ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

โรงเรียนบ้านโคกกลาง


“ โรงเรียนบ้านโคกกลาง ”

หมู่ 5 ตำบลพรุเตียว อำเภอเขาพนม จังหวัดกระบี่

หัวหน้าโครงการ
นายปราโมทย์ เพ็ชรคล้าย

ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านโคกกลาง

ที่อยู่ หมู่ 5 ตำบลพรุเตียว อำเภอเขาพนม จังหวัดกระบี่ จังหวัด กระบี่

รหัสโครงการ ศรร.1412-092 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-ต.09

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2016 ถึง 30 เมษายน 2017


กิตติกรรมประกาศ

"โรงเรียนบ้านโคกกลาง จังหวัดกระบี่" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ 5 ตำบลพรุเตียว อำเภอเขาพนม จังหวัดกระบี่

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านโคกกลาง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านโคกกลาง



บทคัดย่อ

โครงการ " โรงเรียนบ้านโคกกลาง " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ 5 ตำบลพรุเตียว อำเภอเขาพนม จังหวัดกระบี่ รหัสโครงการ ศรร.1412-092 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านโคกกลาง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 177 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียนบ้านโคกกลางจึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพและพัฒนาการด้านร่างกายเติบโตสมวัย มีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้น รวมทั้งมีทักษะเพื่อการดำรงชีวิตที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง
  2. โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาโภชนาการและสุขภาพของเด็กนักเรียนลงได้ มีความรู้และแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
  3. พ่อแม่ผู้ปกครองและคนในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาเด็กนักเรียนในด้านต่างๆ ช่วยสร้างเสริมความอบอุ่นและความเข้มแข็งให้กับครอบครัวและชุมชน ตลอดจนเกิดความยั่งยืนในการดำเนินงาน
  4. ชุมชนมีความตระหนักรู้และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพของเด็กนักเรียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. นักเรียนมีสุขภาพและพัฒนาการด้านร่างกายเติบโตสมวัย มีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้น รวมทั้งมีทักษะเพื่อการดำรงชีวิตที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง
    2. นักเรียนมีภาวะทุพโภชนาการลดลง
    3. พ่อแม่ผู้ปกครองและคนในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาเด็กนักเรียนในด้านต่างๆ ช่วยสร้างเสริมความอบอุ่นและความเข้มแข็งให้กับครอบครัวและชุมชน ตลอดจนเกิดความยั่งยืนในการดาเนินงาน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. กิจกรรมอบรมการใช้โปรแกรม Thai school lunch

    วันที่ 10 พฤษภาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    บุคลากรเข้าอบรมการใช้โปรแกรม Thai school lunch ในการจัดทำเมนูอาหารกลางวันสำหรับนักเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต -  บุคลากรเข้าอบรมการใช้โปรแกรม Thai school lunch ในการจัดทำเมนูอาหารกลางวันสำหรับนักเรียน จำนวน 2 คน

    ผลลัพธ์

    • บุคลากรเข้าอบรมสามารถใช้โปรแกรม Thai school lunch ในการจัดทำเมนูอาหารกลางวันสำหรับนักเรียนได้อย่างมีคุณภาพ

     

    2 2

    2. กิจกรรมแปลงผักแฟนตาซี

    วันที่ 23 พฤษภาคม 2016 เวลา 14:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.นักเรียนปลูกผักล้มลุกผักยืนต้นที่หลากหลายตามฤถูกาล 2. นักเรียนนำวัสดุเหลือใช้มารีไซเคิลเป็นภาชนะในการปลูก 3.นักเรียนผลิดปุ๋ยน้ำหมักและปุ๋ยหมักชีวภาพใช้เอง 4. นักเรียนเรียนรู้ปฏิบัติการทดลองการปรับปรุงดินโดยใช้ปุ๋ยน้ำหมักและปุ๋ยหมักชีวภาพที่ผลิตขึ้นเอง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต 1. นักเรียนและชุมชนได้เรียนรู้ร่วมกันในการทำเกษตรในโรงเรียน 2. โรงเรียนมีผลผลิตทางการเกษตรมาปรุงอาหารผ่านสหกรณ์ โครงการอาหารกลางวัน

    ผลลัพธ์ 1. นักเรียนและชุมชนสามารถนำความรู้เรื่องการทำการเกษตรทั้งเพาะปลูก การดูแล การทำปุ๋ยใช้เองนำไปใช้เองที่บ้านได้ 2. นักเรียนได้รับประทานอาหารที่มีคุณภาพ ปลอดสารพิษ และได้มาตรฐานโภชนาการ

     

    23 136

    3. กิจกรรมถั่วงอกคอนโด ครั้งที่ 1

    วันที่ 24 พฤษภาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.จัดซื้ออุปกรณ์สำหรับเพาะถั่วงอกคอนโด 2.ให้ความรู้ในการเพาะถั่วงอกแก่นักเรียน 3.นักเรียนลงมือปฏิบัติกิจกรรมถั่วงอกคอนโด ดังขั้นตอนต่อไปนี้ -นำถั่วเขียวมาชั่งปริมาณ 1 กิโลกรัม ล้างน้ำทำความสะอาด -นำถั่วเขียวมาแช่น้ำอุ่นประมาณ 8 ชั่วโมง -จัดเตรียมอุปกรณืสำหรับเพาะถั่วงอก -นำถั่วเขียวที่ผ่านการแช่น้ำอุ่นมาใส่ในตะแกรงชุดเพาะถั่วงอก -สังเกตการเจริญเติบโตของถั่วงอกจนครบ 60 ชั่วโมงเริ่มตั้งแต่การแช่น้ำอุ่น 4.เก็บผลผลิตถั่วงอกทำความสะอาดพร้อมส่งขาย 5.นักเรียนนำผลผลิตที่ได้ขายส่งผ่านสหกรณ์นักเรียน พร้อมบันทึกรายรับรายจ่าย 6.สหกรณ์นักเรียนนำผลผลิตขายส่งผ่านโครงการอาหารกลางวัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต -ผลผลิตถั่วงอกวันละ 10 กิโลกรัม

    ผลลัพธ์ - นักเรียนได้รับประทานผักที่หลาหลาย - นักเรียนมีรายได้จากการขายถั่วงอก

     

    7 7

    4. กิจกรรมศึกษาดูงานบุคลากร

    วันที่ 16 มิถุนายน 2016 เวลา 07:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. คณะครูบุคลากรศึกษาดูงานโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใสโรงเรียนบ้านเกาะเสือ จังหวัดพัทลุง และศูนย์การเรียนรู้บ้านหนำควาย จังหวัดตรัง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต - บุคลากรครูจำนวน 12 คนได้ร่วมกิจกรรมศึกษาดูงาน

    ผลลัพธ์ - ครูบุคลากรได้นำความรู้ที่ได้รับมาใช้ในการจัดกิจกรรมและการเรียนรู้ให้กับนักเรียน

     

    10 12

    5. กิจกรรมเด็กโคกกลางห่างไกลภาวะทุพโภชนาการ

    วันที่ 30 กรกฎาคม 2016 เวลา 07:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    อบรมให้ความรู้กับนักเรียนในกลุ่มเสี่ยงที่มีภาวะทุพโภชนาการ อ้วน ผอม เตี้ย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต - นักเรียนกลุ่มเสี่ยงที่มีภาวะทุพโภชนาการ อ้้วน ผอม เตี้ย ได้เข้ารับการอบรมการมีภาวะโภชนาการที่ดีต่อสุขภาพ

    ผลลัพธ์ - นักเรียนกลุ่มเสี่ยงที่มีภาวะทุพโภชนาการ อ้้วน ผอม เตี้ย มีการพัฒนาการด้านโชนาการที่พัฒนาขึ้นเหมาะสมตามวัย

     

    23 26

    6. กิจกรรมนางฟ้าตกท่อ ครั้งที่ 1

    วันที่ 8 สิงหาคม 2016 เวลา 14:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ครูให้ความรู้และอธฺิบายขั้นตอนต่างๆแก่นักเรียนแกนนำในการดูแลเพาะเห็ดนางฟ้า 2.ดำเนินการจัดซื้อวัสดุและจัดเตรียมโรงเรือนสำหรับเพาะเห็ดนางฟ้า 3.คำนวณและจัดซื้อก้อนเชื้อเห็ดนางฟ้าให้เหมาะสมกับขนาดของโรงเรือน 4.นำก้อนเชื้อเห็ดนางฟ้ามามาจัดวางในโรงเรือนเพาะเห็ดที่ได้เตรียมไว้ 5.อาสาสมัครจากนักเรียนแกนนำมาดูแลในการรดน้ำเห็ดนางฟ้าทกวันวันละ 2 ครั้ง โดยรดน้ำในตอนเช้าและตอนเย็น รดน้ำในแต่ละครั้งครั้งละประมาณ 15 นาที หรือขึ้นอยู่กับสภาพอากาศของแต่ละวัน 6.เมื่อก้อนเชื้อเห็ดนางฟ้าเริ่มให้ผลผลิต ให้นักเรียนเก็บผลผลิตทุกๆวันในตอนเช้า ึ7.นักเรียนนำผลผลิตที่ได้ไปจำหน่ายผ่านสหกรณ์นักเรียน โดยนักเรียนจะจัดทำบันทึกรายรับรายจ่ายเองโดยมีครูที่ปรึกษาประจำฐานการเรียนรู้ 8.สหกรณ์นักเรียนนำผลผลิตที่ได้ขายผ่านไปยังโครงการอาหารกลางวันของโรงเรียนเพื่อโครงการอาหารกลางวันได้จัดทำเป็นอาหารมื้อกลางวันให้กับนักเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต - เห็ดนางฟ้าจำนวน 120 ก้อน ผลผลิต - นักเรียนได้เรียนรู้และรับประทานผักที่หลากหลายปลอดสารพิษ - สร้างรายได้
    - นักเรียนได้เรียนรู้การทำบัญชี

     

    7 8

    7. กิจกรรมประชุมเครือข่ายผู้ปกครองแกนนำ

    วันที่ 13 กันยายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุม ชี้แจง เครือข่ายผู้ปกครองแกนนำจากทุกภาคส่วน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต - แกนนำจากทีมงานผู้ปกครอง ผู้นำชุมชน หน่วยงานท้องถิ่น นักเรียนจำนวน 15 คนได้รับการพัฒนา

    ผลลัพธ์ - แกนนำจากทีมงานผู้ปกครอง ผู้นำชุมชน หน่วยงานท้องถิ่น นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจหลักการ กิจกรรม และบทบาทในการดำเนินงานโครงการเด็กไทยแก้มใส

     

    0 18

    8. กิจกรรมอบมหลักสูตรศักยภาพแม่ครัว

    วันที่ 24 กันยายน 2016 เวลา 07:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    แม่ครัวเข้ารับการพัฒนาตนเองอบรมเชิงปฏิบัติการโครงการอาหารกลงวันในโรงเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต แม่ครัวของโรงเรียนเข้ารับการอบรมโภชนาการเด็กในวัยเรียน ผลลัพธ์ แม่ครัวสามารถปรุงและประกอบอาหารถูกหลักโภชนาการสุขาภิบาลและอาหารปลอดภัย

     

    1 3

    9. ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำรายงานสรุปการปิดเงินโครงการ(ง.1)และการรายงานผล

    วันที่ 12 ตุลาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมแก้มใสรายงานการเงินงวดที่ 1 และขออนุมัติเงินงวดที่ 2

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต - บุคลากรจำนวน 2 คน เข้าร่วมประชุม

    ผลลัพธ์ - บุคลากรที่เข้าร่วมอบรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปปฏิบัติในการรายงานผลทางระบบออนไลน์ได้ถูกต้อง

     

    2 2

    10. กิจกรรมสหกรณ์รุ่นจิ๋ว

    วันที่ 7 มกราคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -จัดกิจกรรมฐานการเรียนรู้ให้ความรู้การดำเนินงานสหกรณ์นักเรียนโดยวิทยากรจากโรงเรียนต้นแบบสหกรณ์นักเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต - นักเรียยนได้เข้าอบรมกิจกรรมสหกรณืนักเรียน จำนวน 83 คน - นักเรียนทุกคนสมัครเข้าร่วมเป็นสมาชิกสหกรณ์นักเรียน

    ผลลัพธ์ - สหกรณ์นักเรียนดำเนินการโดยนักเรียนและรับซื้อผลผลิตจากกิจกรรมเกษตรในโรงเรียนเพื่อต่อยังโครงการอาหารกลางวัน - นักเรียนมีความรู้เรื่องสหกรณ์นักเรียนและนำไปใช้ในชีวิตประวันได้

     

    80 100

    11. กิจกรรมเยาว์ชนรุ่นใหม่รู้เท่าทันการบริโภค

    วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้นักเรียนโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต
    - นักเรียนเข้าร่วมอบรมเรื่องอาหารว่าง ขนม และเครื่องดื่มที่ได้มาตรฐานโภชนาการ สัดส่วนการบริโภคอาหารตามวัย

    ผลลัพธ์ - นักเรียนสามารถเลือกรับประทานอาหารว่าง ขนมและเครื่องดื่มที่ได้มาตรฐานด้วยตนเองได้ - นักเรียนรับประะทานมีความรู้ และยอมรับสัดส่วนในการบริโภคอาหารที่เหมาะสมตามวัยตามที่แม่ครัวจัดให้

     

    133 157

    12. กิจกรรมวันแก้มใส

    วันที่ 1 มีนาคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • จัดนิทรรศการผลงานนักเรียน ทั้ง 8 ด้าน  เชิญผู้อำนวยการ ตัวแทนครู  ผู้ปกครอง และหน่วยงานต่างๆ เข้าร่วมกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต
    - บุคลากรตัวแทนเข้าร่วม จำนวน 45 คน - โรงเรียนได้เผยแพร่แสดงผลการดำเนินงานกิจกรรมทั้ง 8 แนวทาง

    ผลลัพธ์ - ผู้อำนวยการ ตัวแทนครู และนักเรียนนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในโรงเรียนของตนเองต่อไป

     

    282 202

    13. ถอนเงินดอกเบี้ยธนาคาร ปิดโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส

    วันที่ 29 มีนาคม 2017 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เงินดอกเบี้ยธนาคาร ปิดโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส

     

    2 2

    14. ประชุมจัดทำสรุปการปิดเงินโครงการ(ง.2)และรายงานผล(ส.3)

    วันที่ 3 เมษายน 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    รายงานสรุปการปิดเงินโครงการ(ง.2)และรายงานผล(ส.3)

     

    2 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพและพัฒนาการด้านร่างกายเติบโตสมวัย มีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้น รวมทั้งมีทักษะเพื่อการดำรงชีวิตที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง
    ตัวชี้วัด : นักเรียนมีสุขภาพและพัฒนาการด้านร่างกายเติบโตสมวัย มีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้น รวมทั้งมีทักษะเพื่อการดำรงชีวิตที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง

     

    2 โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาโภชนาการและสุขภาพของเด็กนักเรียนลงได้ มีความรู้และแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
    ตัวชี้วัด : นักเรียนมีภาวะทุพโภชนาการลดลงอย่างยั่งยืน

     

    3 พ่อแม่ผู้ปกครองและคนในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาเด็กนักเรียนในด้านต่างๆ ช่วยสร้างเสริมความอบอุ่นและความเข้มแข็งให้กับครอบครัวและชุมชน ตลอดจนเกิดความยั่งยืนในการดำเนินงาน
    ตัวชี้วัด : ดำเนินงานโดยการมีส่วนร่วมและขยายผลไปยังชุมชน และโรงเรียนในเครือข่ายจำนวน 10 โรงเรียน

     

    4 ชุมชนมีความตระหนักรู้และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพของเด็กนักเรียน
    ตัวชี้วัด : ชุมชนเห็นความสำคัญการจัดการด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพ

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพและพัฒนาการด้านร่างกายเติบโตสมวัย มีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้น รวมทั้งมีทักษะเพื่อการดำรงชีวิตที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง (2) โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาโภชนาการและสุขภาพของเด็กนักเรียนลงได้ มีความรู้และแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ (3) พ่อแม่ผู้ปกครองและคนในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาเด็กนักเรียนในด้านต่างๆ ช่วยสร้างเสริมความอบอุ่นและความเข้มแข็งให้กับครอบครัวและชุมชน ตลอดจนเกิดความยั่งยืนในการดำเนินงาน (4) ชุมชนมีความตระหนักรู้และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพของเด็กนักเรียน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

    ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านโคกกลาง

    รหัสโครงการ ศรร.1412-092 รหัสสัญญา 58-00-2265-ต.09 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

    วันที่เริ่มประเมิน

    1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

    (ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    1. การเกษตรในโรงเรียน

    กิจกรรมฐานการเรียนรู้ด้านเกษตรในโรงเรียน

    โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้ด้านเกษตรในโรงเรียน จำนวน 5ฐานการเรียนรู้ ดังนี้ 1.ฐานการเรียนรู้ถั่วงอกคอนโด 2.ฐานการเรียนรู้บ้านเห็ดนางฟ้า 3.ฐานการเรียนรู้สวนผักสานสัมพันธ์ 4.ฐานการเรียนรู้การเลี้ยงปลาบ่อพลาสติก 5.ฐานการเรียนรู้ธนาคารปุ๋ยชีวภาพ โดยการเรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริง ดำเนินการโดยกลุ่มแกนนำของนักเรียน โดยมีครูเป็นพี่เลี้ยงในการดำเนินการในแต่ละฐานการเรียนรู้ ตั้งแต่การวางแผนการผลิต ขั้นตอนการดำเนิน การเก็บเกี่ยวผลผลิต การนำผลิตขายส่งต่อสหกรณ์นักเรียน และการทำบัญชีรายรับรายจ่ายของแต่ละฐานการเรียนรู้

    มีการขยายผลการดำเนินกิจกรรมลงสู่ชุมชน และเพิ่มฐานการเรียนรู้เกี่ยวกับการปลูกผลไม้หรือไม้ยืนต้นระยะยาว

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    2. สหกรณ์นักเรียน

    กิจกรรมฐานการเรียนรู้สหกรณ์นักเรียน

    โรงเรียนมีการดำเนินการสหกรณ์นักเรียน แบ่งออกเป็น 3 กิจกรรม ดังนี้ 1.กิจกรรมร้านค้า จำหน่ายอุปกรณ์การเรียน
    2.กิจกรรมส่งเสริมการเกษตร รับซื้อสิ้นค้าผลผลิตทางการเกษตร จากฐานการเรียนรู้เกษตรในโรงเรียน ขายส่งต่อโครงการอาหารกลางวัน 3.กิจกรรมออมทรัพย์ บริการฝาก-ถอนเงินนักเรียน ดำเนินการร่วมกับธนาคารออมสิน โดยทั้ง 3 กิจกรรมข้างต้นนี้มีนักเรียนแกนนำเป็นผู้ดำเนินการโดยมีครูเป็นพี่เลี้ยง

    1.ร่วมมือกับกับชุมชนในการรับผลผลิตทางการเกษตรที่สะอาด และปลอดภัยมาเป็นอาหารกลางวัน 2.กิจกรรมร้านมีการจำหน่ายวัตถุดิบ เครื่องปรุงให้กับโครงการอาหารกลางวัน

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

    การจัดเมนูอาหารกลางวัน โดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch

    1.โรงเรียนมีการบริการอาหารกลางวัน โดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch ในการจัดเมนูอาหารกลางวัน เพื่อให้นักเรียนได้รับเมนูอาหารครบถ้วนและเหมาะสมตามเกณฑ์โภชนาการ 2.โรงเรียนมีการอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง ครู แม่ครัว และแกนนำนักเรียน

    พัฒนาเมนูอาหารที่เหมาะสมกับวัตถุดิบในโรงเรียนและท้องถิ่น โดยการทำ MOU กับชุมชน ในการส่งผลผลิตทางการเกษตรที่สะอาดและปลอดภัย ให้กับทางโรงเรียน

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

    1.กิจกรรมติดตามภาวะโภชนาการ 2.กิจกรรมทดสอบสมรรถภาพทางกาย

    1.โรงเรียนมีติดตามภาวะโภชาการโดยการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ภาคเรียนละ 2 ครั้ง นำข้อมูลที่ได้มาแปลผล และนำข้อมูลนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการมาแก้ไข 2.โรงเรียนมีการทดสอบสมรรถภาพทางกาย ภาคเรียนละ 1 ครั้ง โดยการทดสอบ 3 ด้านดังนี้ การทดสอบด้านความอดทนของระบบไหลเวียนโลหิตและหายใจ การทดสอบด้านความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเนื้อ และการทดสอบด้านความอ่อนตัวของกล้ามเนื้อ

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

    5 กิจกรรมพัฒนาสุขนิสัย

    โรงเรียนบ้านโคกกลางดำเนิน 5 กิจกรรมพัฒนาสุขนิสัยในแต่ละวันผ่านกิจกรรมดังต่อไปนี้ 1.กิจกรรมตรวจความสะอาดของร่างกายและเครื่องแต่งกาย 2.กิจกรรมล้างมือก่อนรับประทานอาหาร 3.กิจกรรมเก็บและล้างภาชนะหลังรับประทานอาหารเสร็จ 4.กิจกรรมแปรงฟันหลังรับประทานอาหารเสร็จ 5.กิจกรรมล้างมือหลังจากเข้าห้องน้ำ

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

     

     

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

     

     

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    9. อื่น ๆ

     

     

     

    2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

    1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

     

    2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

     

    3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

     

    4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

     

    5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

     

     

     

    5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

     

     

     

    3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

    สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

    ภาวะ2558 1/12558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 2/2
    เตี้ย 1.83 1.83% 2.98 2.98% 2.04 2.04% 2.68 2.68% 1.32 1.32% 0.00 0.00% 1.57 1.57% 1.61 1.61%
    เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 5.49 5.49% 4.17 4.17% 4.76 4.76% 4.70 4.70% 4.64 4.64% 2.65 2.65% 4.72 4.72% 3.23 3.23%
    ผอม 0.61 0.61% 2.98 2.98% 3.33 3.33% 0.67 0.67% 1.99 1.99% 0.00 0.00% 2.34 2.34% 2.42 2.42%
    ผอม+ค่อนข้างผอม 1.22 1.22% 3.57 3.57% 6.67 6.67% 3.36 3.36% 5.30 5.30% 1.32 1.32% 3.13 3.13% 3.23 3.23%
    อ้วน 3.66 3.66% 4.17 4.17% 4.00 4.00% 3.36 3.36% 3.97 3.97% 2.65 2.65% 6.25 6.25% 5.65 5.65%
    เริ่มอ้วน+อ้วน 7.32% 7.32% 5.95% 5.95% 6.67% 6.67% 8.05% 8.05% 6.62% 6.62% 5.96% 5.96% 6.25% 6.25% 5.65% 5.65%
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพและพัฒนาการด้านร่างกายเติบโตสมวัย มีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้น รวมทั้งมีทักษะเพื่อการดำรงชีวิตที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง (2) โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาโภชนาการและสุขภาพของเด็กนักเรียนลงได้ มีความรู้และแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ (3) พ่อแม่ผู้ปกครองและคนในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาเด็กนักเรียนในด้านต่างๆ ช่วยสร้างเสริมความอบอุ่นและความเข้มแข็งให้กับครอบครัวและชุมชน ตลอดจนเกิดความยั่งยืนในการดำเนินงาน (4) ชุมชนมีความตระหนักรู้และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพของเด็กนักเรียน

    กิจกรรมหลักคือ (1) แผนงานบูรณาการเกษตร สหกรณ์ อาหารและโภชนาการ (2) แผนงานพัฒนาศักยภาพบุคลากร (3) แผนงานขยายเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมแปลงผักแฟนตาซี (2) กิจกรรมถั่วงอกคอนโด ครั้งที่ 1 (3) กิจกรรมเด็กโคกกลางห่างไกลภาวะทุพโภชนาการ (4) กิจกรรมนางฟ้าตกท่อ ครั้งที่ 1 (5) กิจกรรมสหกรณ์รุ่นจิ๋ว (6) กิจกรรมเยาว์ชนรุ่นใหม่รู้เท่าทันการบริโภค (7) กิจกรรมอบรมการใช้โปรแกรม Thai school lunch (8) กิจกรรมศึกษาดูงานบุคลากร (9) กิจกรรมประชุมเครือข่ายผู้ปกครองแกนนำ (10) กิจกรรมอบมหลักสูตรศักยภาพแม่ครัว (11) ประชุมจัดทำสรุปการปิดเงินโครงการ(ง.2)และรายงานผล(ส.3) (12) ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำรายงานสรุปการปิดเงินโครงการ(ง.1)และการรายงานผล (13) กิจกรรมวันแก้มใส (14) ถอนเงินดอกเบี้ยธนาคาร ปิดโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    โรงเรียนบ้านโคกกลาง จังหวัด กระบี่

    รหัสโครงการ ศรร.1412-092

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายปราโมทย์ เพ็ชรคล้าย )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด