ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนรัฐประชาวิทยาคาร

รหัสโครงการ ศรร.1312-053 รหัสสัญญา 58-00-2265-อ.7 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

หนูน้อยนักประชาสัมพันธ์

  • ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง แปรผล ภาคเรียนละ 2 ครั้ง
  • แจ้งผลการประเมินภาวะโภชนาการถึงผู้ปกครอง
  • ติดตามเยี่ยมบ้านนักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ
  • ประชุมกลุ่มเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระหว่าง ครู นักเรียนที่มีปัญหาเรื่องภาวะโภชนการ และผู้ปกครองของนักเรียนที่มีปัญหา
  • จัดกิจกรรมแก้ปัญหาให้กับนักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ
  • หนูน้อยนักประชาสัมพันธ์ แจ้งข่าวสารการจัดเมนูอาหารในชุมชน

ออกติดตามเยี่ยมบ้านนักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการในช่วงปิดภาคเรียน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน
  • การแปรงฟันอย่างเป็นระบบ 25 จุด
  • ย้อมคราบจุลินทรีย์จากดอกอัญชัญ
  • ยาสีฟันจากใบข่อย

โรงเรียนมีการรวมกลุ่มการพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน เรื่องฟัน โดยจัดตั้งเครือข่ายจตุพักตรพิมานสุขสันต์ ฟันแข็งแรง โดยในกลุ่มโรงเรียนเครือข่ายแต่ละโรงเรียนจะใช้นวัตกรรมร่วมกัน คือ

  1. การแปรงฟันแบบขยับปัดอย่างเป็นระบบ 25 จุด
  2. ย้อมคราบจุลินทรีย์จากดอกอัญชัญ
  3. การทำยาสีฟันจากใบข่อย ทำให้นักเรียนในโรงเรียนเครือข่ายมีสุขภาพช่องปากที่สะอาด แข็งแรงส่งผลให้โรงเรียนเครือข่ายจตุรพักตรพิมานสุขสันต์ ฟันแข็งแรงเป็นเครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยฟันดียอดเยี่ยมระดับประเทศ

นำนวัตกรรมไปเผยแพร่ไปสู่กลุ่มเครือข่ายอื่นและหน่วยงานอื่นๆ ต่อไป

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ

 

 

 

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

หน่วยงานภาคีเครือข่ายให้ความร่วมมือในการสนับสนุนงบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์
- โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดงกลาง จัดอบรม ให้ความรู้ตรวจสุขภาพนักเรียนและรักษานักเรียนที่มีปัญหาด้านสุขภาพ - องค์การบริหารส่วนตำบลดงกลาง มอบวัสดุ อุปกรณ์

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

สภาพแวดล้อมของชุมชนชาวชนบทที่ไม่แออัดอยู่กลางทุ่งนาที่มีอากาศบริสุทธิ์

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

การร่วมกันแก้ปัญหาสุขภาพช่องปากของนักเรียน

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

ครู นักเรียน และแม่ครัว มีความรู้ในการจัดอาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพช่องปาก

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการช่วยดูแลสุขภาพฟันนักเรียนเมื่อยู่ที่บ้าน โดยจะให้ผู้ปกครองและ อสม. ประจำบ้าน ช่วยกำกับติดตามการแปรงฟันของนักเรียนในตอนเช้า ก่อนเข้านอน และในวันหยุด ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดจำหน่ายอาหารว่างตามร้านค้า โดยเจ้าหน้าที่จากโรงพยาาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดงกลางจะนำทีม อสม. อสม.น้อย (นักเรียน) มาให้ความรู้ในการจัดร้านค้าตามฉลาก เขียว เหลือง แดง เพื่อให้นักเรียนได้เลือกรับประทานอาหารว่างที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

โรงเรียนได้มีการปลูกผักในโรงเรียนในปริมาณที่เพียงพอต่อการนำมาเป็นวัตถุดิบในการประกอบอาหาร ถ้าในเมนูอาหารที่ไม่มีผักในโรงเรียนเป็นวัตถุดิบทางโรงเรียนจะรับซื้อจากชุมชน

บัญชีรับ-จ่ายงานเกษตร แปลงผักในโรงเรียน

เพิ่มปริมาณการปลูกผักให้มีหลายชนิดโดยใช้พื้นที่จากสวนหย่อมในโรงเรียน จะทำให้ได้ปริมาณผักเพิ่มมากขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

โรงเรียนได้เลี้ยงสัตว์ คือ -เลี้ยงไก่ไข่ จำนวน100ตัวได้จำนวนไข่ไก่เฉลี่ยวันละ 85 ฟอง -เลี้ยงไก่เนื้อจำนวน 100 ตัว

บัญชีกิจกรรมเลี้ยงไก่ รูปภาพ ตามกิจกรรมเสริมคุณค่าทางอาหารด้วยไข่

เลี้ยงไก่รุ่นต่อไปจะเลี้ยงไก่ไข่เสริมไอโอดีน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

โรงเรียนขุดบ่อเลี้ยงปลาในพื้นที่ 1 ไร่ และได้ปล่อยพันธุ์ปลากินพืชโดยมีปลานิล 7,200 ตัว ปลาตะเพียน 6,400 ตัว ปลายี่สกเทศ 2,600 ตัว ปลากะโห้ 1,000 ตัวปลาจาระเม็ด 1,600 ตัว โดยให้อาหารปลาจากฟางข้าวและผักต่างๆ ซึ่งทำให้มีปลามาจำหน่ายผ่านสหกรณ์นักเรียนในปริมาณที่เพียงพอต่อการจัดเมนูอาหาร

บัญชีกิจกรรมเลี้ยงสัตว์ รูปภาพตามกิจกรรม แจ้งข่าวเล่าสู่

เพิ่มชนิดของปลาให้มากขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

 

 

หางบประมาณเพื่อจัดอาหารเช้าให้กับนักเรียน

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

เด็กอนุบาลจำนวน 40 คน ได้รับประทานผักและผลไม้ในปริมาณที่เพียงพอทุกวัน โดยจะจัดเมนูอาหารให้มีปริมาณผัก ผลไม้ ที่เพียงพอ และได้ปลูกฝังการกินผักให้กับเด็กอนุบาลโดยให้มีแปลงผักหน้าห้องอนุบาล ให้เด็กๆได้ดูแล

เมนูอาหาร รูปภาพแปลงผัก ตามกิจกรรมแจ้งข่าว เล่าสู่

ให้เด็กได้เป็นคนเลือกชนิดของผักที่จะปลูกเอง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

นักเรียนระดับประถมได้รับประทานผักและผลไม้ในปริมาณที่เพียงพอทุกวัน โดยจะจัดเมนูอาหารให้มีปริมาณผัก ผลไม้ ที่เพียงพอ แปลงผักในโรงเรียนจะมีแปลงผักย่อยสำหรับนักเรียนแต่ละชั้นปลูกและรับผิดชอบเอง โดยจะนำมารับประทานกับส้มตำเป็นอาหารว่างในบางวัน และนักเรียนแต่ละคนจะมีผักในดวงใจปลูกที่บ้าน โดยจะมีการสำรวจว่า นักเรียนชอบรับประทานผักชนิดไหนมากที่สุด และก็จะให้นักเรียนปลูกผักในดวงใจไว้ที่บ้าน อย่างน้อยคนละ 1 ชนิด

มนูอาหาร รูปภาพแปลงผัก ตามกิจกรรมแจ้งข่าว เล่าสู่

ให้นักเรียนคิดเมนูอาหารว่างที่ประกอบด้วย ผัก ผลไม้ที่นักเรียนชอบทาน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

นักเรียนระดับประถมได้รับประทานผักและผลไม้ในปริมาณที่เพียงพอทุกวัน โดยจะจัดเมนูอาหารให้มีปริมาณผัก ผลไม้ ที่เพียงพอ แปลงผักในโรงเรียนจะมีแปลงผักย่อยสำหรับนักเรียนแต่ละชั้นปลูกและรับผิดชอบเอง โดยจะนำมารับประทานกับส้มตำเป็นอาหารว่างในบางวัน และนักเรียนแต่ละคนจะมีผักในดวงใจปลูกที่บ้าน โดยจะมีการสำรวจว่า นักเรียนชอบรับประทานผักชนิดไหนมากที่สุด และก็จะให้นักเรียนปลูกผักในดวงใจไว้ที่บ้าน อย่างน้อยคนละ 1 ชนิด

มนูอาหาร รูปภาพแปลงผัก ตามกิจกรรมแจ้งข่าว เล่าสู่

ให้นักเรียนคิดเมนูอาหารว่างที่ประกอบด้วย ผัก ผลไม้ที่นักเรียนชอบทาน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

สำหรับเมนูอาหารที่โรงเรียนจัด ถ้าเป็นเมนูที่ต้องใช้ผักที่โรงเรียนไม่มี จะไปขอซื้อจากชุมชน ซึ่งชุมชนจะไ้ด้รับข่าวสารการจัดเมนูอาหารกลางวันจากกิจกรรมนักประชาสัมพันธ์น้อย

 

ให้ผู้ปกครองร่วมคิดเมนูอาหารร่วมกับทางโรงเรียนและวางแผนจัดหาแหล่งผลิตอาหาร

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

มีการจัดเมนูอาหารล่วงหน้าโดยใช้โปรแกรมThai School Lunch

 

ให้นักเรียนและผู้ปกครองได้จัดทำเมนูอาหารโดยใช้โปรแกรมThai School Lunch

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

ครูประจำชั้นได้มีการชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูง แปรผล ภาคเรียนละ 2 ครั้ง
ครั้งที่ 1 เดือนพฤษภาคม ครั้งที่ 2 เดือนสิงหาคม ครั้งที่3 พฤศจิกายน ครั้งที่ 4 เดือนกุมภาพันธ์ พร้อมกับบันทึกข้อมูลอย่างครบถ้วน

สถานการณ์ภาวะโภชนาการ

มีการติดตามภาวะโภชนาการด้วยตนเองในทุกๆเดือน

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 2/22559 1/12559 2/12559 2/2
เตี้ย 0.98 0.98% 1.50 1.50% 1.50 1.50% 0.51 0.51%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 4.88 4.88% 4.00 4.00% 4.00 4.00% 3.55 3.55%
ผอม 1.46 1.46% 3.00 3.00% 0.50 0.50% 0.50 0.50%
ผอม+ค่อนข้างผอม 7.32 7.32% 4.50 4.50% 3.50 3.50% 2.49 2.49%
อ้วน 6.83 6.83% 7.50 7.50% 7.00 7.00% 6.97 6.97%
เริ่มอ้วน+อ้วน 9.27% 9.27% 10.00% 10.00% 8.50% 8.50% 7.46% 7.46%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

โรงเรียนมีการแก้ปัญหานักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกินเกณฑ์ โดยใช้กิจกรรมติดตามเยี่ยมบ้านนักเรียนที่มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนโดยร่วมมือกับภาคีเครือข่ายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดงกลาง ออกติดตามเยี่ยมบ้านนักเรียนที่มีปัญหารายบุคคลทำความเข้าใจ ให้ความรู้กับผู้ปกครองนักเรียนเรื่องการบริโภคอาหารกิจกรรมร่างกายสมส่วน เชิญชวนมาออกกำลังกาย โดยในทุกๆวันหลังเลิกเรียนจะมีวิทยากรนำนักเรียนออกกำลังกายวันละ 45 นาที พร้อมทั้งการควบคุมอาหาร ซึ่งทำให้นักเรียนมีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

สถานการณ์ภาวะโภชนาการ ปี 2558- ปี 2559

มีการติดตามภาวะโภชนาการอย่างต่อเนื่อง จากครู ผู้ปกครอง เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และ อสม.ประจำบ้าน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

โรงเรียนมีการแก้ปัญหานักเรียนที่มีภาวะโภชนาการภาวะค่อนข้างผอมและผอม โดยมีการติดตามเยี่ยมบ้านรายบุคคล ให้ความรู้กับผู้ปกครองในการจัดเมนูอาหารเสริมให้กับนักเรียน

สถานการณ์ภาวะโภชนาการ ปี 2558- ปี 2559

มีการติดตามภาวะโภชนาการอย่างต่อเนื่อง จากครู ผู้ปกครอง เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และ อสม.ประจำบ้าน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

โรงเรียนมีการแก้ปัญหานักเรียนที่มีภาวะโภชนาการภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ย โดยมีการติดตามเยี่ยมบ้านนักเรียนที่มีปัญหารายบุคคล ให้ความรู้กับผู้ปกครองในการจัดเมนูอาหารเสริม กิจกรรมการออกกำลังกายให้กับนักเรียนที่โรงเรียนจะจัดมุมออกกำลังกายสำหรับเด็กที่มีภาวะเตี้ย เช่น ดื่มอาหารเสริมนม กิจกรรมเชือกกระโดด บาร์โหน

สถานการณ์ภาวะโภชนาการ ปี 2558- ปี 2559

มีการติดตามภาวะโภชนาการอย่างต่อเนื่อง จากครู ผู้ปกครอง เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และ อสม.ประจำบ้าน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

มีการติดตามเยี่ยมบ้าน เพื่อรับฟังสภาพปัญหาและแก้ปัญหาร่วมกับผู้ปกครอง มีกิจกรรมเสริมรายบุคคล นักเรียนอ้วนได้รับการควบคุมอาหาร ให้ความรู้ออกกำลังกาย นักเรียนผอมและเตี้ยได้รับอาหารเสริม กิจกรรมออกกำลังกาย และนักเรียนประเมินภาวะโภชนาการได้ด้วยตนเอง

รูปภาพตามกิจกรรม ร่างกายสมส่วนเชิญชวนมาออกกำลังกาย กิจกรรมติดตามเยี่ยมบ้านนักเรียนที่มีปัญหาด้านภาวะโภชนาการ

มีการติดตามภาวะโภชนาการอย่างต่อเนื่อง จากครู ผู้ปกครอง เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และ อสม.ประจำบ้าน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

ทางโรงเรียนได้มีการประชุมผู้ปกครองนักเรียนที่มีปัญหาด้านภาวะโภชนาการ และได้ร่วมมือกับเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดงกลางติดตามเยี่ยมบ้านนักเรียนรายบุคคล พูดคุยปัญหาและหาทางแก้ไขปัญหาร่วมกัน ประชุมกลุ่มเพื่อติดตามผลการแก้ไขปัญหา

  • รูปภาพ ตามกิจกรรม ติดตามเยี่ยมบ้านนักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการ

มีการติดตามภาวะโภชนาการอย่างต่อเนื่อง จากครู ผู้ปกครอง เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และ อสม.ประจำบ้าน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

หน่วยงานภาคีเครือข่ายให้ความร่วมมือในการสนับสนุนงบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์
- โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดงกลาง จัดอบรม ให้ความรู้ตรวจสุขภาพนักเรียนและรักษานักเรียนที่มีปัญหาด้านสุขภาพ - องค์การบริหารส่วนตำบลดงกลาง มอบวัสดุ อุปกรณ์

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh