ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านโคกใหญ่หนองสองห้อง

รหัสโครงการ ศรร.1311-050 รหัสสัญญา 58-00-2265-อ.4 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน
  1. สบู่สมุนไพร
  2. หม่ำเห็ด

ดำเนินงานตามโครงการ สรุปรายงานโครงการ รูปภาพ แผ่นพับ ป้ายนำเสนอโครงการ ผลผลิต

สบู่สมุนไพรผสมใยบวบ ผสมวิตามินอี หม่ำเห็ดนางฟ้าไรเบอร์รี่

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในระบบสหกรณ์ในโรงเรียน

ประชาสัมพันธ์ ประชุมชี้แจง แต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบดำเนินงานสหกรณ์นักเรียน

จัดตลาดนัดชุมชนผักปลอดสารพิษโดยโรงเรียนร่วมกับชุมชน อาทิตย์ละ 1 วัน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

จัดเมนูอาหารตามโปรแกรม Thai School Lunch เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรงตามหลักโภชนาการ

ประชุมชี้แจงโครงการเกี่ยวกับการบริหารจัดการอาหารให้กับนักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนทั้งที่บ้านและที่โรงเรียน

นักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้ไปบูรณาการใช้ในชีวิตประจำวันได้

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

ตรวจสุขภาพนักเรียนภาคเรียนละ 1 ครั้ง มีการชั่งน้ำหนัก และวัดส่วนสูงทุกเดือน

ร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลก้านเหลืองมาตรวจสุขภาพปาก ฟัน และตรวจสุขภาพ มีการจัดกิจกรรมแข่งขันกีฬาภายใน

ให้นักเรียนเป็นแกนนำจัดตั้งชมรมรักสุขภาพ

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

กิจกรรมแกว่งแขนลดพุงตอนเช้าหน้าเสาธง วันละ 5 นาที ทุกวัน

ประชุมชี้แจงคัดเลือกนักเรียนที่มีภาวะอ้วนโดยแบ่งกลุ่มนักเรียนท้วม เริ่มอ้วน อ้วน

ศึกษานักเรียนเป็นรายกรณีเพื่อเฝ้าติดตามระวังอย่างใกล้ชิด

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

แบ่งพื้นที่รับผิดชอบตามกลุ่มสี 9 กลุ่ม มีประธาน กรรมการ ดูแลกิจกรรมและรายงานผลการปฏิบัติกิจกรรมทุกวันศุกร์

แบ่งนักเรียนตั้งแต่อนุบาล - ประถมศึกษาปีที่ 6 เป้นกลุ่ม 9 กลุ่ม กำหนดพื้นที่รับผิดชอบโดยมีครูเป็นผู้ดูแล และสรุปผลการดำเนินงานทุกวันศุกร์

จัดกิจกรรม บ้าน วัด โรงเรียนร่วมกับชุมชนพัฒนาพื้นที่

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

มีห้องพยาบาลและบริการปฐมพยาบาลเบื้องต้น

นำนักเรียนเข้าร่วมอบรม อย. น้อยร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนตำบลก้านเหลือง มีนักเรียนแกนนำมาขยายผล

จัดอบรมอย. น้อยที่โรงเรียน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

ถอดบทเรียนจากกิจกรรมต่างๆที่ดำเนินการตามโครงการเด็กไทยแก้มใสใน 8 กลุ่มสาระ

จัดนิทรรศการผลงานนักเรียน ในวันที่ 16 มีนาคม 2560 โดยการนำชิ้นงาน ผลงาน ผลผลิตที่ได้

ขยายผลนำชุมชนเข้ามาร่วมจัดนิทรรศการ โดยนำภูมิปัญญาท้องถิ่นเข้ามาร่วมด้วย

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ

 

 

 

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

ชุมชน ผู้ปกครอง กรมพัฒนาที่ดินจังหวัดขอนแก่น กรมประมง เกษตรอำเภอแวงน้อย เทศบาลตำบลก้านเหลือง รพส.ต. ก้านเหลือง

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

บริบทของโรงเรียน แหล่งน้ำ ปราชญ์ชาวบ้าน ชุมชน

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

การร่วมมือจากภาคีเครือข่าย

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติกิจกรรมโครงการอาหารกลางวันจริง

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

ร่วมประชุมวางแผนชี้แจงแนวทางดำเนินงานตามโครงการ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

นำผลผลิตที่ได้จำหน่ายให้สหกรณ์นักเรียนและสหกรณ์นักเรียนไปจำหน่ายให้กับโครงการอาหารกลางวันเพื่อนำมาประกอบอาหารกลางวัน

บัญชีรับ จ่ายการขายผลผลิตทางการเกษตร

จัดตลาดนัดร่วมกับชุมชนผักปลอดสารพิษสัปดาห์ละ 1 วัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

นำผลผลิตที่ได้จำหน่ายให้สหกรณ์นักเรียนและสหกรณ์นักเรียนไปจำหน่ายให้กับโครงการอาหารกลางวันเพื่อนำมาประกอบอาหารกลางวัน

บัญชีรับ จ่ายการขายผลผลิตทางการเกษตร

นำผลผลิตที่ได้มาแปรรูปเพื่อเพิ่มคุณค่าทางอาหาร

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

นำผลผลิตที่ได้จำหน่ายให้สหกรณ์นักเรียนและสหกรณ์นักเรียนไปจำหน่ายให้กับโครงการอาหารกลางวันเพื่อนำมาประกอบอาหารกลางวัน

บัญชีรับ จ่ายการขายผลผลิตทางการเกษตร

จัดตลาดนัดร่วมกับชุมชนสัปดาห์ละ 1 วัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

 

 

 

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

จัดเมนูอาหารตามโปรแกรม Thai School Lunch

เมนูอาหารตามโปรแกรม Thai School Lunc

ขยายผลให้กับชุมชน เครือข่าย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

จัดเมนูอาหารตามโปรแกรม Thai School Lunch

เมนูอาหารตามโปรแกรม Thai School Lunc

ขยายผลให้กับชุมชน เครือข่าย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

ประชุมชี้แจงนโยบายการดำเนินงานของโครงการ

บันทึกประชุม รูปภาพ

ขยายโรงเรียนเครือข่าย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

บันทึกข้อมูลรายการอาหารลงในโปรแกรม

ข้อมูลที่กรอกในโปรแกรม

ขยายผลต่อชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

มีการตรวจสุขภาพ และชั่งนำ้หนักส่วนสูงดดยมีการแปลผล

บันทึกการตรวจสุขภาพ บันทึกการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง

ขยายผลต่อชุมชน และให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการ

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 1/12558 1/22558 2/12558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12561 1/12561 1/22561 2/12561 2/2
เตี้ย 13.79 13.79% 13.48 13.48% 4.49 4.49% 11.24 11.24% 21.52 21.52% 6.41 6.41% 3.95 3.95% 1.32 1.32% 1.49 1.49% 1.61 1.61% 1.61 1.61% 3.23 3.23% 0.00 0.00%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 19.54 19.54% 17.98 17.98% 7.87 7.87% 17.98 17.98% 27.85 27.85% 17.95 17.95% 11.84 11.84% 13.16 13.16% 17.91 17.91% 20.97 20.97% 16.13 16.13% 22.58 22.58% 14.29 14.29%
ผอม 0.00 0.00% 0.00 0.00% 2.25 2.25% 1.12 1.12% 1.27 1.27% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 2.99 2.99% 1.61 1.61% 1.61 1.61% 0.00 0.00% 0.00 0.00%
ผอม+ค่อนข้างผอม 4.49 4.49% 6.74 6.74% 8.99 8.99% 3.37 3.37% 7.59 7.59% 2.56 2.56% 0.00 0.00% 3.95 3.95% 7.46 7.46% 4.84 4.84% 4.84 4.84% 3.23 3.23% 3.17 3.17%
อ้วน 7.87 7.87% 7.87 7.87% 5.62 5.62% 5.62 5.62% 3.80 3.80% 2.56 2.56% 5.26 5.26% 2.63 2.63% 2.99 2.99% 6.45 6.45% 6.45 6.45% 8.06 8.06% 6.35 6.35%
เริ่มอ้วน+อ้วน 15.73% 15.73% 13.48% 13.48% 12.36% 12.36% 11.24% 11.24% 8.86% 8.86% 7.69% 7.69% 7.89% 7.89% 7.89% 7.89% 5.97% 5.97% 9.68% 9.68% 9.68% 9.68% 9.68% 9.68% 7.94% 7.94%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงของนักเรียน ให้ความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอาหารที่มีคุณภาพ

บันทึกน้ำหนัก ส่วนสูง การแปลผลภาวะโภชนาการ

ให้ความรู้และติดตามเฝ้าระวังการลดอาหารที่ีมี รสหวาน มัน เค็ม และขนมกรุบกรอบ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงของนักเรียน ให้ความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอาหารที่มีคุณภาพ

บันทึกน้ำหนัก ส่วนสูง การแปลผลภาวะโภชนาการ

ให้ความรู้และติดตามเฝ้าระวังการลดอาหารที่มีรสหวาน มัน เค็ม และขนมกรุบกรอบ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงของนักเรียน ให้ความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอาหารที่มีคุณภาพ

บันทึกน้ำหนัก ส่วนสูง การแปลผลภาวะโภชนาการ

ให้ความรู้และติดตามเฝ้าระวังการลดอาหารที่ีมี รสหวาน มัน เค็ม และขนมกรุบกรอบ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

ออกกำลังกายตอนเช้าทุกวันโดยการแกว่งแขนลดพุง วันละ 5 นาที

รูปภาพ

ขยายผลสู่ชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

จัดประชุมชี้แจงให้ผู้ปกครองรับทราบ

บันทึกการประชุม รูปภาพ

ขยายผลสู่ชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

โครงการเด็กไทยแก้มใส เป็นโครงการที่ดี ที่มีประโยชน์ ทั้งต่อตัวนักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน และตัวครูเอง ทำให้เกิดหลายๆอย่างที่มีคุณค่า เหมาะสำหรับการนำไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิต เป็นอย่างยิ่ง เห็นสมควรที่อยากจะให้ดำเนินโครงการนี้ต่อไป เพื่อประโยชน์ต่อลูกหลานของเราทั้งปัจจุบันและอนาคต

บันทึกการประชุม รูปภาพ แบบประเมินความพึงพอใจ

ขยายผลต่อชุมชน

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

ชุมชน ผู้ปกครอง กรมพัฒนาที่ดินจังหวัดขอนแก่น กรมประมง เกษตรอำเภอแวงน้อย เทศบาลตำบลก้านเหลือง รพส.ต. ก้านเหลือง

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh