แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

โรงเรียนบ้านหนองหญ้าปล้อง


“ โรงเรียนบ้านหนองหญ้าปล้อง ”

หมู่ที่5 บ้านหนองหญ้าปล้อง ตำบลทะเมนชัย อำเภอลำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์

หัวหน้าโครงการ
นายทรงศักดิ์ สิรัมย์

ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านหนองหญ้าปล้อง

ที่อยู่ หมู่ที่5 บ้านหนองหญ้าปล้อง ตำบลทะเมนชัย อำเภอลำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัด บุรีรัมย์

รหัสโครงการ ศรร.1311-066 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-อ.20

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โรงเรียนบ้านหนองหญ้าปล้อง จังหวัดบุรีรัมย์" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่5 บ้านหนองหญ้าปล้อง ตำบลทะเมนชัย อำเภอลำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านหนองหญ้าปล้อง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านหนองหญ้าปล้อง



บทคัดย่อ

โครงการ " โรงเรียนบ้านหนองหญ้าปล้อง " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่5 บ้านหนองหญ้าปล้อง ตำบลทะเมนชัย อำเภอลำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์ รหัสโครงการ ศรร.1311-066 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 80,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านหนองหญ้าปล้อง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 240 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียนบ้านหนองหญ้าปล้องจึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียน มีภาวะโภชนาการสมวัย สมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์มาตรฐาน(ต่ำกว่าเกณฑ์ไม่เกินร้อยละ 7)
  2. เพื่อให้โรงเรียนมีผลผลิตด้านการเกษตรสนับสนุนโรงเรียนอาหารกลางวันไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 อย่างยั่งยืน
  3. เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้และมีสุขนิสัยที่ดีด้านสุขภาพอนามัย เกษตร และกิจกรรมสหกรณ์
  4. เพื่อพัฒนาโรงเรียนเป็นแหล่งแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ศึกษาดูงาน ศูนย็เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส 8 องค์ประกอบ
  5. พัฒนาบุคคลากร ครู ผู้ปกครอง และชุมชน ให้เกิดความตระหนักและเกิดส่วนร่วมในกิจกรรมศูนย์เรียนต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้ม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. นักเรียนมีสุขภาพอนามัยสมบูรณ์ แข็งแรงมีสุขนิสัยที่ดีในด้านสุขภาพ
    2. นักเรียนมีความรู้ ทักษะด้านการเกษตร สหกรณ์ และสุขภาพ
    3. โรงเรียนมีโครงการเกษตร(พืช สัตว์)แบบปลอดสารอย่างเพียงและยั่งยืน
    4. ผู้ปกครองนักเรียน ชุมชนมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรม
    5. โรงเรียนเป็นแหล่งแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ศึกษาดูงาน ศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ประชุมชี้แจงนโยบายแผนงาน บุคลากร ผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงาน

    วันที่ 4 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. คณะครูบุคลากร ผู้ปกครองนักเรียน จำนวน 80 คน ลงทะเบียนเข้าประชุม
    2. พิธีเปิดการประชุมโดผอ.โรงเรียนบ้านหนองหญ้าปล้อง
    3. ประชุมตามวาระการประชุม การชี้แจงนโยบายโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส แนวปฏิบัติในการขับเคลื่อนโครงการตาม 8 องค์ประกอบ ร่วมอภิปรายแสดงความคิดเห็น ร่วมกำหนดแนวทางดำเนินงาน
    4. เลิกประชุม เวลา 16.30 น.

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้เข้าประชุมร่วมรับทราบนโยบาย ทุกคนให้ความร่วมมือในการแสดงความคิดเห็น ได้รับความรู้ ความเข้าใจ พร้อมให้การสนับสนุนในการขับเคลื่อนทุกองค์ประกอบ   

     

    80 80

    2. ค่ายสุขภาพ( ความรู้ พฤติกรรม สุขนิสัย วิถีสุขภาพ)

    วันที่ 11 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดกิจกรรมค่ายสุขภาพ  นักเรียน ผู้ปกครองนักเรียน ชุมชนเข้าร่วมกิจกรรม จัดกิจกรรมเริ่มจากฐานความรู้ด้านสุขภาพอนามัย พฤติกรรม สุขนิสัย และการสร้างวิถีสุขภาพ โดยการให้ความรู้ของคณะวิทยากรจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล(รพสต.)  หลังจากการรับความรู้ด้านสุขภาพ เป็นการแบ่งกลุ่มและให้ออกแบบการส่งเสริม การดูแลสุขภาพ การพัฒนาสุขภาพที่สอดคล้องกับกิจกรรมโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส เพื่อให้เกิดความหลากหลาย ให้แต่ละกลุ่มนำเสนอผลงาน  ร่วมสรุป และกำหนดแนวทางดำเนินการเพื่อสุขภาพของนักเรียน ชุมชนตามแนวทางโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียน ผู้ปกครองนักเรียน ชุมชนกลุ่มเป้าหมายให้ความร่วมมือในการร่วมกิจกรรม  สามารถดำเนินการตามกิจกรรมที่กำหนด  นักเรียน ผู้ปกครองนักเรียน ชุมชนกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ด้านสุขภาพอนามัย และมีผลลงานกลุ่มในการกำหนดแนวดำเนินการเพื่อพัฒนาสุขภาพอนามัย สู่วิถีสุขภาพได้ ได้รับความร่วมมือจากผู้เข้าร่วมกิจกรรมเป็นไปตามวัตถุประสงค์

     

    150 150

    3. การอบรมเกษตรปลอดสารตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

    วันที่ 7 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดกิจกรรมอบรมเกษตรปลอดสารตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง  เริ่มพิธีเปิดการอบรมและวิทยากรโดยผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหนองหญ้าปล้อง  กิจกรรมให้ความรู้ความเข้าใจและการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติตนเอง การทำงาน การนำเนินชีวิตในสังคม  การให้ความรู้ด้านการเกษตรแบบปลอดสารเคมีโดยใช้ระบบชีวภาพทั้งระบบ แบ่งเป็นการประมง การเลี้ยงสัตว์ การปลูกพืชผักสวนครัว การปฏิบัติ การขายจุลินทรีย์EM  การทำปุ๋ยหมักในบ่อปลา การตอนและชำกิ่งมะนาว การทำปุ๋ยหมัก น้ำส้มควันไม้ การเลี้ยงหมูหลุม การเลี้ยงไก่ไข่ การเลี้ยงเป็ดเนื้อ การปลูกสวนครัวและปลูกผักแบบกางมุ้ง ระบบน้ำพลังงานทดแทน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้เข้าอบรมให้ความสนใจในการเข้าร่วมรับการอบรม ได้รับความรู้และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรปลอดสารพิษ ผู้เข้าอบรมได้ร่วมลงมือปฏิบัติจริงในกิจกรรมด้านการเกษตร สามารถปฏิบัติได้ตามกิจกรรมที่กำหนดและเสนอแนวทางเพื่อการนำไปประยุกต์ใช้ในครอบครัว ชุมชนได้ ผู้ปกครองนักเรียน ชุมชนพร้อมให้ความร่วมมือช่วยเหลือโรงเรียนในการขับเคลื่อนเพื่อให้โรงเรียนสามารถพัฒนาได้อย่างยั่งยืน สู่การพึ่งพาตนเองได้

     

    80 80

    4. ตรวจโครงการฯ รายงานความก้าวหน้าและรายงานการเงิน งวด1

    วันที่ 25 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.เข้าร่วมประชุมศูนย์โรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส ภาคอีสานรุ่นที่ 2 2.จัดทำรายงานการเงินงวดที่ 1

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้เอกสารรายงานการเงินงวดที่1 ที่ถูกต้องตามระเบียบการเงิน สสส.

     

    10 4

    5. ผักปลอดสารพิษเพื่ออาหารกลางวันและการเรียนรู้

    วันที่ 28 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. สำรวจข้อมูลด้านพันธุ์ผักวัสดุอุปกรณ์
    2. วางแผนการการทำงาน
    3. ดำเนินการตามแผน (ซื้อพันธุ์ผัก วัสดุอุปกรณ์ ในการสร้างแปลงปลูก)

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ได้แปลงปลูกแบบถาวร  เมล็ดพันธุ์ผัก
    2. นักเรียนได้เรียนรู้การปลูกผักปลอดสาร
    3. นักเรียนได้ความรู้เรื่องประโยชน์จากการบริโภคผักที่ปลอดสารพิษ
    4. นำผลผลิตที่ได้ไปใช้ในโครงการอาหารกลางวัน
    5. เป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับนักเรียน  ผู้ปกครอง  ชุมชน  และผู้ที่สนใจ
    6. ใช้สารจุลินทรีย์ชีวภาพในการกำจัดแมลง  ศัตรูพืช

     

    130 0

    6. ฝาก-ถอนเงินเปิดบัญชีธนาคาร

    วันที่ 31 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ถอนเงินเปิดบัญชีธนาคาร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ถอนเงินเปิดบัญชีธนาคาร

     

    1 0

    7. การเลี้ยงเป็ดเนื้อเพื่ออาหารกลางวันและการเรียนรู้

    วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. สำรวจข้อมูลด้านพันธุ์เป็ด อาหารที่ใช้ในการเลี่ยงเป็ด
    2. วางแผนการการทำงาน
    3. ดำเนินการตามแผน (ซื้อพันธุ์เป็ด อาหารเป็ด)

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. แม่พันธ์ุเป็ดจำนวน  20  ตัว
    2. อาหารเป็ดจำนวน  18    กระสอบ
    3. นักเรียนได้เรียนรู้และปฏิบัติจริงในการเลี้ยงเป็ด
    4. เป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับนักเรียน  ผู้ปกครอง  ชุมชน  และผู้ที่สนใจ

     

    130 0

    8. การเลี้ยงปลาเพื่ออาหารกลางวันและการเรียนรู้

    วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. สำรวจพันธุ์ปลาที่เหมาะสำหรับนำมาเลี้ยงเป็นอาหารกลางวันสำหรับนักเรียน  และแหล่งจำหน่ายพันธุ์ปลา
    2. วางแผนการการทำงาน
    3. ดำเนินการตามแผน  (ซื้อพันธุ์ปลา  อาหารปลา)
    4. นักเรียนได้เรียนรู้การเลี้ยงปลา  การให้อาหารปลา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. พันธุ์ปลา  6,000  ตัว
    2. อาหารปลาเล็ก  19  กระสอบ
    3. นักเรียนได้เรียนรู้การเลี้ยงปลา  นักเรียนเกิดอุปนิสัยความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 4.  เป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับนักเรียน  ผู้ปกครอง  ชุมชน  และผู้ที่สนใจ

     

    130 0

    9. พัฒนาบุคลากรตามมาตรฐานโรงเรียนเด็กไทย แก้มใส(กิจกรรมสหกรณ์นักเรียน)

    วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ศึกษาสภาพปัญหา เรื่อง  การจัดกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน
    2. เสนอโครงการอบรมพัฒนาบุคลากรตามมาตรฐานโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส  (กิจกรรมสหกรณ์นักเรียน)
    3. เชิญวิทยากร  จากโรงเรียนที่ประสบผลสำเร็จในการจัดกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนมาเป็นวิทยากร
    4. นำผลการอบรมมาพัฒนาการจัดกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนตามโครงการเด็กไทยแก้มใส
    5. เผยแพร่กิจกรรมสหกรณ์นักเรียนแก่ผู้มาศึกษาดูงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดอบรมพัฒนาบุคลากรด้านกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน  จำนวน  30  คน  บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจ  เกิดทักษะในการจัดกิจกรรม    ทำให้กิจกรรมสหกรณ์นักเรียนสนับสนุนกระบวนการในกิจกรรมเด็กไทยแก้มใส  8    องค์ประกอบ

     

    30 0

    10. นิเทศ ติดตาม ประเมินผล และนำเสนอผลงานแต่ละกิจกรรมทั้ง 8 องค์ประกอบ

    วันที่ 21 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ตรวจสอบการดำเนินกิจกรรมโครงการ สรุป นำเสนอ ผลงาน รายงายผลงานแต่ละกิจกรรมทั้ง 8 องค์ประกอบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สามารถติดตามกำกับให้การดำเนินกิจกรรมโครงการเป็นไปตามแผน และได้รูปเล่มรายงาน และการเผยแพร่ผลงานสู่โรงเรียนเครือข่ายและชุมชน

     

    152 122

    11. ถอนเงินดอกเบี้ยเพื่อปิดโครงการ

    วันที่ 24 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ถอนเงินดอกเบี้ยเพื่อปิดโครงการ

     

    0 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้นักเรียน มีภาวะโภชนาการสมวัย สมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์มาตรฐาน(ต่ำกว่าเกณฑ์ไม่เกินร้อยละ 7)
    ตัวชี้วัด : 1. โรงเรียนจัดอาหารกลางวันตามหลัก TSL โดยมีเมนูหมุนเวียนอย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง 2. โรงเรียนจัดบริการอาหารเช้าให้เด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ จำนวน 30 คน

     

    2 เพื่อให้โรงเรียนมีผลผลิตด้านการเกษตรสนับสนุนโรงเรียนอาหารกลางวันไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 อย่างยั่งยืน
    ตัวชี้วัด : มีผลผลิตด้านการเกษตร ด้านผักปลอดสารพิษการเลี้ยงสัตว์ การประมง สนับสนุนอาหารกลางวันได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ70

     

    3 เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้และมีสุขนิสัยที่ดีด้านสุขภาพอนามัย เกษตร และกิจกรรมสหกรณ์
    ตัวชี้วัด : นักเรียนทุกระดับชั้นได้เรียนรู้เรื่องการเกษตร สุขภาพอนามัยสหกรณ์ และมีสุขนิสัยที่ดีในด้านสุขภาพ

     

    4 เพื่อพัฒนาโรงเรียนเป็นแหล่งแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ศึกษาดูงาน ศูนย็เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส 8 องค์ประกอบ
    ตัวชี้วัด : มีศูนย์เรียนรู้ต้นแบบ ตามแนวทาง 8 องค์ประกอบ ให้นักเรียน ชุมชน หน่วยงาน หรือบุคคลที่มีความสนใจศึกษาดูงาน เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ได้

     

    5 พัฒนาบุคคลากร ครู ผู้ปกครอง และชุมชน ให้เกิดความตระหนักและเกิดส่วนร่วมในกิจกรรมศูนย์เรียนต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้ม
    ตัวชี้วัด : บุคคลากร ครู ผู้ปกครอง และชุมชนร้อยละ 80 เกิดความตระหนักและมีส่วนร่วมในกิจกรรมศูนย์เรียนต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้ม

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียน มีภาวะโภชนาการสมวัย สมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์มาตรฐาน(ต่ำกว่าเกณฑ์ไม่เกินร้อยละ 7) (2) เพื่อให้โรงเรียนมีผลผลิตด้านการเกษตรสนับสนุนโรงเรียนอาหารกลางวันไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 อย่างยั่งยืน (3) เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้และมีสุขนิสัยที่ดีด้านสุขภาพอนามัย เกษตร และกิจกรรมสหกรณ์ (4) เพื่อพัฒนาโรงเรียนเป็นแหล่งแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ศึกษาดูงาน ศูนย็เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส 8 องค์ประกอบ (5) พัฒนาบุคคลากร ครู ผู้ปกครอง และชุมชน ให้เกิดความตระหนักและเกิดส่วนร่วมในกิจกรรมศูนย์เรียนต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้ม

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านหนองหญ้าปล้อง

    รหัสโครงการ ศรร.1311-066 รหัสสัญญา 58-00-2265-อ.20 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

    การพัฒนาระบบน้ำเพื่อการเกษตร การบริโภค อุปโภคด้วยพลังงานทดแทน(โซล่าเซลล์)

    ศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลสภาพปัญหา วางแผน จัดทำระบบน้ำทุกระบบด้วยพลังงานทดแทน

    ขยายกิจกรรมเกษตรเพื่อการใช้ระบบน้ำอย่างคุ้มค่ามีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ขยายผลเครือข่ายระดับสถานศึกษา

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

    พัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์

    สร้างโปรแกรมกิจกรรรมสหกรณ์นักเรียน

    ขยายผล พัฒนาเป็นแหล่งเรียนรู้

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

    การบริการอาหารเช้า

    จัดทำกองทุนข้าว เพื่อการบริการอาหารเช้าสำหรับนักเรียนที่มีปัญหาด้านภาวะโภชนาการ นักเรียนขาดแคลน

    บริการอาหารเช้าให้มีความครอบคลุมเด้กกลุ่มเป้าหมายอย่างยั่งยืน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

    พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ โปรแกรมประเมินภาวะโภชนาการ

    จัดทำระบบข้อมูลสารสนเทศในระบบICT พัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ประเมินภาวะโภชนาการ เชื่อมโยงการเข้าถึงข้อมูลด้วยระบบIntranet

    พัฒนากิจกรรม โครงการ ข้อมูลในระบบICT ทีั้งระบบ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

    วิ่งออกกำลังกายแบบยั่งยืน

    จัดสร้างถนน บริเวณวิ่งออกกำลังกายรอบบริเวณโรงเรียน ให้นักเรียนทุกระดับชั้นวิ่งรอสนามวันละ 3 รอบทุกวัน บันทึกข้อมูลในระบบICT

    พัฒนาเพื่อการบริการสู่ชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

    การแบ่งเขตสีดูแลสภาพแวดล้อม

    แบ่งเขตสีดูแลรับผิดชอบครอบคลุมพื้นที่โรงเรียนนักเรียน ครู เป็นสมาชิกเขตสี ดูแลความสะอาด จัดการขยะ จัดทำปุ๋ยชีวภาพ พัฒนาสิ่งแวดล้อม

    พัฒนาสิ่งแวดล้อมให้เป็นปัจจุบัน เป็นต้นแบบเป็นแหล่งศึกษาดูงาน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    โรงเรียนบ้านหนองหญ้าปล้อง จังหวัด บุรีรัมย์

    รหัสโครงการ ศรร.1311-066

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายทรงศักดิ์ สิรัมย์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด