1.ครูที่รับผิดชอบให้ความรู้เกี่ยวกับการปลูกพืชผักสวนครัวแก่นักเรียน 2.เตรียมพื้นที่สำหรับปลูก โดยทำเป็นกระบะยาวจากก้อนอิฐ 3.เตรียมดินใส่ปุ๋ย 4.จัดซื้อเมล็ดพันธุ์ผัก พันธุ์พืช การปลูกผักสวนครัว ชนิดต่างๆ เช่น มะเขือเปราะ มะเขือยาว พริก ผักบุ้ง กวางตุ้ง คะน้า ตะไคร้ ผักหวาน ชะอม 5.นักเรียนลงมือปฏิบัติปลูกผัก และบำรุงดูแล 6.เก็บเกี่ยวผลผลิตทางการเกษตรที่ปลอดสารพิษ ให้กับสหกรณ์นักเรียน เพื่อนำส่งโครงการอาหารกลางวัน
1.ศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส (ศรร.) มีวัตถุดิบเพื่อทำอาหารกลางวันจากกิจกรรมทั้งหมดแบบบูรณาการอย่างต่อเนื่อง 2.สามารถสร้างผลผลิตเกษตรด้านพืชและสัตว์ สนับสนุนกิจกรรมโครงการอาหารกลางวัน เพียงพอกับความต้องการกับจำนวนนักเรียน 3.พัฒนาให้ความรู้ครู นักเรียนผู้ปกครองและบุคคลที่เกี่ยวข้องให้ส่งเสริมสนับสนุนและเห็นความสำคัญด้านอาหารและโภชนาการอย่างยั่งยืน
ประกอบด้วย