ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านทุ่งรักชัยพัฒน์

รหัสโครงการ ศรร.1412-099 รหัสสัญญา 58-00-2265-ต.25 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน

1.กิจกรรม STEM ศึกษา

คัดเลือกจากพืชที่ปลูกและสัตว์ที่เลี้ยงในโรงเรียนเพื่อนำมาศึกษา หลังจากนั้นร่วมกันจ้ดทำแผนการจัดการเรียนรู้STEM ศึกษา โดยครูทุกคนร่วมกันจัดทำทั้งในส่วนวิชาวิทยาศาสตร์ วิชาเทคโนโลยีวิชาวิศวกรรมศาสตร์และคณิตศาสตร์ ซึ่งได้เลือกการเลี้ยงไก่ไข่ แล้วนำมา บูรณาการการเรียนการสอนเรื่องไก่ไข่กับ วิชาวิทยาศาสตร์ วิชาเทคโนโลยี วิชาวิศวกรรมศาสตร์และคณิตศาสตร์ในห้องเรียน ให้นักเรียนได้เรียนรู้และฝึกปฏิบัติจริง และบันทึกผลการเรียนรู้ และเป็นส่วนหนึ่งในกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้

จะมีการจัดการเรียนรู้STEMศึกษา ให้ครบทุกกิจกรรมฐานการเรียนรู้ ดังนี้ คือ ฐานไก่ไข่หรรษา ฐานเห็ดน่ารู้ ฐานปลาดุก ฐานพืชผักผสมผสาน ฐานสหกรณ์ ฐานธนาคารขยะและปุ๋ยหมัก

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

สหกรณ์นักเรียน

การดำเนินการสหกรณ์นักเรียนให้ดำเนินการโดยนักเรียนทั้งหมดมีครูเป็นที่ปรึกษา และมีการจัดการเรียนการสอน เป็นฐานกิจกรรมหนึ่งในกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ ได้รับรางวัลโรงเรียนต้นแบบสหกรณ์โรงเรียนของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 3 โครงการประกวดโรงเรียนจัดการเรียนรู้การสหกรณ์รางวัลพระราชทาน ประจำปี 2559

มีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง ให้นักเรียนรุ่นต่อๆไป

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

เมนูอาหารตามโปรแกรม Thai schoollunch

ดำเนินการโดยส่งครูเข้าอบรมThai schoollunch แล้วนำความรู้มาขยายผลต่อครู นักเรียน ให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดเมนูอาหาร แล้วให้ฝึกคำนวนคุณค่าทางโภชนาการ แต่ต้องคำนึงถึงวัตถุดิบที่มีในท้องถิ่น นำเมนูอาหารที่ได้มาจัดทำเป็นรายเดือน ให้โครงการอาหารกลางวันจัดทำอาหารกลางวันตามเมนูโรงเรียนมีการจัดเรื่องของการรบริการอาหารของนักเรียนโดยใช้โปรแกรม Thaischool luch และมีกลุ่มแม่บ้านอาสาหมุนเวียนมาประกอบอาหารกลางวันให้กับนักเรียนในโรงเรียนในวันสำคัญต่างๆ

จัดทำเมนูอาหารกลางวันล่วงหน้าให้ครบทั้งภาคเรียนและให้ความรู้แม่ครัว และผู้ปกครองนักเรียนเรื่อง โปรแกรม Thai schoolluch

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน
  1. ชุมนุมรักสุขภาพ 2.ชุมชุมเด็กไทยทำได้
  1. ชุมนุมรักสุขภาพ ติดตามภาวะโภชนาการของนักเรียนทั้งโรงเรียน คัดแยกนักเรียนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ เข้าร่วมกิจกรรมชุมนุมรักสุขภาพ โดยให้นักเรียนได้ออกำลังกายและสมรรถภาพทางกายสัปดาห์ละ 1 ชั่วโมง โดยบันทึกน้ำหนักก่อนร่วมกิจกรรมและ ระหว่างการทำกิจกรรมทุกๆเดือนปรากฏว่าน้ำหนักของนักเรียนลดลง
  2. เด็กไทยทำได้
    1)ส่งเสริมให้นักเรียนออกกำลังกายทุกวันตอนเย็นหลังเลิกเรียน วันละ 30 นาที 2)ให้ความรู้การตักอาหารตามธงโภชนาการ

นำการเรียนรู้ในโรงเรียนไปช่วยเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกาย ให้กับบุคคลในครอบครัวและชุมชน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

ชุมชุมเด็กไทยทำได้

ชุมนุมเด็กไทยทำได้ ประกอบด้วย 4กิจกรรม คือ ส้วมสุขสันต์ ผมสวยไร้เหา อ.ย.น้อย และฟันสวยยิ้มใส
นักเรียนแกนนำจะให้ความรู้ แนะนำ บันทึกข้อมูลบันทึกสุขภาพต่างๆ โดยมีครูคอยให้คำแนะนำ

ดำเนินการให้กิจกรรมดำเนินการอย่างต่อเนื่อง

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

โรงเรียนปลอดขยะ และชุมนุมเด็กไทยทำได้

เนื่องจากทางโรงเรียนมีนโยบายไม่จำหน่ายอาหาร ขนมกรุบกรอบและน้ำอัดลมในโรงเรียนซึ่งขยะส่วนใหญ่มาจากถุงนมโรงเรียน จึงมีการนำถุงนมไปประยุกต์เป็นสิ่งของต่างๆในฐานการเรียนรู้ธนาคารขยะด้วย รวมทั้งมีการนำถุงนมเหล่านั้นเป็นถุงเพาะต้นกล้าของพืชที่จะนำไปปลุกต่อไป ชุมนุมเด็กไทยทำได้ ในกิจกรรมส้วมสุขสันต์ จะส่งเสริมในนักเรียนรู้จักวิธีการใช้และดูแลห้องน้ำห้องส้วม และบริเวณข้างเคียงให้ดูสะอาดและถูกสุขลักษณะ

ดำเนินการต่อไปอย่างต่อเนื่อง

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

ชุมนมเด็กไทยทำได้

ชุมนุมเด็กไทยทำได้ ประกอบด้วย 4กิจกรรม คือ ส้วมสุขสันต์ ผมสวยไร้เหา อ.ย.น้อย และฟันสวยยิ้มใส
นักเรียนแกนนำจะให้ความรู้ แนะนำ บันทึกข้อมูลบันทึกสุขภาพต่างๆ โดยมีครูคอยให้คำแนะนำ และในแต่ละปีการศึกษาจะได้รับการบริการจากสาธารณสุข โรงพยาบาลในด้านของสุขภาพและทัณตสุขภาพ

ดำเนินการกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง และนักเรียนสามารถนำไปปรับใช้กับครอบครัว และชุมชนได้

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

ศูนย์เรียนรู้โรงเรียนเด็กไทยแก้มใส

มีการบูรณาการการจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย เข้าสู่การเรียนการสอนและกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้

ขยายผลสู่ชุมชน โรงเรียนและหน่วยงานต่างๆได้ นักเรียนสามารถนำสื่งที่เรียนรู้จากศูนย์การเรียนรู้ในโรงเรียนนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน และสร้างเป็นอาชีพได้โดยมีผู้ปกครองให้การสนับสนุน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ

 

 

 

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

1.โรงพยาบาลคุระบุรี ให้ความร่วมมือและช่วยเหลือในเรื่องสุขภาพอนามัยให้กับนักเรียน 2.สำนักงานเกษตรอำเภอคุระบุรี ให้ความร่วมมือและสนับสนุน พันธ์ุผักและให้ความรู้เรื่องการเพาะเห็ด 3.สำนักงานเทศบาลตำบลคุระบุรีสนับสนุนเรื่องการกำจัดขยะที่ถูกวิธี 4.ประมงอำเภอคุระบุรีให้ความรู้เรื่องการเลี้ยงปลา 5.ปศุสัตว์อำเภอคุระบุรี ให้ความรู้เรื่องการเลี้ยงไก่ 6.สาธารณสุขอำเภอคุระบุรี ให้ความร่วมมือและช่วยเหลือในเรื่องสุขภาพอนามัยและโภชาการที่ถูกวิธีให้กับนักเรียน 7. รพ.สต.บ้านทุ่งรัก ให้ความร่วมมือและช่วยเหลือในเรื่องสุขภาพอนามัยและโภชาการที่ถูกวิธีให้กับนักเรียน 8. องค์การบริหารส่วนตำบลแม่นางขาว 9. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ให้ความรู้การจัดทำหลักสูตรSTEM ศึกษาในเรื่องไก่ไข่ 10. โรงเรียนคุระบุรีชัยพัฒนาพิทยาคม ให้ความรู้เรื่องการเพาะเห็ดและการทำก้อนเชื้อเห็ด 11. สหกรณ์จังหวัดพังงา

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

  1. ชุมชนให้ความร่วมมื่อ
  2. มีพื้นที่เพียงพอสำหรับทำการเกษตร
  3. โรงเรียนมีนโยบาย ไม่ขาย น้ำอัดลม ของหวาน และขนมกรุบกรอบ ทำให้เด็กนักเรียนมีสุขภาพฟันดี

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

1.ผู้บริหารเห็นความสำคัญและให้การสนับสนุนกิจกรรมตลอดการดำเนินงาน 2.ครูและบุคลากรในโรงเรียนให้ความร่วมมือ
3.นักเรียนได้เรียนรู้และลงมือปฏิบัติจริง
4.สร้างแนวร่วมและเครือข่ายต่างๆ

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

ครู นักเรียนและแม่ครัวได้รับการอบรมเติมเสริมความรู้อย่างต่อเนื่อง นำความรู้ที่ได้รับมาขยายสู่บุคคลอื่นที่เกี่ยวข้อง ปฏิบัติได้ถูกต้องและทำให้เกิดประโยชน์สูงสุด

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

ผู้ปกครองและชุมชนได้รับความรู้จากการขยายผลของครู นักเรียนและแม่ครัว และมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมต่างๆกับนักเรียน ตลอดจนให้การสนับสนุนด้านทรัพยากร

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

ผักที่ผลิตไม่เพียงพอต่อโครงการอาหารกลางวันทางโรงเรียนจะนำมาจาก ชุมชนเครือข่าย ใกล้เคียง ซึ่งมีวิธีการเลือกซื้อมาจากมาจากพ่อค้าแม่ค้าที่เชื่อถือได้ ว่า สะอาด ปลอดภัย

ชุมชนที่เชื่อถือได้ ตลาดในชุมชน

ปลูกผักและผลไม้ในโรงเรียนหลากหลายชนิดขึ้น และขยายเครือข่ายผู้ปกครองในการปลูกผัก

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

โรงเรียนได้เลี้ยงไก่ไข่และนำไข่มาประกอบอาหารกลางวันได้เพียงพอกับนักเรียน และจำหน่ายแก่ชุมชน

เมนูอาหารกลางวันที่มีไข่เป็นวัตถุดิบ และภาพถ่ายการเลี้ยงไก่

ดำเนินการเลี้ยงไก่ไข่ในทุกปีการศึกษา

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

เลี้ยงปลาดุกเพื่อประกอบอาหารและจำหน่ายให้กับชุมชน

เมนูอาหารกลางวันที่มีปลาดุกเป็นวัตถุดิบ และภาพถ่ายการเลี้ยงปลาดุก

ดำเนินการเลี้ยงปลาดุกและเพิ่มเติมปลาชนิดอื่นๆ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

โรงเรียนมีการบริการอาหารเช้าใช้กับนักเรียนทุกคน

ภาพถ่าย สัมภาษณ์จากนักเรียนและผู้เกี่ยวข้อง

ดำเนินการต่อในปีการศึกษาต่อไป

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

แม่ครัวมีความรู้เกี่ยวกับโปรแกรมการกำหนดเมนูอาหารกลางวันและสามารถจัดเมนูอาหารที่เหมาะสมให้แก่เด็ก เมนูอาหารของทุกวันจะประกอบด้วยเมนูผักทุกวัน และมีผลไม้สำหรับนักเรียนทุกวัน

เมนูอาหาร และภาพถ่ายการรับประทานอาหารกลางวันของนักเรียน

ดำเนินการต่อในปีการศึกษาต่อไป ให้ความรู้แก่เด็กและผู้ปกครองในการรับประทานผัก

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

แม่ครัวมีความรู้เกี่ยวกับโปรแกรมการกำหนดเมนูอาหารกลางวันและสามารถจัดเมนูอาหารที่เหมาะสมให้แก่เด็ก เมนูอาหารของทุกวันจะประกอบด้วยเมนูผักทุกวัน และมีผลไม้สำหรับนักเรียนทุกวัน

เมนูอาหาร และภาพถ่ายการรับประทานอาหารกลางวันของนักเรียน

ดำเนินการต่อในปีการศึกษาต่อไป ให้ความรู้แก่เด็กและผู้ปกครองในการรับประทานผัก

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

โครงการอาหารกลางวันมีการซื้อผักและผลไม้จากผู้ผลิตโดยตรงบ้างตามโอกาส

ภาพถ่าย /ชุมชน

ประสานความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดภัยปลอดสารพิษจากหลายๆแหล่ง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

โรงเรียนใช้โปรแกรม Thai School Lunch ในการจัดอาหารกลางวันให้กับนักเรียนหมุนเวียนใน 1 เดือน แต่อาจมีการเปลี่ยนแปลงบ้างตามวุตถุดิบในท้องถิ่น

เมนูรายการอาหาร

ดำเนินการจัดเมนูหมุนเวียนใน1 ภาคเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

มีการติดตามการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ในทุกๆเดือน มีแบบบันทึกมีการส่งเสริมเด็กเพื่อพัฒนาและแก้ปัญหาสุขภาวะ และโภชนาการของเด็กและเยาวชน เมื่อพบเด็กที่มีปัญหาด้านสุขภาวะ เราจะมีการส่งเสริมให้เด็กออกกำลังกาย เด็กที่มีปัญหาที่เริ่มผอมเราจะมีการส่งเสริมโดยการเพิ่มปริมาณอาหารกลางวันและดื่มนมวันละ2ถุง ควบคู่ไปกับการออกกำลังกาย

บันทึกภาวะโภชนาการ

ดำเนินการต่อในปีการศึกษาต่อไป

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 1/12558 1/22558 2/12558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 1/22560 2/12560 2/22561 1/12561 1/22561 2/12561 2/22562 1/12562 1/22562 2/12562 2/22563 1/1
เตี้ย 6.62 6.62% 9.93 9.93% 7.95 7.95% 5.96 5.96% 10.27 10.27% 10.07 10.07% 8.72 8.72% 9.33 9.33% 11.43 11.43% 8.63 8.63% 9.86 9.86% 8.33 8.33% 7.75 7.75% 8.55 8.55% 7.63 7.63% 7.94 7.94% 6.84 6.84% 8.57 8.57% 10.08 10.08% 9.02 9.02% 9.65 9.65%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 14.57 14.57% 17.88 17.88% 17.22 17.22% 11.26 11.26% 15.75 15.75% 14.09 14.09% 14.09 14.09% 13.33 13.33% 19.29 19.29% 15.11 15.11% 12.68 12.68% 13.89 13.89% 13.95 13.95% 16.24 16.24% 13.74 13.74% 14.29 14.29% 41.03 41.03% 17.14 17.14% 15.13 15.13% 14.75 14.75% 20.18 20.18%
ผอม 11.26 11.26% 4.64 4.64% 7.28 7.28% 3.97 3.97% 0.68 0.68% 3.36 3.36% 3.36 3.36% 4.00 4.00% 2.86 2.86% 4.32 4.32% 4.23 4.23% 3.47 3.47% 2.33 2.33% 3.88 3.88% 4.72 4.72% 4.76 4.76% 3.42 3.42% 0.83 0.83% 1.68 1.68% 0.82 0.82% 0.88 0.88%
ผอม+ค่อนข้างผอม 13.25 13.25% 11.92 11.92% 13.91 13.91% 9.93 9.93% 4.11 4.11% 8.05 8.05% 8.05 8.05% 6.67 6.67% 7.86 7.86% 12.95 12.95% 11.97 11.97% 9.72 9.72% 12.40 12.40% 9.30 9.30% 11.02 11.02% 11.90 11.90% 8.55 8.55% 10.00 10.00% 9.24 9.24% 8.20 8.20% 12.28 12.28%
อ้วน 6.62 6.62% 4.64 4.64% 0.00 0.00% 4.64 4.64% 4.11 4.11% 4.03 4.03% 4.03 4.03% 3.33 3.33% 2.86 2.86% 3.60 3.60% 2.82 2.82% 2.78 2.78% 3.10 3.10% 3.88 3.88% 3.15 3.15% 3.97 3.97% 2.56 2.56% 5.00 5.00% 5.88 5.88% 5.74 5.74% 6.14 6.14%
เริ่มอ้วน+อ้วน 11.92% 11.92% 9.27% 9.27% 5.30% 5.30% 9.27% 9.27% 10.96% 10.96% 8.72% 8.72% 8.72% 8.72% 9.33% 9.33% 7.14% 7.14% 6.47% 6.47% 6.34% 6.34% 6.25% 6.25% 6.98% 6.98% 6.98% 6.98% 9.45% 9.45% 8.73% 8.73% 9.40% 9.40% 10.83% 10.83% 10.92% 10.92% 9.84% 9.84% 10.53% 10.53%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง
  1. ส่งเสริมการออกกำลังกายหลังเลิกเรียนทุกวันอย่างน้อยวันละ30 นาที
  2. ชุมนุมรักสุขภาพ จัจัดกิจกรรมให้กับนักเรียนที่อ้วน และเริ่มอ้วนให้มีลักษณะสมส่วน ดดยจัดกิจกรรมสัปดาห์ละ1ครั้งๆละ1ชั่วโมง
    3.ให้ความรู้แก่นักเรียนและผู้ปกครองจากเจ้าหน้าที่ รพ.สต.บ้านทุ่งรัก,โรงพยาบาลคุระบุรีและสาธารณสุขอำเภอคุระบุรี
    4.จัดระบบข้อมูลพัฒนาการนักเรียน - ประเมินภาวะโภชนาการ(น้ำหนัก,ส่วนสูง) - ติดตามเด็กเริ่มอ้วน (บันทึก) กินอาหารแต่ละมื้อให้น้อยลง ค่อยๆลดจำกัดอาหารแป้ง หวาน และไขมัน เพิ่ม ผักและผลไม้ปรับพฤติกรรมการใช้ชีวิตที่ไม่เคลื่อนไหวใช้พลังงาน ออกกำลังกายให้ได้อย่างน้อยวันละ 30 นาทีไม่ซื้อยาลดความอ้วนกินเองอาจเป็นสาเหตุให้เสียชีวิต ขอความร่วมมือจากคนในครอบครัวในเรื่องอาหารที่บ้าน เช่น ไม่ซื้อขนมเข้าบ้านปลูกผักรับประทานเอง

รูปภาพ รายชื่อนักเรียนภาวะอ้วนและเริ่มอ้วน กราฟเปรียบเทียบสถานการณ์ภาวะโภชนาการ

จัดกิจกรรมที่ช่วยแก้ไขภาวะอ้วนอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

ตั้งแต่ปีการศึกษา 2558- ปีการศึกษา 2559 ภาวะผอมและค่อนข้างผอมลดลง แต่ที่เพิ่มขึ้นอีกในช่วงภาคเรียนที่ 2 /1 เนื่องจากมีการย้ายเข้าย้ายออกและตรงกับช่วงนักเรียนปิดเทอมบางคนได้รับอาหารไม่เพียงพอเนื่องจากผู้ปกครองต้องออกไปทำงาน จึงทำให้เด็กเหล่านี้มีภาวะค่อนข้างผอมและผอมแม้ช่วงภาคเรียนที่2/2 จะมีภาวะค่อนข้างผอมลดลง แต่ก็ลดลงเพียงเล้กน้อยเท่านั้น

รูปภาพ รายชื่อนักเรียนภาวะค่อนข้างผอมและผอม กราฟเปรียบเทียบสถานการณ์ภาวะโภชนาการ

ครูดูแลนักเรียนรับประทานอาหารกลางวันเป็นพิเศษ เยี่ยมบ้านนักเรียนที่มีน้ำหนักน้อย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

ออกกำลังอาย จัดอาหารเพิ่มปริมาณ ครูให้ดื่มนมวันละ 2 ถุง ส่งเสริมให้เด็กรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน วิตามิน เกลือแร่ และไขมัน สำหรับหมวดหมู่ไขมัน ให้รับประทานตามพลังงานในแต่ละวัน ไม่ควรให้รับประทานมากจนเกินไป เพราะอาจเกิดภาวะโรคอ้วนตามมาได้

รูปภาพ รายชื่อนักเรียนภาวะค่อนข้างผอมและผอม กราฟเปรียบเทียบสถานการณ์ภาวะโภชนาการ

จัดกิจกรรมการออกกำลังกาย และส่งเสริมการดื่มนม

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

1.รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน วิตามิน เกลือแร่ และไขมัน ไม่ส่งเสริมให้กินอาหารขยะ รับประทานผักผลไม้ตั้งแต่เด็กๆ ดื่มนมวันละ 2-3 แก้ว เป็นนมจืดออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ 2-3 ครั้ง/สัปดาห์ ครั้งละ 20-30 นาที
2.แนะนำผู้ปกครองควรเข้านอนเร็วๆ ไม่ควรเกิน 22.00 น. เพราะฮอร์โมนกระตุ้นการเจริญเติบโต ขณะนอนหลับสนิทนอนอย่างน้อยวันละ 7-8 ชั่วโมง 3.หุงข้าวโดยไม่เช็ดน้ำเพื่อให้แร่ธาตุและวิตามินที่ละลายน้ำยังอยู่ในข้าวสวย ควรกินข้าวกล้องซึ่งมีวิตามินและแร่ธาตุมากกว่าข้าวขัดขาวเพื่อลดปัญหาขาดวิตามินบีหนึ่งและบีสอง 4.ใช้เกลือและน้ำปลาที่เสริมไอโอดีนเพื่อช่วยลดการเป็นโรคคอพอก 5.ให้นักเรียนกินนมในโรงเรียนโดยไม่ต้องเสียเงินเพื่อแก้ปัญหาขาดโปรตีนและส่งเสริมให้โรงเรียนมีโครงการอาหารกลางวัน 6.โรงเรียนและที่บ้านปลูกผัก และเลี้ยงสัตว์ เพื่อให้นักเรียนได้สารอาหารที่่ปลอดสารเคมี โดยเฉพาะสารอาหาร ที่ให้พลังงาน และช่วยการเจริญเติบโต ุ7.ให้ลดอาหารหวาน อาหารมันจัด และออกกำลังกายเพื่อลดปัญหาไขมันในเลือดสูง และโรคอ้วน 8.ให้ความรู้ด้านโภชนาการแก่ประชาชน เช่น จัดทำแผ่นพับ เอกสาร หนังสือ ข่าวสาร ตามสื่อต่างๆ

ภาพกิจกรรม

ดำเนินการต่อในปีการศึกษาต่อไป

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

การจัดบริการอาหารตามมาตรฐานโภชนาการ สุขาภิบาลอาหาร และอาหารปลอดภัย ชุมชนมีส่วนร่วมในการอาสามาประกอบอาหารให้กับนักเรียนในวันสำคัญ และมาร่วมประชุมรับความรู้ใหม่ - ดูและสุขภาพของนักเรียนที่บ้าน - ปลูกผัก เลี้ยงสัตว์ ในครัวเรือนและที่โรงเรียนตามความเหมาะสม

ภาพถ่าย กิจกรรมพ่อแม่ปลูกลูกรักษา

โรงเรียนรับซื้อผักและสัตว์เลี้ยงที่ชุมชนผลิต นำมาประกอบอาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

1.โรงพยาบาลคุระบุรี ให้ความร่วมมือและช่วยเหลือในเรื่องสุขภาพอนามัยให้กับนักเรียน 2.สำนักงานเกษตรอำเภอคุระบุรี ให้ความร่วมมือและสนับสนุน พันธ์ุผักและให้ความรู้เรื่องการเพาะเห็ด 3.สำนักงานเทศบาลตำบลคุระบุรีสนับสนุนเรื่องการกำจัดขยะที่ถูกวิธี 4.ประมงอำเภอคุระบุรีให้ความรู้เรื่องการเลี้ยงปลา 5.ปศุสัตว์อำเภอคุระบุรี ให้ความรู้เรื่องการเลี้ยงไก่ 6.สาธารณสุขอำเภอคุระบุรี ให้ความร่วมมือและช่วยเหลือในเรื่องสุขภาพอนามัยและโภชาการที่ถูกวิธีให้กับนักเรียน 7. รพ.สต.บ้านทุ่งรัก ให้ความร่วมมือและช่วยเหลือในเรื่องสุขภาพอนามัยและโภชาการที่ถูกวิธีให้กับนักเรียน 8. องค์การบริหารส่วนตำบลแม่นางขาว 9. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ให้ความรู้การจัดทำหลักสูตรSTEM ศึกษาในเรื่องไก่ไข่ 10. โรงเรียนคุระบุรีชัยพัฒนาพิทยาคม ให้ความรู้เรื่องการเพาะเห็ดและการทำก้อนเชื้อเห็ด 11. สหกรณ์จังหวัดพังงา

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh