มีรูปแบบการดำเนินงานแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการของนักเรียน

 

 

นักเรียนมีภาวะโภชนการที่ดีขึ้น โดยมีภาวะเตี้ย ลดลงอย่างต่อเนื่อง

2 เพื่อสร้างกระบวนการ ประเมินติดตาม และเฝ้าระวังและแก้ปัญหาภาวะโภชนาการของนักเรียน
ตัวชี้วัด : 1. เด็กนักเรียนทั้งหมดได้รับการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการที่มีคุณภาพ (ดดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมระหว่างโรงเรียนและครอบครัว) 2.มีการจัดรายการอาหารกลางวันของเรียนให้มีปริมาณพลังงาน และสารอาหารครบถ้วนหรืออย่างน้อยร้อยละ 70 ของความต้องการ นักเรียนทุกคน -ได้รับเนื้อสัตว์ไม่น้อยกว่า 2ช้อนกินข้าว ต่อมื้อ -ได้บริโภคผักไม่น้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ(อนุบาล 50กรัม,ประถมศึกษา 70กรัม)

 

 

นักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น ได้รับการดูแลจากครอบครัวและโรงเรียนอย่างสม่ำเสมอ นักเรียนได้รับอาหารกลางวันท่ีมีประโยชน์ตามเมนูโปรแกรมTHL

3 เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการสนับสนุนการพัฒนาโรงเรียน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของชุมชนมีส่วนร่วมในการคิด ทำและสนับสนุนการดำเนินงานในการพัฒนาเด็กบาโงย

 

 

ชุมชนมีส่วนร่วมและให้การสนับสนุนการดำเนินงานการพัฒนานักเรียนและโรงเรียนอย่างมีศักยภาพ