แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

โรงเรียนบ้านข่อย


“ โรงเรียนบ้านข่อย ”

หมู่ 5 ตำบลบ้านจาน อำเภอพุทไธสง จังหวัดบุรีรัมย์

หัวหน้าโครงการ
นายปัญญาวีเวหา

ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านข่อย

ที่อยู่ หมู่ 5 ตำบลบ้านจาน อำเภอพุทไธสง จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัด บุรีรัมย์

รหัสโครงการ ศรร.1312-067 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-อ.21

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โรงเรียนบ้านข่อย จังหวัดบุรีรัมย์" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ 5 ตำบลบ้านจาน อำเภอพุทไธสง จังหวัดบุรีรัมย์

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านข่อย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านข่อย



บทคัดย่อ

โครงการ " โรงเรียนบ้านข่อย " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ 5 ตำบลบ้านจาน อำเภอพุทไธสง จังหวัดบุรีรัมย์ รหัสโครงการ ศรร.1312-067 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 80,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านข่อย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 111 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สรุปผลดำเนินงาน ก่อนเข้าร่วมโครงการนักเรียนได้รับนำอาหารมารับประทานที่โรงเรียน ผลขอภาวะโภชนาการของนักเรียนสรุปว่านักเรียนมีภาวะอ้วน 13 คน เนื่องจากไม่มีโครงการอาหารกลางวันเนื่องจากขาดแคลนงบประมาณสนับสนุน นักเรียนมีภาวะฟันพุจากการรับประทานอาหาร ภาวะโภชนาการไม่ดีเท่าที่ควร และนักเรียนบางคนมีเหาจึงต้องได้รับการแก้ไขโดยเร่งด่วน จากการเข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสปีที่ 1 โรงเรียนบ้านข่อยได้น้อมนำแนวทางการดำเนินงานด้านบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียน โดยมีกิจกรรมเกษตรในโรงเรียน ร้อยละ 90 ได้มีส่วนร่วมจัดทำการเกษตรปลอดสารพิษ ปลูกพืช เลี้ยงสัตว์ และการประมงนำผลผลิตที่ได้เข้าสู้โครงการเพื่อจัดทำอาหารกลางวันนักเรียนได้รับอาหารที่มีคุณค่าและปลอดภัยจากสารพิษเป็นการฝึกอาชีพให้กับนักเรียนเพื่อไปใช้ในชีวิตประจำวัน เนื่องจากโรงเรียนมีที่สาธารณะประโยชน์ที่ใช้ในการทำนาปลูกข้าว มีพื้นที่จำนวน 6 ไร่ ซึ่งได้ผลผลิต ประมาณ 4-5 ตัน/ปี และโรงเรียนได้รับการสนับสนุนจากการบริจาคข้าวเปลือกของผู้ปกครองนักเรียนที่อยู่ในเขตพื้นที่บริการ อีกทั้งยังได้มาจากผู้ปกครองที่ขอใช้บริเวณโรงเรียนเป็นที่ตากข้าว ทำให้โรงเรียนมีข้าวเปลือกรวมแล้วประมาณ 150-160 กระสอบ หรือประมาณ8 ตัน/ปีโรงเรียนได้จัดสรรข้าวเปลือกเป็น 2 ส่วน ส่วนหนึ่งนำเข้าโครงการอาหารกลางวันเด็กนักเรียน อีกส่วนนำไปจำหน่ายเพื่อนำทุนมาใช้ในการจัดซื้อวัตถุดิบเครื่องปรุงในการประกอบอาหาร “นวัตกรรมที่ใช้ร้อยละ 100 คือการปลูกพืชโดยใช้สารชีวภาพ มีการผลิตปุ๋ยชีวภาพ ทำน้ำหมักชีวภาพ เพื่อลดสารเคมีและลดต้นทุนการผลิต” สหกรณ์นักเรียนรับผลผลิตจากภาคการเกษตรมาจัดจำหน่ายให้กับโรงอาหารเพื่อเป็นการปันผลคืนกำไรให้กับกลุ่มการเกษตรในรูปสมาชิกสหกรณ์ ร้อยละ 90 เป็นสมาชิกสหกรณ์ และร้อยละ 100 ไม่จัดจำหน่ายอาหารสินค้า หวาน มัน เค็ม และน้ำอัดลมเพื่อส่งเสริมสุขภาพนักเรียนและ ป้องกันโรคต่างที่มาจากการกิน เช่น โรคอ้วน โรคขาดสารอาหาร ฝึกให้เด็กมีระเบียบวินัยในการกินรู้ประโยชน์รู้โทษของการกิน ส่งเสริมการออมทรัพย์ของเด็ก ส่งเสริมความรู้ทางด้านประกอบอาชีพให้เด็กรู้จักทำบัญชีรายรับจ่ายฝึกวินัยในการใช้จ่ายอยู่งอย่างพอเพียงตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง จัดบริการอาหารให้กับนักเรียนอย่างเพียงพอต่อความต้องการของเด็กโดยร้อยละ 90 ใช้โปรแกรมอาหาร Thai school lunch จัดห้องครัวที่สะอาดถูกหลักอนามัย ดูแลการปรุงและประกอบอาหารให้ถูกต้องตามหลักภาวะโภชนาการใช้นวัตกรรมคือ “การใส่เกลือไอโอดีนแทนน้ำปรุงรส น้ำตาลแทนผงปรุงรส”ดูแลกำกับการรับประทานอาหารของนักเรียน โดยแยกกลุ่มนักเรียนที่มีภาวะอ้วน ผอมมาดูแลเรื่องการรับประทานอาหารเป็นพิเศษเพื่อควบคุมอาหารให้กับเด็กกลุ่มนี้มีการเฝ้าระวังติดตามภาวะโภชนาการทดสอบสมรรถภาพของนักเรียน มีการตรวจสุขภาพประจำภาคเรียนดูแลสุขภาพของนักเรียนร้อยละ 90 นักเรียนออกกำลังกายสัปดาห์ละ 1 วัน วันละ 60 นาทีได้รับการดูแลตรวจสุภาพประจำภาคเรียนและมีการประเมินตนเองของนักเรียน โรงเรียนมีการบริการน้ำที่สะอาดได้มาตรฐานตามคุณภาพมาตรฐานน้ำดื่มสะอาดในโรงเรียนเพื่อใช้ในการบริโภคและอุปโภคมีที่ล้างมือ ที่แปรงฟัน ห้องน้ำที่สะอาดถูกสุขลักษณะ การกำจัดขยะที่ปลอดภัยลดมลพิษทางอากาศ รณรงค์ป้องกันอุบัติภัยโรงเรียนติดตามตรวจสุขภาพและมีการตรวจสุขภาพอนามัยของนักเรียนประจำภาคเรียนภาคเรียนละ 1 ครั้งจากเจ้าหน้าที่โรงพยาบาล โดยมีการตรวจฟัน การตรวจเหา การตรวจการได้ยิน การตรวจสายตาการจัดการเรียนรู้ด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพ ร้อยละ 100 โรงเรียนได้จัดทำแผนการเรียนรู้ประจำชั้นเรียน ประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 ได้เรียนรู้ทั้งในชั้นเรียนการลงมือปฏิบัติจริงและโดยผ่านการอบรมหน้าเสาธง การอบรมภาคกลางวัน จากการอบรมครูแกนนำของนักเรียนจากการตรวจสุขภาพนักเรียนด้วยตนเอง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างความตระหนักและภารกิจหน้าที่เสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างโรงเรียนชุมชนและหน่วยงานสนับสนุนโครงการเด็กไทยแก้มใสทั้งระบบ
  2. เพื่อปรับปรุงพัฒนาสหกรณ์นักเรียน และให้นักเรียนรู้จักการออม
  3. เพื่อส่งเสริมปัจจัยในการผลิตทางด้านการเกษตรทั้งในและนอกโรงเรียน
  4. เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมทั้งในและนอกโรงเรียนให้ถูกสุขอนามัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. นักเรียนโรงเรียนบ้านข่อย ได้กินอิ่มอย่างมีคุณภาพ ปลอดสารเคมี แก้มใสโภชนาการสมวัย บริโภคถูกต้องตามหลักโภชนาการ
    2. นักเรียนโรงเรียนบ้านข่อย มีภาวะทุพโภชนาการและสุขภาพสมบูรณ์ แข็งแรง การเจริญเติบโต ของร่างกายเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน
    3. นักเรียนโรงเรียนบ้านข่อย มีทัศนะที่ดีและตระหนักรับรู้ในหน้าที่รับผิดชอบ ตามที่ได้รับมอบหมาย
    4. นักเรียนโรงเรียนบ้านข่อย มีจิตสาธารณะและมีคุณภาพที่ดี เติบโตเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนา ประเทศชาติต่อไป

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. จัดหาพันธุ์ไก่ไข่

    วันที่ 13 มิถุนายน 2559 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ครุ บุคลากร และผู้ปกครอง จัดหาพันธุ์ไก่ไข่
    2. จัดซื้อพันธุ์ไข่ไก่ จำนวน 100 ตัว

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ได้ไก่พันธุ์ไข่ จำนวน 100 ตัว
    2. นักเรียนมีความรู้ในการเลือกซื้อพันธุ์ไก่ไข่ และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
    3. ได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครองและชุมชนในการจัดหาและเลือกซื้อพันธุ์ไก่ไข่

     

    2 12

    2. ปรับปรุงซ่อมแซมเล้าไก่

    วันที่ 13 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. สำรวจความเสียหายเล้าไก่ที่มีอยู่เดิม
    2. ซื้อวัสดุอุปกรณ์ในการซ่อมแซมเล้าไก่
    3. ผู้ปกครองและชุมชนร่วมกันปรับปรุงซ่อมแซมเล้าไก่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนมีความรู้ในการจัดทำเล้าไก่และสามารถนำไปใช้ได้จริง
    2. ได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครองและชุมชนในการปรับปรุงเล้าไก่เป็นอย่างดี
    3. ได้เล้าไก่ที่สมบูรณ์พร้อมที่จะนำไก่มาลงเลี้ยง

     

    8 21

    3. เลี้ยงไก่พันธุ์ไข่

    วันที่ 15 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. เตรียมพันธุ์ไก่ไข่
    2. ครู นักเรียน นำไก่เข้าเล้าไก่ที่ได้ทำการซ่อมแซมไว้
    3. นักเรียนมีการจัดทำเวรประจำวันในการรับผิดชอบในการดูแลไก่ และให้อาหารไก่
    4. นักเรียนมีการจดบันทึกการดูแลไก่ในแต่ละวัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนได้รับความรู้เกี่ยวกับการเตรียมพันธุ์ไกไข่ก่อนนำเข้าเล้าไก่
    2. นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติในการนำไก่เข้าโรงเลียงไก่และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
    3. นักเรียนมีความรู้ในการจัดเวรรับผิชอบในการดูแลไก่ไข่
    4. ได้รับความร่วมมือจากนักเรียนในการดูแล และให้อาหารไก่ทุกวัน
    5. นักเรียนรู้จักการจดบันทึกเพื่อดูพัฒนาการของไก่ในแต่ละวัน และสามารถนำไปใช้ได้

     

    92 92

    4. จัดอบรมสัมมนา พัฒนาบุคลากร การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการด้าน การเกษตร สหกรณ์ อาหารโภชนาการและสุขภาพ

    วันที่ 24 มิถุนายน 2559 เวลา 14:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมนักเรียน
    2. ประชุมผู้ปกครองนักเรียน
    3. ประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนได้รับความรู้เกียวกับรายละเอียดของโครงการเด็กไทยแก้มใส
    2. ผู้ปกครองนักเรียนได้รับความรู้เกียวกับรายละเอียดของโครงการเด็กไทยแก้มใส
    3. คณะกรรมการสถานศึกษาได้รู้รายละเอียดของโครงการเด็กไทยแก้มใส
    4. ได้รับความร่วมมือจากนักเรียน ผู้ปกครอง และคณะกรรมการสถานศึกษา
    5. นักเรียน ผู้ปกครอง และคณะกรรมการสถานศึกษา สามารถนำโครงการเด็กไทยแก้มใสไปใช่ในครอบครัว และชุมชนได้

     

    182 172

    5. ปรับปรุงแปลงเกษตร

    วันที่ 28 มิถุนายน 2559 เวลา 14:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. จัดประชุมนักเรียนโรงเรียนบ้านข่อย
    2. แบ่งกลุ่มนักเรียนรับผิดชอบแปลงเกษตร
    3. จัดทำสมุดบันทึกกิจกรรมการดูแลแปลงเกษตรของแต่ละกลุ่ม
    4. นักเรียนลงมมือจัดทำแปลงเกษตร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนมีความรู้ในการทำแปลงเกษตรในโรงเรียน และนักเรียนสามารถนำไปปฏิบัติได้จริงในชีวิตประจำวัน
    2. นักเรียนมีการวางแผนในการทำการเกษตร
    3. นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติกิจกรรมจริงด้วยตัวนักเรียนเองทำให้สามารถนำไปใช้ได้จริง
    4. นักเรียนมีความสามัคคี และมีการร่วมมือกันทำกิจกรรมเป็นอย่างดี

     

    92 92

    6. เพาะปลูกผักสวนครัว

    วันที่ 30 มิถุนายน 2559 เวลา 14:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. นักเรียนได้ทำการเลือกเมล็ดพันธุ์ผักที่จะทำการปลูกลงแปลงเกษตร
    2. นักเรียนได้ทำการปลูกพันธุ์ผักที่นักเรียนเลือกไว้
    3. นักเรียนได้ทำปุ๋ยชีวภาพสำหรับใช้ในการรดปลูกผัก
    4. นักเรียนมีการจดบันทึกในการทำการปลูกผักสวนครัวเป็นระยะ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนมีความรู้ในการเลือกเมล็ดพันธุ์ผักที่จะใช้ในการปลูกแต่ละครั้งและนำไปใช้ในครอบครัวได้
    2. นักเรียนได้มีการลงมือปฏิบัติการปลูกผักสวนครัวที่นักเรียนได้เลือกไว้
    3. นักเรียนได้รับความรู้ในการทำปุ๋ยหมักชีวภาพ
    4. นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติการทำปุ๋ยหมักชีวภาพด้วยตัวเอง และผลที่เลือจาการการใช้ในแปลงเกษตรของโรงเรียนนักเรียนสามารถนำไปใช้ในครอบครัวของนักเรียนได้
    5. นักเรียนได้รับความรู้ในการจดบันทึกการปลูกผักเป็นระยะเพื่อดูความเปลี่ยนแปลงในการทำแปลงเกษตร
    6. นักเรียนได้ทำการจดบันทึกด้วยตัวของนักเรียนเอง

     

    49 62

    7. ประชุมชี้แจงโครงการศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

    วันที่ 22 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมชีแจงรายละเอียดโครงการ
    2. ประเมินผล
    3. สรุปโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ได้รับความร่วมมือจากชุมชนในการประชุม
    2. ได้รับความร่วมมือจากชุมชนในการและเปลี่ยนเรียนรู้ด้านโภชนาการอาหารและทุกฝ่ายตระหลักถึงความสำคัญ
    3. ได้ทำ MOU ร่วมกันกับชุมชนด้านโภชนาการอาหารภายในโรงเรียน

     

    98 13

    8. จัดหาพันธุ์ปลาน้ำจืด

    วันที่ 22 สิงหาคม 2559 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ครู นักเรียน ผู้ปกครอง จัดหาสถานที่ในการจัดซื้อพันธุ์ลูกปลา
    2. จัดซื้อพันธุ์ปลานิล 8,000 ตัว
    3. จัดซื้อปลาตะเพียน 8,000 ตัว
    4. จัดซื้อปลาดุก 4,000 ตัว 5.นำพันธุ์ปลาที่จัดซื้อมาลงกระชังที่เตรียมไว้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ได้รับความร่วมมือจาก ครู นักเรียน ผู้ปกครองในการหาสถานที่ในการจัดซื้อพันธุ์ปลา
    2. นักเรียนได้รับความรู้ในการเลือกซื้อพันธุ์ปลาชนิดต่างๆเละสามารถนำไปใชในชีวิตประจำวันได้
    3. ครู นักเรียน ผู้ปกครองได้ร่วมกันปล่อยปลานิลลงกระชังเลี้ยงปลา
    4. ครู นักเรียน ผู้ปกครองได้ร่วมกันปล่อยปลาตะเพียน ลงกระชังเลี้ยงปลา
    5. ครู นักเรียน ผู้ปกครองได้ร่วมกันปล่อยปลานิลลงกระชังเลี้ยงปลา
    6. ครู นักเรียน ผู้ปกครองได้ร่วมกันปล่อยปลาดุกลงกระชังเลี้ยงปลา
    7. ได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครอง ชุมชนในการปล่อยปลาลงกระชัง

     

    4 13

    9. จัดหาอาหารปลาน้ำจืด

    วันที่ 22 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ครูและนักเรียนได้จัดหาสถานที่ในการซื้ออาหารปลากินพืช
    2. ครูนักเรียนได้จัดซื้ออาหารปลากินพืช 9  กระสอบ กระสอบละ 600 บาท

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนได้รับความรู้ในการเลือกซื้ออาหารปลาแต่ละชนิดที่แตกต่างกันและ นักเรียนสามารถนำไปใช้ได้จริง
    2. นักเรียนสามารถเลือกซื้ออาหารปลาได้อย่างถูกต้องตามประเภทของปลาแต่ละชนิด

     

    2 7

    10. ปรับปรุงซ่อมแซมระบบน้ำการเกษตร

    วันที่ 27 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ได้รับความร่วมมือจาก ครู นักเรียน ผู้ปกครอง ในการปรับปรุงซ่อมแซมระบบน้ำ
    2. ครู นักเรียน ผู้ปกครอง เข้าใจวิธีการใช้งานระบบน้ำเพื่อการเกษตร
    3. นักเรียนได้จัดทำเวรรับผิดชอบในการรดน้ำแปลงผักแต่ละวัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ได้รับความร่วมมือจาก ครู นักเรียน ผู้ปกครอง ในการปรับปรุงซ่อมแซมระบบน้ำ
    2. ครู นักเรียน ผู้ปกครอง เข้าใจวิธีการใช้งานระบบน้ำเพื่อการเกษตร
    3. นักเรียนได้จัดทำเวรรับผิดชอบในการรดน้ำแปลงผักแต่ละวัน
    4. นักเรียนได้กำหนดรายชื่อนักเรียนแต่ละคน ในการรับผิดชอบรดน้ำในแต่ละวัน
    5. นักเรียนมีความสามัคคีในการปฏิบติกิจกรรมที่ได้รับมอบหมายจากเพื่อนๆ
    6. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมที่ได้รับมอบหมายอย่างเต็มความสามารถ

     

    62 62

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อสร้างความตระหนักและภารกิจหน้าที่เสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างโรงเรียนชุมชนและหน่วยงานสนับสนุนโครงการเด็กไทยแก้มใสทั้งระบบ
    ตัวชี้วัด : มีองค์กรจากภายนอกเข้าร่วมโครงการ อย่างน้อย 2 หน่วยงาน

     

    2 เพื่อปรับปรุงพัฒนาสหกรณ์นักเรียน และให้นักเรียนรู้จักการออม
    ตัวชี้วัด : นักเรียนโรงเรียนบ้าข่อยอย่างน้อยร้อละ 90 สามารถจัดทำบัญชีสหกรณ์นักเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

     

    3 เพื่อส่งเสริมปัจจัยในการผลิตทางด้านการเกษตรทั้งในและนอกโรงเรียน
    ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 95 ได้รับความรู้จากการทำการเกษตรในโรงเรียน และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ และผลผลิตที่ได้จากการทำเกษตรในโรงเรียนนำเข้าสู่โครงการกลางวันโดยผ่านสหกรณ์โรงเรียน ร้อยละ 100

     

    4 เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมทั้งในและนอกโรงเรียนให้ถูกสุขอนามัย
    ตัวชี้วัด : นักเรียนทุกคนมีความรู้เรื่องโภชนาการและสุขภาพที่ดี สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตประจำวันได้

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างความตระหนักและภารกิจหน้าที่เสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างโรงเรียนชุมชนและหน่วยงานสนับสนุนโครงการเด็กไทยแก้มใสทั้งระบบ (2) เพื่อปรับปรุงพัฒนาสหกรณ์นักเรียน และให้นักเรียนรู้จักการออม (3) เพื่อส่งเสริมปัจจัยในการผลิตทางด้านการเกษตรทั้งในและนอกโรงเรียน (4) เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมทั้งในและนอกโรงเรียนให้ถูกสุขอนามัย

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านข่อย

    รหัสโครงการ ศรร.1312-067 รหัสสัญญา 58-00-2265-อ.21 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

    การจัดการระบบน้ำเพื่อความยั่งยืนและประหยัดแรงงาน

    1.แบ่งพื้นที่การเกษตร 2.จัดสรรน้ำเหมาะสมกับพื้นที่
    -พื้นที่ไม้ยืนต้นใช้ระบบน้ำหยด -พื้นที่พืชผักระยะสั้นใช้สปริงเกอร์ โดยนำน้ำมาจากลำสะแทด ลำน้ำหลังโรงเรียนเพื่อให้การเกษตรมีระบบที่ยั่งยืนเป็นมาตรฐาน สะดวกแก่การบริหารจัดการเกษตรในโรงเรียน

    ขยายพื้นที่ให้สามารถใช้น้ำได้ทั่วถึงภายในบริเวณโรงเรียน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

    กิจกรรมหมุนลดพุงลดอ้วน

    นักเรียนที่มีภาวะอ้วนหรือเริ่มอ้วนมีกิจกรรมคือ 1.ควบคุมอาหารนักเรียนโดยแม่ครัว ลดแป้ง 2.กิจกรรมเข้าจังหวะเพื่อลดพุง เช่น ฮุลาฮุปเข้าจังหวะ เต้นแอโรบิค เป็นต้น

    เพิ่มกิจกรรมออกกำลังกายให้หลากหลาย

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

    เรือสร้างสุขนิสัยสุขภาพอนามัย

    เรือสำหรับทำกิจกรรมเกี่ยวกับการล้างมือ แปรงฟันโดยเรือแต่ละลำจะมีป้ายบอกกิจกรรมและองค์ความรู้ เช่น การแปรงฟันที่ถูกวิธี การล้างมือที่ถูกวิธี เป็นต้น

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    โรงเรียนบ้านข่อย จังหวัด บุรีรัมย์

    รหัสโครงการ ศรร.1312-067

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายปัญญาวีเวหา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด