ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนท่างิ้ว(ต.ช.ด.อุปถัมภ์)

รหัสโครงการ ศรร.1412-102 รหัสสัญญา 58-00-2265-ต.06 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน

ผักปลอดสารพิษ

  • ใช้เศษอาหาร เศษผัก(ผักกาด ผักบุ่ง ผักโขม มะเขือ เปลือกมะละกอ ฯลฯ) มาใช้เป็นวัตถุดิบในการทำน้ำหมักชีวภาพ เพื่อใช้ในการเกษตรของโรงเรียน และให้นักเรียนนำน้ำหมักกลับไปใช้ในการเกษตรในครัวเรือน ซึ่งเป็นการส่งเสริมความรู้ด้านการเกษตรปลอดภัยให้กับนักเรียน ผู้ปกครองและชุมชน ทำให้นักเรียนได้บริโภคผัก เช่น ผักกาดผักโขมผักคะน้ามะเขือมะละกออย่างปลอดภัยจากสารเคมี และทำการเกษตรที่ปลอดสารพิษในชุมชน

-พัฒนาความรู้ทางวิชาการเกษตรใหม่ๆ นำไปประกอบอาชีพโดย ส่งเสริมการปลูกผักตามความต้องการของชุมชน
-นำผลผลิตที่ได้มาแปรรูป และถนอมอาหาร เพื่อเพิ่มมูลค่าและสร้างรายได้ให้กับนักเรียน เพื่อแก้ปัญหานักเรียนยากจน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

สหกรณ์วัยใส

มีการขายผักผ่านสหกรณ์นักเรียนและการมีส่วนร่วมในการจัดทำบัญชีร่วมกับสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ จังหวัดตรัง

จัดทำระบบสหกรณ์ โดยใช้โปรแกรมจัดทำบัญชี และ โปรแกรมออมทรัพย์นักเรียนทุกคน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

Thai School Lunch

โรงเรียนมีการจัดเมนูอาหารกลางวันสำหรับนักเรียนโดยใช้โปรแกรม Thai school lunch

รับผลผลิตทางการเกษตรสำหรับประกอบอาหารกลางวันจากเกษตรโรงเรียนและชุมชน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

ติดตามภาวะโภชนาการโดยใช้โปรแกรม INMU - Thai Growth

โรงเรียนมีการติดตามภาวะโภชนากรนักเรียนรายบุคคล มีการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และมีการประมวลผลข้อมูลโดยใช้โปรแกรม INMU - Thai Growth

ดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่องในปีการศึกษาต่อไป

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร

โรงเรียน,มีการดำเนินงานโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชรเพื่อส่งเสริมด้านสุขภาพอนามัยของนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนทุกคนอย่างสม่ำเสมอโดยจัดบริการด้านสุขภาพอนามัย จัดบริการอาหาร โดยยึดหลัก 3 ป. ประโยชน์ ประหยัด ปลอดภัย และความรู้ด้านข่าวสารให้กับนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนได้รับรู้ข่าวสารด้านสุขภาพก้าวทันโรคและพิษภัยของสิ่งเสพติดต่างๆ

ดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่องในปีการศึกษาต่อไป

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

โครงงานโรงเรียนสะอาดปราศจากขยะ

โรงเรียนมีการจัดทำที่คัดแยกขยะ มีการแบ่งเขตบริการดูแลความสะอาด ให้นักเรียนทำความสะอาดบริเวรเขตบริการทุกวัน

ดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่องในปีการศึกษาต่อไปมีการสรุปผลการดำเนินงานโครงการ และนำเสนอโครงงาน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

นักเรียนสุขภาพดี

มีการตรวจสุขภาพความสะอาดของนักเรียนโดยครูสัปดาห์ละหนึ่งครั้ง และมีเจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่างิ้วเข้ามาตรวจสุขภาพ และให้ความรู้นักเรียนเดือนละหนึ่งครั้ง

ดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่องในปีการศึกษาต่อไป

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

การจัดการเรียนการสอนแบบทวิศึกษา

มีการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการในเรื่อง การจัดการเกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย ในห้องเรียนให้นักเรียนทุกคนร่วมกับวิทลัยเกษตรและเทคโนโลยีจังหวัดตรังได้รับความรู้โดยบูรณาการสอนมีการให้นักเรียนลงมือกิจกรรมด้วยตนเอง

ดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่องในปีการศึกษาต่อไปมีการสรุปผลการดำเนินงาน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ
  1. การจัดกิจกรรมด้านการดูแลสุขภาพอนามัยนักเรียน โรงเรียนได้รับรางวัล MOE AWARDS ระดับดีเยี่ยม สาขาป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา ประจำปี 2558 จากกระทรวงศึกษาธิการ
  2. การจัดกิจกรรมอนามัยสิ่งแวดล้อม ทางโรงเรียนได้รับรางวัลโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร
  3. การจัดแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนและแหล่งเรียนรู้สู่ชุมชน
  4. การบริหารจัดการบริการอาหารกลางวัน จากวัตถุดิบจากแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนและชุมชนสู่่ระบบสหกรณ์นักเรียนตามแนวพระราชดำริและนำสู่อาหารกลางวันโดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch

มีการจัดกิจกรรมด้านการดูแลสุขภาพอนามัยและสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยในโรงเรียน รวมถึงเรื่องการจัดแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนและแหล่งเรียนรู้สู่ชุมชน โดยได้รับการสนับสนุน ภาคีเครือข่ายจากชุมชนและท้องถิ่นเป็นอย่างดี สามารถบริหารจัดการบริการอาหารกลางวัน จากวัตถุดิบจากแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนและชุมชนสู่่ระบบสหกรณ์นักเรียนตามแนวพระราชดำริและนำสู่อาหารกลางวันโดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch ได้เป็นอย่างดี

จัดกิจกรรมให้เป็นระบบและครบองค์ประกอบตามแนวทางทั้ง 8 แนวทาง ให้มากยิ่งขึ้น

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

1.คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 2. เครือข่ายผู้ปกครอง 3. โรงพยาบาลห้วยยอด 4. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่างิ้ว 6. เทศบาลตำบลท่างิ้ว...

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

ครูและบุคากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงานภาคีเครือข่าย เช่น รพ.สต.ตำบลท่างิ้ว โรงพยาบาลห้วยยอดเทศบาลตำบลท่างิ้ว ให้ความร่วมมือสนับสนุนการดำเนินกิจกรรมของโรงเรียนท่างิ้ว(ต.ช.ด.อุปถัมภ์)

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

สภาพแวดล้อมของโรงเรียนท่างิ้วฯ มีพื้นที่ที่เอื้ออำนวยในการดำเนินการเกษตร อยู่ใกล้แหล่งชุมชน ผู้ปกครองเข้ามามีส่วนร่วม และให้ความร่วมมือในการดำเนินงานกิจกรรมต่าง ๆ ด้วยดี

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

มีการอบรมให้ความรู้ ชี้แจงวัตถุประสงค์ ,การศึกษาดูงาน,การนิเทศติดตามการดำเนินงานตามขั้นตอนคือก่อนดำเนินโครงการ ระหว่างดำเนินโครงการหลังดำเนินโครงการ การสรุปผลการติดตาม ,จัดกิจกรรมให้ความรู้หน้า เสาธง,จัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบบูรณาการ,ส่งแม่ครัวเข้ารับการอบรมพัฒนาความรู้กับโรงพยาบาลห้วยยอดและสพป.ตรัง เขต2

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

ผู้ปกครองร่วมเป็นวิทยากรให้กับนักเรียนในการสาธิตการปลูกผักปลอดสารพิษ ,แปลงปลูกผักของชุมชนเป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับโรงเรียน, เกษตรอำเภออบรมให้ความรู้เกี่ยวการทำน้ำหมักชีวภาพ , การดำเนินโครงการโดยใช้เทคนิคร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมประเมินผลของผู้ปกครองและชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

ผักจากแหล่งเรียนรู้เกษรตรในโรงเรียนและรับซื้อจากแหล่งเรียนรู้ในชุมชน ส่วนผลไม้รับซื้อจากชุมชนและตลาดนัดตำบลท่างิ้ว และตลาดสดอำเภอห้วยยอด

เมนูและบัญชีรายการอาหารโปรแกรม Thai School Lunch

มีการจัดและพัฒนาเมนูอาหารที่มีคุณภาพและมีคุณค่าทางโภชนาการอาหารมากขึ้น ทำเมนูให้น่ารับประทานยิ่งขึ้นเหมาะสมกับวัยของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

มีการเลี้ยงไก่ไข่ จำนวน 50 ตัวเพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ ซึ่งจะไข่ประมาณวันละ 30 ฟอง ซึ่งสัปดาห์หนึ่งจะได้ประมาณ 200 ฟอง ในการนำไปประกอบอาหารกลางวัน ต่อจำนวนนักเรียน 160 คน ส่วนที่เหลือจะนำออกขายตลาดนัดชุมชน

เมนูและบัญชีรายการอาหารโปรแกรม Thai School Lunch

จะขยายแหล่งเรียนรู้ การเลี้ยงไก่ไข่ไปสู่ชุมชนโดยให้นักเรียนนำแม่พันธุ์ไปเลี้่ยงต่อที่บ้าน และรับซื้อไข่ไก่จากนักเรียนนำเข้าสู่สหกรณ์นักเรียนและโครงการอาหารกลางวันโดยกำนดระยะเวลา่ในการดำเนินการ เพียงให้นักเรียนได้เรียนรู้การเลี้ยงไก่ไข่ และได้รับบริโภคอาหารที่ครบถ้วน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

มีการดำเนินการเลี้ยงปลาทับทิม ปลาดุก เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้เรื่องการเลี้ยงปลา และนำมาประกอบอาหารกลางวัน โดยมีการจัดจำหน่ายสู่สหกรณ์นักเรียน และผู้ปกครอง

บัญชีรับซื้อวัตถุดิบอาหารของสหกรณ์นักเรียน

ปรับเมนูอาหารให้สอดคล้องกับปลาที่โรงเรียนได้เลี้ยงเพื่อเป็นวัตถุดิบสู่อาหารกลางวัน และแปรรูปอาหารจากปลาและขยายผลต่อชุมชนในการเลี้ยงปลา

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

 

 

 

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

เมนูและบัญชีรายการอาหารโปรแกรม Thai School Lunch ซึ่งได้รับผักปลอดสารพิษจากแหล่งเรียนรู้เกษตรในโรงเรียนและแหล่งเรียนรู้การปลูกผักปลอดสารพิษจากชุมชน

เมนูและบัญชีรายการอาหารโปรแกรม Thai School Lunch และบัญชีการรับซื้อสหกรณ์นักเรียน

นำผักและผลไม้ที่มีสีสันสดใสมาเป็นวัตถุดิบจะทำให้อาหารน่าสนใจและน่ารับประทาน สำหรับเด็กอนุบาลมากยิ่งขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

เมนูและบัญชีรายการอาหารโปรแกรม Thai School Lunch ซึ่งได้รับผักปลอดสารพิษจากแหล่งเรียนรู้เกษตรในโรงเรียนและแหล่งเรียนรู้การปลูกผักปลอดสารพิษจากชุมชน

เมนูและบัญชีรายการอาหารโปรแกรม Thai School Lunch และบัญชีการรับซื้อสหกรณ์นักเรียน

จัดผลไม้ตามฤดูกาลและที่มีในท้องถิ่นที่หลากหลายมากยิ่งขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

เมนูและบัญชีรายการอาหารโปรแกรม Thai School Lunch ซึ่งได้รับผักปลอดสารพิษจากแหล่งเรียนรู้เกษตรในโรงเรียนและแหล่งเรียนรู้การปลูกผักปลอดสารพิษจากชุมชน

เมนูและบัญชีรายการอาหารโปรแกรม Thai School Lunch และบัญชีการรับซื้อสหกรณ์นักเรียน

จัดผลไม้ตามฤดูกาลและที่มีในท้องถิ่นที่หลากหลายมากยิ่งขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

ได้ร่วมมือกับเกษตรอำเภอห้วยยอด ให้ความรู้เรื่องการทำน้ำหมักชีวภาพ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีจังหวัดตรัง ให้ความรู้เรื่องการทำเกษตร เลี้ยงปลา เลี้ยงไก่ ทำสวนปาล์มน้ำมัน ประมงจังหวัดตรังให้ความรู้เรื่องการเลี้ยงปลาในกระชัง และจัดตั้งแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนและในชุมชน เพื่อผลิตวัตถุดิบผักปลอดสารพิษโดยทางโรงเรียนได้นำเมล็ดพันธุ์ผักแจกให้กับแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนชุมชนและนำมาขายให้กับสหกรณ์นักำเรียนเพื่อสู่อาหารกลางวัน

กิจกรรมการปลูกพืชผักสวนครัว

ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษในชุมชน ที่หลากหลาย และกำหนดวัตถุดิบ ผักที่ทางโรงเรียนต้องการตามเมนูอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ และขยายผลต่อไปยังศูนย์โรงเรียนเครือข่าย และโรงเรียนในสังกัด

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

มีการอบรมให้ความรู้การใช้โปรแกรม Thai School Lunchให้กับผู้ปกครอง ครู แม่ครัว นักเรียนแกนนำ เพื่อจัดเมนูอาหาร

เมนูอาหารจากโปรแกรม Thai School Lunch

จัดปรุงแต่งหน้าตาอาหารให้น่าสนใจและชวนรับประทานมากยิ่งขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

มีการวัดส่วนสูง และชั่งน้ำหนักทุกเดือน เพื่อติดตามภาวะทางโภชนการ ซึ่งมีและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่างิ้วคอยสนับสนุนให้คำปรึกษาในการติดตามอย่างต่อเนื่อง

แบบบันทึกการวัดส่วนสูงและการชั่งน้ำหนักของนักเรียนแต่ละชั้น โปรแกรม Thai Growth

จะจัดเครื่องชั่งน้ำหนักที่ได้มาตรฐาน ในระบบดิจิตอล และเครื่องวัดส่วนสูงมีการปรับเปลี่ยนให้ได้มาตรฐาน ที่ดีขึ้น เพื่อนำผลที่ได้มาประเมินสถานการณ์ภาวะโภชนาการที่ดีและได้มาตรฐานมากขึ้น

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 1/12558 1/22558 2/12558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 1/22560 2/12560 2/22561 1/12561 1/22561 2/12561 2/2
เตี้ย 2.52 2.52% 2.01 2.01% 1.96 1.96% 1.29 1.29% 3.80 3.80% 2.65 2.65% 2.60 2.60% 2.04 2.04% 2.52 2.52% 2.61 2.61% 0.66 0.66% 2.11 2.11% 2.84 2.84% 2.04 2.04% 2.04 2.04% 0.68 0.68%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 13.21 13.21% 10.07 10.07% 8.50 8.50% 13.55 13.55% 14.56 14.56% 9.27 9.27% 8.44 8.44% 8.84 8.84% 10.06 10.06% 10.46 10.46% 4.64 4.64% 6.34 6.34% 12.77 12.77% 5.44 5.44% 5.44 5.44% 2.74 2.74%
ผอม 2.52 2.52% 1.90 1.90% 1.55 1.55% 1.28 1.28% 2.53 2.53% 1.91 1.91% 1.27 1.27% 0.70 0.70% 1.28 1.28% 1.30 1.30% 1.37 1.37% 2.80 2.80% 2.84 2.84% 2.72 2.72% 2.78 2.78% 7.20 7.20%
ผอม+ค่อนข้างผอม 8.81 8.81% 10.13 10.13% 6.20 6.20% 8.97 8.97% 8.23 8.23% 15.29 15.29% 6.33 6.33% 2.11 2.11% 8.33 8.33% 8.44 8.44% 6.16 6.16% 8.39 8.39% 11.35 11.35% 8.84 8.84% 12.50 12.50% 13.60 13.60%
อ้วน 3.14 3.14% 3.16 3.16% 2.33 2.33% 1.92 1.92% 3.16 3.16% 3.82 3.82% 3.16 3.16% 0.70 0.70% 3.21 3.21% 1.95 1.95% 2.05 2.05% 7.69 7.69% 4.26 4.26% 7.48 7.48% 9.72 9.72% 5.60 5.60%
เริ่มอ้วน+อ้วน 8.18% 8.18% 6.33% 6.33% 5.43% 5.43% 5.13% 5.13% 6.96% 6.96% 6.37% 6.37% 6.33% 6.33% 4.23% 4.23% 10.90% 10.90% 8.44% 8.44% 6.85% 6.85% 12.59% 12.59% 7.09% 7.09% 10.20% 10.20% 15.28% 15.28% 12.00% 12.00%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

มีสถิติภาวะอ้วนและเริ่มอ้วนลดลงตั้งแต่เริ่มดำเนินโครงการ

แบบบันทึกสถิติภาวะโภชนการนักเรียนปีการศึกษา 2558-2559

จะให้ความรู้ผู้ปกครอง นักเรียน ในการรณรงค์ลดอาหารหวาน กรุบกรอบ ให้ทานผักผลไม้

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

แบบบันทึกสถิติภาวะโภชนการนักเรียนปีการศึกษา 2558-2559

คัดกรองนักเรียนที่ผอมและค่อนข้างผอม มาให้ความรู้นักเรียนและผู้่ปครองและจัดอาหารเสริมนมและอาหารกลางวันให้ปริมาณเพิ่มมากขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

สถิติค่อนข้างเตี้ยและเตี้ย เพิ่มขึ้น เนื่องด้วยจากคนวัดแต่ละครั้งไม่ใช่คนเดียวกันและเครื่องวัดไม่ได้มาตรฐาน

แบบบันทึกสถิติภาวะโภชนการนักเรียนปีการศึกษา 2558-2559

จัดเครื่องวัดส่วนสูงให้ได้มาตรฐานและให้ครูรับผิดชอบการวัดคนเดียว เพื่อให้ได้ค่าที่ตรงตามความจริงผลจะได้คลาดเคลื่อนน้อยที่สุด

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

1.คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 2. เครือข่ายผู้ปกครอง 3. โรงพยาบาลห้วยยอด 4. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่างิ้ว 6. เทศบาลตำบลท่างิ้ว...

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh