ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านคลองหอยโข่ง

รหัสโครงการ ศรร.1412-115 รหัสสัญญา 58-00-2265-ต.4 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน
  1. น้ำหมักชีวภาพจากเศษอาหารใช้ในงานเกษตรของโรงเรียน
  2. กล้วยตากพลังงานแสงอาทิตย์
  3. ถั่วงอกคอนโด
  1. นำน้ำหมักชีวภาพที่ได้มาใช้ในการเกษตร ได้แก่ - ปรับปรุงคุณภาพของดินสำหรับเตรียมเพาะปลูกพืช- นำไปรดแปลงผักในอัตราส่วน100ml ต่อน้ำ 20ลิตร

- นำไปใส่ในบ่อเลี้ยงปลาเพื่อปรับคุณภาพน้ำ - นำไปรดพื้นเล้าไก่ไข่ 2. นำกล้วยซึ่่งเป็นผลผลิตทางการเกษตร มาปอกเปลือกออกแล้วนำเข้าอบในตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์ ซึ่งจะทำให้ได้กล้วยตากที่สะอาดเก็บไว้รับประทาน 3. นำถั่วเขียว แช่น้ำ 1 คืน มาวางซ้อนกันเป็นชั้นในถังพลาสติกสีดำ รดน้ำ เช้า เที่ยงเย็น 3-4 วัน จึงได้ถั่วงอกที่ปลอดภัย สามารถนำมารับประทาน

ส่งเสริมให้มีการดำเนินการต่อไป

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

การจัดบริการอาหารกลางวันโดยใช้โปรแกรม Thai school Lunch

ใช้โปรแกรม Thai school Lunch ในการจัดรายการอาหารกลางวัน เพื่อเป็นแนวทางในการจัดซื้อวัตถุดิบในการปรุงอาหารกลางวัน

ส่งเสริมให้มีการใช้โปรแกรมอย่างต่อเนื่อง เป็นแบบอย่างให้กับโรงเรียนใกล้เคียง

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

กิจกรรมการชั่งน้ำหนักส่วนสูงนักเรียน ทุก 2เดือน

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

โรงเรียนมีแผนการจัดการเรียนรู้ด้านการเกษตรได้แก่การเลี้ยงไก่ไข่การเลี้ยงปลาดุกและการเพาะเห็ดนางฟ้า

จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการ การเลี้ยงไก่ไข่การเลี้ยงปลาดุกและการเพาะเห็ดนางฟ้า

ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ให้กับผู้ปกครองนักเรียนชุมชนต่อไป

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ

 

 

 

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

  1. เกษตรอำเภอคลองหอยโข่ง
  2. ศูนย์ประมงน้ำจืดสงขลาอำเภอคลองหอยโข่ง(การเลี้ยงปลาดุก)
  3. ศูนย์รพ.สต.คลองหอยโข่ง
  4. ภูมิปัญญาท้องถิ่น ได้แก่นายทวีพงศ์ประยูร(การทำหมักชีวภาพ) นายประจัญสุวรรณสาม (การเพาะเห็ดนางฟ้า)
  5. คณะกรรมการสถานศึกษา

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

โรงเรียนมีพื้นที่จำนวนมากเหมาะกับการเกษตร

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

  1. ผู้บริหารให้การสนับสนุนในการทำกิจกรรม
  2. ครูผู้ปกครองหน่วยงานภายนอกให้การช่วยเหลือสนับสนุนในการทำกิจกรรม

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

ครูเวรสวัสดิการอาหารกลางวัน ทำการจัดซื้อวัตถุดิบในการปรุงอาหารตามรายการเมนูอาหาร Thaischoollunchเพื่อนำมาให้แม่ครัวปรุงอาหาร โดยมีครูคอยแนะนำและควบคุมการกระบวนปรุงอาหารให้ถูกต้องตามหลักสุขอนามัยนักเรียนมีการพิจารณาอาหารกลางวันที่รับประทานในแต่ละมื้อว่ามีส่วนประกอบใดบ้าง และวิเคราะห์สารที่ได้รับในแต่ละมื้อโดยครูคอยชี้แนะ

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

ผู้ปกครองและชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมโดยเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่น และเป็นที่ปรึกษาในการทำกิจกรรมเช่น การปลูกผักเหลียงการเพาะเห็ดนางฟ้าการเลี้ยงปลาดุกการทำน้ำหมักชีวภาพและการใช้ประโยชน์จากน้ำหมักชีวภาพ นอกจากนี้มีการประชุมผู้ปกครองในการให้ความร่วมมือดูแลเกี่ยวกับสุขภาพของนักเรียนเช่น การกินอาหารที่มีประโยชน์การดูแลสุขภาพร่างกาย เป็นต้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

โรงเรียนมีผักจากกิจกรรมการเกษตร ป้อนสู่โครงการอาหารกลางวัน เช่นผักบุ้งผักกวางตุ้งถั่วงอกถั่วฝักยาวมะเขือ หน่อไม้เห็ดนางฟ้าเป็นต้น ปริมาณร้อยละ70วัตถุดิบทั้งหมด ซึ่่งวัตถุดิบที่เหลือจะรับมาจากชุมชนหรือ ตลาดสด

  • แปลงเกษตรในโรงเรียน
  • บัญชีการจัดซื้ออาหารกลางวัน
  • ภาพถ่ายกิจกรรมการทำการเกษตรในโรงเรียน

ให้ผู้ปกครองและชุมชนมีส่วนร่วมในการผลิตผลผลิตทางการเกษตรป้อนสู่โรงเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

โรงเรียนมีการเลี้ยงไก่ไข่เพื่อในไข่มาผลิตอาหารกลางวันปริมาณเพียงพอต่อความต้องการ คือ นักเรียนรับประทานไข่สัปดาห์ละ 2 ฟอง

  • สมุดบัญชีรายรับ รายจ่าย การเลี้ยงไก่ไข่
  • บัญชีการจัดซื้ออาหารกลางวัน
  • ภาพถ่ายกิจกรรมการทำการเกษตรในโรงเรียน

ส่งเสริมให้มีการเลี้ยงไก่ไข่อย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

โรงเรียนมีการเลี้ยงปลาดุกในกระชัง ปลาสวายในบ่อดิน แต่มีปริมาณไม่เพียงพอการการจัดบริการอาหารกลางวัน

  • บัญชีการจัดซื้ออาหารกลางวัน
  • ภาพถ่ายกิจกรรมการทำการเกษตรในโรงเรียน

ขอความช่วยเหลือจากหน่วยงานศูนย์วิจัยประมงน้ำจืดจังหวัดสงขลาเป็นปรึกษาและติดตามการดำเนินงานเป็นระยะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

โรงเรียนมีการจัดบริหารอาหารเช้าเช่นข้าวต้มข้าวเหนียวไก่ทอดโอวัลติน-ขนมปัง

  • สอบถามจากนักเรียน
  • ภาพถ่ายกิจกรรมการทำการเกษตรในโรงเรียน

จัดบริการอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ ครบ 5 หมู่ เช่นข้าวยำ ข้าวผัด

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

โรงเรียนมีการจัดบริการอาหารกลางวัน ตามโปรแกรม Thaischool Lunch

  • เมนู Thaischool Lunch
  • ภาพถ่ายกิจกรรมการทำการเกษตรในโรงเรียน

ส่งเสริมและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

โรงเรียนมีการจัดบริการอาหารกลางวัน ตามโปรแกรม Thaischool Lunch

  • เมนู Thaischool Lunch
  • ภาพถ่ายกิจกรรมการทำการเกษตรในโรงเรียน

ส่งเสริมและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

โรงเรียนมีการจัดซื้อผัก ผลไม้ปลอดสารพิษจากแหล่งผลิตในหมู่บ้าน

  • บัญชีการจัดซื้ออาหารกลางวัน
  • การสอบถามชุมชน

ส่งเสริมให้ชุมชนให้ปลูกผักและผลไม้จำหน่ายให้กับโครงการอาหารกลางวันในโรงเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

โรงเรียนได้มีการใช้โปรแกรม Thaischool Lunch ในการจัดบริการอาหารกลางวันแต่ยังต้องมีการปรับเปลี่ยนวัตถุดิบบางอย่าง ให้มีความเหมาะสมกับสภาพของท้องถิ่น

  • เมนูอาหาร Thaischool Lunch
  • ภาพเมนูอาหาร
  • บัญชีการจัดซื้อวัตถุดิบอาหารกลางวัน
  • จัดทำเมนูอาหาร Thaischool Lunch ให้มีความหลากหลายและเหมาะสมกับสภาพท้องถิ่น
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

โรงเรียนมีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2ครั้ง

  • บัตรสุขภาพนักเรียน
  • สมุดบันทึกการติดตามภาวะโภชนาการโรงเรียน
  • ภาพถ่ายกิจกรรม
  • ส่งเสริมการกินอาหารตามหลักโภชนบัญญัติ 9 ประการ
  • ส่งเสริมการออกกำลัง
  • จัดหาเครื่องมือในการชั่งน้ำหนัก ที่วัดส่วนสูงที่มีมาตราฐาน
3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 1/22560 2/12560 2/22561 1/12561 1/22561 2/12561 2/22562 1/12562 1/22562 2/12562 2/22563 1/12563 1/2
เตี้ย 2.68 2.68% 1.94 1.94% 2.03 2.03% 4.05 4.05% 3.33 3.33% 1.94 1.94% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.65 0.65% 0.65 0.65% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 1.52 1.52% 2.86 2.86% 0.00 0.00% 1.44 1.44% 1.43 1.43%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 2.68 2.68% 3.87 3.87% 3.38 3.38% 8.11 8.11% 5.33 5.33% 4.52 4.52% 1.91 1.91% 1.90 1.90% 3.80 3.80% 5.30 5.30% 3.92 3.92% 3.92 3.92% 3.31 3.31% 5.63 5.63% 4.55 4.55% 7.14 7.14% 1.87 1.87% 5.76 5.76% 4.29 4.29%
ผอม 8.72 8.72% 5.81 5.81% 6.08 6.08% 7.43 7.43% 5.33 5.33% 1.29 1.29% 0.64 0.64% 0.63 0.63% 1.27 1.27% 1.99 1.99% 3.27 3.27% 3.27 3.27% 0.00 0.00% 5.63 5.63% 2.27 2.27% 4.29 4.29% 3.57 3.57% 10.79 10.79% 6.43 6.43%
ผอม+ค่อนข้างผอม 8.72 8.72% 15.48 15.48% 12.16 12.16% 13.51 13.51% 12.67 12.67% 3.87 3.87% 3.82 3.82% 5.70 5.70% 6.96 6.96% 11.92 11.92% 11.76 11.76% 11.11 11.11% 7.28 7.28% 12.68 12.68% 13.64 13.64% 17.14 17.14% 15.00 15.00% 17.99 17.99% 17.14 17.14%
อ้วน 7.38 7.38% 3.23 3.23% 2.70 2.70% 2.03 2.03% 4.00 4.00% 2.58 2.58% 2.55 2.55% 2.53 2.53% 2.53 2.53% 4.64 4.64% 4.58 4.58% 3.92 3.92% 3.97 3.97% 4.23 4.23% 4.55 4.55% 5.00 5.00% 2.86 2.86% 5.04 5.04% 5.71 5.71%
เริ่มอ้วน+อ้วน 7.38% 7.38% 5.16% 5.16% 7.43% 7.43% 6.08% 6.08% 8.67% 8.67% 5.16% 5.16% 3.18% 3.18% 2.53% 2.53% 5.70% 5.70% 11.26% 11.26% 9.15% 9.15% 9.15% 9.15% 9.27% 9.27% 9.86% 9.86% 9.09% 9.09% 9.29% 9.29% 8.57% 8.57% 10.79% 10.79% 11.43% 11.43%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

นักเรียนมีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนเพิ่มขึ้น เนื่องจากโรงเรียนไม่สามารถควบคุมพฤติกรรมการกินอาหารนักเรียนได้อย่างต่อเนื่อง เมื่อออกจากโรงเรียน

  • สมุดบันทึกการติดตามภาวะโภชนาการโรงเรียน
  • แผนภูมิภาพภาวะโภชนาการนักเรียน
  • ประชุมชี้แจง ทำความเข้าใจกับผู้ปกครองในการติดภาวะโภชนการนักเรียนอย่างต่อเนื่อง
  • ส่งเสริมการกินอาหารตามหลักโภชนบัญญัติ 9 ประการ
  • ส่งเสริมการออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

นักเรียนมีภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลงแต่ยังคงลดลงในปริมาณน้อย

  • สมุดบันทึกการติดตามภาวะโภชนาการโรงเรียน
  • แผนภูมิภาพภาวะโภชนาการนักเรียน
  • ประชุมชี้แจง ทำความเข้าใจกับผู้ปกครองในการติดภาวะโภชนการนักเรียนอย่างต่อเนื่อง
  • ส่งเสริมการกินอาหารตามหลักโภชนบัญญัติ 9 ประการ
  • ส่งเสริมการออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

นักเรียนมีภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยเพิ่มขึ้น เนื่องจากนักเรียนมีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนเพิ่มขึ้นจึงทำให้มีภาวะโภชนการไม่สมส่วน

  • สมุดบันทึกการติดตามภาวะโภชนาการโรงเรียน
  • แผนภูมิภาพภาวะโภชนาการนักเรียน
  • ประชุมชี้แจง ทำความเข้าใจกับผู้ปกครองในการติดภาวะโภชนการนักเรียนอย่างต่อเนื่อง
  • ส่งเสริมการกินอาหารตามหลักโภชนบัญญัติ 9 ประการ
  • ส่งเสริมการออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

โรงเรียนมีการติดตามเฝ้าระวัง โดยมีการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงนักเรียน เทอมละ 2 ครั้งคือต้นเทอม ปลายเทอมแล้วนำมาวิเคราะห์ภาวะโภชนาการนักเรียนและมีการกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีชนาภาวะทุพโภชนาการโดยส่งเสริมการออกกำลังกายควบคุมการรับประทานอหารกลางวัน

  • สมุดบันทึกการติดตามภาวะโภชนาการโรงเรียน
  • สมุดบันทึกนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ
  • ภาพถ่ายกิจกรรม
  • ขอความร่วมมือจาก รพ.สต.ในการแก้ไขปัญหานักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการแต่ไม่เข้มแข็งเท่าที่ควร

  • การประชุมผู้ปกครองเกี่ยวกับการดูแลภาวะโภชนาการนักเรียน
  • ภาพถ่ายกิจกรรมการประชุมผู้ปกครอง
  • สร้างความตระหนักให้ผู้ปกครองเห็นสำคัญในการแลสุขภาพนักเรียน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

  1. เกษตรอำเภอคลองหอยโข่ง
  2. ศูนย์ประมงน้ำจืดสงขลาอำเภอคลองหอยโข่ง(การเลี้ยงปลาดุก)
  3. ศูนย์รพ.สต.คลองหอยโข่ง
  4. ภูมิปัญญาท้องถิ่น ได้แก่นายทวีพงศ์ประยูร(การทำหมักชีวภาพ) นายประจัญสุวรรณสาม (การเพาะเห็ดนางฟ้า)
  5. คณะกรรมการสถานศึกษา

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh