ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนเทศบาล 3 วัดสมุทราราม

รหัสโครงการ ศรร.1422-101 รหัสสัญญา 58-00-2265-ต.19 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน

การปลูกหัวหอมแดงในขวดน้ำ การปลูกถั่วงอกคอนโด

นำกล่องพลาสติก หรือขวดน้ำพลาสติก ใช้แล้วทิ้ง และตะกร้าขนมจีนเล็กคว่าลงไปในกล่องพลาสติกเติมน้ำให้สูงถึงเข่งขนมจีน นำหัวหอมแดง ปาดหัวทิ้งนิดเดียว เรียงวางบนเข่ง แล้วนำไปตากแดดจะสังเกตุว่าภายใน 2วัน รากเริ่มเยอะขึ้น ก็ให้ทำการเปลี่ยนน้ำทุกเช้า น้ำจะได้ไม่เหม็น และต้นหอมก็จะสูงเร็วด้วยคะ เบ็ดเสร็จประมาณ 10-13วันเราก็ตัดต้นหอมไปทำกับข้าวได้ ผลที่ได้ - ต้นหอมที่ปลูกด้วยน้ำเปล่า แบบไม่ใส่ปุ๋ยจะได้กลิ่นที่แรงกว่าที่ขายที่ตลาด - ต้นหอมที่ตลาดขาย จะได้ใบที่อวบอิ่มกว่า เพราะมันได้ปุ๋ยดีกว่านั่นเองต้นหอมที่ปลูกด้วยน้ำเปล่าจะ เส้นเล็กๆ สูงประมาณ 8 นิ้วคะก็เริ่มตัดกินได้เลยหลังจากนั้นจะนำหัวหอมมาทำยำ หรือจะนำไปปลูกต่อด้วยวิธีเดิมก็ได้

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ

 

 

 

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

คณะกรรมการสถานศึกษา เครือข่ายผู้ปกครอง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลิปะน้อย โรงพยาบาลเกาะสมุย

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

 

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

การทำกิจกรรมร่วมกัน เพื่อที่จะทำงานให้บรรลุเป้าหมายทีมงานต้องทำความเข้าใจกับปัญหาโดยเปิดโอกาสให้ทีมงานทุกคนแสดงความคิดเห็น และมีส่วนร่วมในการวางแผนและนำไปปฏิบัติ แล้วจึงนำผลการปฏิบัตินั้นมาปรับใช้ในการทำงาน มีการแต่งตั้งเครือข่ายผู้ปกครองแบ่งหน้าที่ตามความเหมาะสมและความถนัด

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

การประชุมระดมความคิดเพื่อขับเคลื่อนโครงการเด็กไทยแก้มใส จัดอบรมเพื่อให้ความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษแก่ผู้ปกครองและชุมชน
เชิญผู้ปกครองและคนในชุมชนมาเป็นวิทยากรเรื่องการปลูกผัก การเลี้ยงสัตว์ ครูออกเยี่ยมบ้านนักเรียนกลุ่มเสี่ยงในชุมชน เพื่อศึกษาการบริโภค
เชิญชวนให้ทุกคนในครอบครัวร่วมกันปลูกผักปลอดสารพิษกินเอง ซึ่งได้รับความสนใจจากผู้ปกครองและชุมชนเป็นอย่างดี

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

มีการแต่งตั้งเครือข่ายผู้ปกครองแบ่งหน้าที่ตามความเหมาะสมและความถนัด

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

มีการปลูกผักกินเองในโรเรียนบางส่วน เช่น ผักบุ้งถั่วงอก ผักกาด มะเขือ

ภาพถ่าย

ขยายผลให้โรงเรียนปลูกผักเพื่ออาหารกลางวันสำหรับนักเรียนได้ทุกวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

 

 

 

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

 

ภาพถ่าย

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

 

 

 

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/2
เตี้ย 1.39 1.39% 2.56 2.56% nan nan% 4.44 4.44% 3.54 3.54%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 6.94 6.94% 7.26 7.26% nan nan% 9.78 9.78% 9.73 9.73%
ผอม 1.39 1.39% 3.85 3.85% 0.45 0.45% 4.44 4.44% 3.10 3.10%
ผอม+ค่อนข้างผอม 3.70 3.70% 5.56 5.56% 2.23 2.23% 9.78 9.78% 7.08 7.08%
อ้วน 6.48 6.48% 6.41 6.41% 0.45 0.45% 7.11 7.11% 3.98 3.98%
เริ่มอ้วน+อ้วน 7.87% 7.87% 10.26% 10.26% 2.68% 2.68% 16.89% 16.89% 11.06% 11.06%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

ภาวะเด็กเริ่มอ้วนและเด็กอ้วนลดลงจากปีการศึกษา 2559 ครั้งที่ 2/1

ตารางสถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

ภาวะเด็กค่อนข้างผอมและเด็กผอมลดลงจากปีการศึกษา 2559 ครั้งที่ 2/1

ตารางสถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลงจากปีการศึกษา 2559 ครั้งที่ 2/1

ตารางสถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร
  1. นักเรียนประเมินภาวะโภชนาการ สมรรถภาพทางกาย และสุขภาพด้วยตนเอง โดยครูประจำชั้นและผู้นำนักเรียนคอยเป็นที่ปรึกษาและแนะนำ
    1. ให้ความรู้แก่นักเรียนเรื่องอันตรายจากโรคอ้วน และการแก้ไชปัญหาปัญหานักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกินเกณฑ์
  2. ให้ความรู้แก่แม่ครัวในเรื่องการทำอาหารที่มีคุณภาพและการตักอาหารที่เหมาะสมกับวัย

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

หรือให้ความรู้แก่ผู้ปกครองขณะไปเยี่ยมบ้าน ฯลฯ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

คณะกรรมการสถานศึกษา เครือข่ายผู้ปกครอง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลิปะน้อย โรงพยาบาลเกาะสมุย

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh