แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 1

ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านวังยาววิทยายน

ชุมชน หมู่ 1 ตำบลวังยาวอำเภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคาม 44140

รหัสโครงการ ศรร.1313-052 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-อ.6

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560

รายงานงวดที่ : 1 จากเดือน พฤษภาคม 2559 ถึงเดือน กันยายน 2559

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดตั้งชมรมของนักเรียน ได้แก่ ชมรมกีฬานันทนาการ ชมรม To be number one ชมรมเพื่อนใจวัยรุ่น ชมรมดนตรี นาฏศิลป์ ชมรมสุขาน่าใช้ อย.น้อย

วันที่ 23 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

ครูและบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน ผู้ปกครอง แกนนำชุมชน  แม่ครัว ได้รับการอบรมพัฒนาศักยภาพอย่างน้อย 2 ครั้ง

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลผลิต 1. นักเรียนจำนวน 323 คน สมัครใจเข้าร่วมกิจกรรมชมรมที่จัดขึ้น ได้แก่ ชมรมกีฬานันทนาการ ชมรม To be number one ชมรมเพื่อนใจวัยรุ่น ชมรมดนตรี นาฏศิลป์ ชมรมสุขาน่าใช้ อย.น้อย และกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน 15 กิจกรรม เช่น กลุ่มที่ 1 หนังสือเล่มเล็ก  กลุ่มที่ 2 เล่านิทาน  กลุ่มที่ 3 สืบค้นข้อมูล  กลุ่มที่ 4 สรภัญญะสู่การอ่าน  กลุ่มที่ 5 ผญาอีสานสืบสานรักการอ่าน  กลุ่มที่ 6 ปั้นดินให้เป็นดาว  กลุ่มที่ 7  วรรณกรรมท้ายรถ  กลุ่มที่ 8 บทกลอนที่หนูรัก  กลุ่มที่ 9 ถอดบทเรียนพอเพียง  กลุ่มที่ 10 อาชีพดีที่หนูรัก  กลุ่มที่ 11 คณิตคิดสนุก  กลุ่มที่ 12 วางทุกงานอ่านทุกคน  กลุ่มที่ 13  สุขบัญญัติสู่นิสัยการอ่าน  กลุ่มที่ 14 ขับขานประสานเสียง  กลุ่มที่ 15 อ่านตามรอยพ่อ

ผลลัพธ์ 1. นักเรียนมีส่วนร่วมในการร่วมกิจกรรมชมรมของโรงเรียน นำไปสู่การมีพติกรรมที่เหมาะสมตามช่วงวัย 2. นักเรียนมีความรู้ ทักษะในแต่ละชมรม เช่น ดนตรีนาฏศิลป์ และทักษะการอ่าน 3. นักเรียนมีความสามัคคี กล้าแสดงออก ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์กับตนเองและผู้อื่น

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

จัดตั้งชมรมของนักเรียน ได้แก่ ชมรมกีฬานันทนาการ ชมรม To be number one ชมรมเพื่อนใจวัยรุ่น ชมรมดนตรี นาฏศิลป์ ชมรมสุขาน่าใช้ อย.น้อย

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. วันที่ 20 พฤษภาคม 2559 ประชุมคณะครูวางแผนชี้แจง และมอบหมายหน้าที่จัดตั้งชมรมของนักเรียน

  2. วันที่ 23 พฤษภาคม 2559 ประชุมจัดตั้งชมรมของนักเรียนโดยผู้อำนวยการโรงเรียนกล่าวเปิดประชุมและชี้แจงวัตถุประสงค์ในการจัดตั้งชมรมของนักเรียน เพื่อให้เด็กเกิดแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในแต่ละชมรม ชมรมกีฬานันทนาการ ชมรม To be number one ชมรมเพื่อนใจวัยรุ่น ชมรมดนตรี นาฏศิลป์ ชมรมสุขาน่าใช้ อย.น้อย และกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน 15 กิจกรรม เช่น กลุ่มที่ 1 หนังสือเล่มเล็ก  กลุ่มที่ 2 เล่านิทาน  กลุ่มที่ 3 สืบค้นข้อมูล  กลุ่มที่ 4 สรภัญญะสู่การอ่าน  กลุ่มที่ 5 ผญาอีสานสืบสานรักการอ่าน  กลุ่มที่ 6 ปั้นดินให้เป็นดาว  กลุ่มที่ 7  วรรณกรรมท้ายรถ  กลุ่มที่ 8 บทกลอนที่หนูรัก  กลุ่มที่ 9 ถอดบทเรียนพอเพียง  กลุ่มที่ 10 อาชีพดีที่หนูรัก  กลุ่มที่ 11 คณิตคิดสนุก  กลุ่มที่ 12 วางทุกงานอ่านทุกคน  กลุ่มที่ 13  สุขบัญญัติสู่นิสัยการอ่าน  กลุ่มที่ 14 ขับขานประสานเสียง  กลุ่มที่ 15 อ่านตามรอยพ่อ

  3. รับสมัครนักเรียนแกนนำ และนักเรียนที่มีความสนใจกิจกรรมของชมรมต่างๆที่จัดขึ้นในลักษณะพี่สอนน้อง

  4. มีนักเรียนที่มีความสนใจเข้าร่วมกิจกรรมของชมรม จำนวน 323 คน

 

717 567

2. การทำน้ำดื่มสมุนไพร

วันที่ 1 มิถุนายน 2559 เวลา 14:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

  • มีการจัดกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ที่ส่งเสริมสุขภาพได้แก่ น้ำดื่มสมุนไพร ทำพรมเช็ดเท้า น้ำยาล้างจาน แปรรูอาหาร
  • มีการจัดกิจกรรมถอดบทเรียนด้านสุขภาพตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลผลิต นักเรียนจำนวน 323 คน ได้ดื่มน้ำสมุนไพรสัปดาห์ละ 2 วัน และสามารถนำสูตรกลับไปทำดื่มเองที่บ้านได้

ผลลัพธ์ 1. นักเรียนทุกคนได้ดื่มน้ำสมุนไพร และพึงพอใจที่ได้ดื่มอยู่ในระดับ ดี 2. นักเรียนได้รับความรู้ และสามารถทำน้ำสมุนไพรดื่มเองที่บ้านได้

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

ฝึกปฏิบัติการทำน้ำดื่มสมุนไพร 

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. สำรวจข้อมูลเกี่ยวกับสมุนไพรที่มีในท้องถิ่น คุณค่าประโยชน์และความนิยมในการชื่นชอบสมุนไพรของนักเรียนและชุมชน
  2. จัดทำโครงงานเสนอต่อที่ประชุม
  3. ทำน้ำดื่มสมุนไพร เพื่อเป็นอาหารว่างตอน 10.30 น. ให้กับนักเรียนทุกคนในโรงเรียนได้ดื่มโดยใช้สูตรหวานน้อย น้ำตาลไม่เกิน 5% ทุกวันพุธ และพฤหัสบดี ทุกสัปดาห์
  4. 15 ก.ค. 59 ทำแบบสรุปสำรวจความพึงพอใจของนักเรียนทุกคน
  5. ขยายผลถ่ายทอดความรู้วิธีทำน้ำดื่มสมุนไพร โดยการแจกแผ่นพับสูตรน้ำดื่มสมุนไพรให้กับนักเรียนและชุมชน

 

404 391

3. ปลูกข้าวอินทรีย์

วันที่ 15 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

นักเรียน ครู ผู้ปกครอง ชุมชน  ได้เรียนรู้ และฝึกปฏิบัติการเกษตร การสหกรณ์ การจัดการอาหารที่ดี

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลลิต นักเรียน จำนวน 56 คน ได้ทำนาข้าว

ผลลัพธ์ 1. นักเรียนรู้และเข้าใจหลักการทำนาข้าว 2. นักเรียนรู้และเข้าใจการเพิ่มมูลค่าของข้าวให้มีประโยชน์ และมีคุณค่าขึ้นจากแบบที่ชุมชนผลิตเอง และไม่ใช่สารเคมี ปุ๋ยเคมี

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

เสริมสร้างศักยภาพโครงการเด็กไทยแก้มใสต่อยอด 8 กิจกรรมให้เข้มแข็ง การปลูกข้าวอินทรีย์

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. สำรวจศึกษาพันธ์ุข้าวที่เหมาะสมกับการปลูกในท้องถิ่น
  2. ประชุมวางแผนการทำนาตามขั้นตอน
  3. ไถกลบรอบที่ 1 เพื่อตากดิน 7 วัน ให้หญ้าและวัชพืชตาย
  4. ไถกลบรอบที่ 2 เสร็จแล้วหว่านเมล็ดพันธุ์ข้าว
  5. ติดตามดูแล สัปดาห์ละ 1 ครั้ง ใส่ปุ๋ย
  6. เก็บเกี่ยวและทำการตำข้าว เพื่อทำเป็นข้าวซ้อมมือและแบ่งบางส่วนไปสีเป็นข้าวกล้อง และนำจำหน่ายที่ร้านสหกรณ์โรงเรียน

 

112 87

4. ปลูกผักปลอดสารพิษ

วันที่ 20 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

นักเรียน ครู ผู้ปกครอง ชุมชน  ได้เรียนรู้ และฝึกปฏิบัติการเกษตร การสหกรณ์ การจัดการอาหารที่ดี

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลผลิต นักเรียน จำนวน 323 คน ได้ปลูกผักปลอดสารพิษไว้รับประทานเอง และนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเผยแพร่สู่ชุมชน

ผลลัพธ์ 1. นักเรียนได้รับความรู้เกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษ 2. พัฒนาทักษะการทำงานเป็นกลุ่ม
3. ฝึกการทำงานทักษะทางอาชีพอยู่อย่างพอเพียง 4. ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม (เสียสละ อดทน มุ่งมั่นในการทำงาน)

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

เสริมสร้างศักยภาพโครงการเด็กไทยแก้มใสต่อยอด 8 กิจกรรมให้เข้มแข็ง การปลูกผักปลอดสารพิษ 

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. สำรวจพันธุ์ผักที่มีในท้องถิ่น และความต้องการบริโภคผักของนักเรียน
  2. ประชุมวางแผนกำหนดตามขั้นตอน
  3. เตรียมดิน พรวนดินโรยปูนขาว ตากดิน 3 วัน
  4. หว่านเมล็ดพันธุ์ผัก
  5. ดูแลรักษา รดน้ำ พรวนดิน ใส่ปุ๋ย กำจัดวัชพืช
  6. เก็บผลผลิตที่ได้จำหน่ายให้กับสหกรณ์โรงเรียน และผู้ปกครองในชุมชน

 

519 506

5. การเลี้ยงเป็ด

วันที่ 8 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

นักเรียน ครู ผู้ปกครอง ชุมชน  ได้เรียนรู้ และฝึกปฏิบัติการเกษตร การสหกรณ์ การจัดการอาหารที่ดี

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลผลิต นักเรียน จำนวน 56 คน ได้ฝึกการเลี้ยงเป็ด และหลักการใช้ชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

ผลลัพธ์ 1. นักเรียนได้รับความรู้เกี่ยวกับการเลี้ยงเป็ด 2. ฝึกการทำงานทักษะทางอาชีพอยู่อย่างพอเพียง  และทักษะการทำงานเป็นกลุ่ม 3. เป็นการกำจัดขยะเศษอาหารจากโรงอาหารได้อย่างถูกต้องตามวิธีการ Re Use
4. มีปุ๋ยมูลเป็ดไว้ใส่ดอกไม้ประดับอย่างเพียงพอ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

การเลี้ยงเป็ด

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. ประชุมวางแผนโครงการต่อเนื่อง และดำเนินการตามแผน
  2. ซื้ออาหารเป็ด และรำข้าว เพื่อนำมาผสมกับเศษอาหารจากโรงอาหารเพื่อเป็นอาหารเป็ด วันละ 1 มื้อ
  3. เก็บไข่เป็ดทุกวันจำหน่ายกับสหกรณ์โรงเรียนเพื่อโรงอาหารซื้อไปประกอบอาหารกลางวัน และขายให้กับผู้ปกครองได้บริโภคไข่เป็ด สด ใหม่ทุกวัน
  4. มูลเป็ดนำมาตากแดดเพื่อทำเป็นปุ๋ยใส่ผัก และต้นไม้ ไม้ดอกไม้ประดับในบริเวณโรงเรียน

 

72 72

6. ทักษะอาชีพ การทำขนมอบ

วันที่ 18 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

นักเรียน ครู ผู้ปกครอง ชุมชน  ได้เรียนรู้ และฝึกปฏิบัติการเกษตร การสหกรณ์ การจัดการอาหารที่ดี

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลผลิต นักเรียนจำนวน 95 บาท ได้ฝึกปฏิบัติการทำขนมอบ

ผลลัพธ์ 1. นักเรียนได้รับความรู้ และฝึกปฏิบัติการทำขนมอบ 2. พัฒนาทักษะด้านกระบวนการคิด และการทำงานเป็นกลุ่ม 3. ฝึกการทำงานทักษะทางอาชีพ 4. ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม (สามัคคี เสียสละ อดทน มุ่งมั่นในการทำงาน)

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

ทักษะอาชีพ การทำขนมอบ

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. จัดทำโครงงานเสนอต่อที่ประชุม
  2. จัดทำและดำเนินงานตามแผนที่วางไว้
  3. ศึกษาขั้นตอน และวิธีการทำขนมให้เข้าใจ และปฏิบัติตามขั้นตอน
  4. นำขนมที่ได้จำหน่ายร้านสหกรณ์โรงเรียน และจัดทำเป็นอาหารว่างให้กับนักเรียนสัปดาห์ละ 1 วัน
  5. สำรวจสอบถามความพึงพอใจ

 

104 102

7. ทำพรมเช็ดเท้า

วันที่ 9 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

  • มีการจัดกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ที่ส่งเสริมสุขภาพได้แก่ น้ำดื่มสมุนไพร ทำพรมเช็ดเท้า น้ำยาล้างจาน แปรรูอาหาร
  • มีการจัดกิจกรรมถอดบทเรียนด้านสุขภาพตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลผลิต นักเรียนจำนวน 56 คน รู้เข้าใจและสามารถทอพรมเช็ดเท้าได้ และมีจิตสาธารณะนำพรมเช็ดเท้าที่ทำได้บริการห้องเรียน และสถานที่ต่างๆ ในชุมชนได้

ผลลัพธ์ 1. นักเรียนได้ความรู้ เข้าใจและสามารถทอพรมเช็ดเท้าได้ 2. นักเรียนสามารถทำงานเป็นกลุ่ม มีทักษะกระบวนการคิด ทักษะการทำงานเป็นกลุ่มเกิดความสามัคคี 3. ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม และฝึกเป็นผู้มีจิตศาสธารณะ เพื่อจะอยู่ร่วมกับสังคมได้อย่างมีความสุข

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

เรียนรู้วิถีไทยตามรอยพระยุคลบาท การทำพรมเช็ดเท้า

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. จัดทำโครงงานอาชีพเสนอต่อที่ประชุม
  2. จัดทำและดำเนินงานตามแผนที่วางไว้ และให้เชิญวิทยากรในท้องถิ่นมาให้ความรู้ และสอนวิธีการทอพรมเช็ดเท้า
  3. ทำการทอพรมในชั่วโมง "ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้"
  4. นำผลงานที่ได้มอบให้ห้องเรียน และห้องต่างๆ ทุกห้องในโรงเรียนได้มีพรมเช็ดเท้าใช้
  5. นำพรมเช็ดเท้าไปถวายให้วัด อบต. และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังยาวได้มีพรมเช็ดเท้าใช้ และจัดจำหน่ายในราคาผืนละ 20 บาท

 

95 86

8. โครงการอบรมพัฒนาบุคลากรครู นักเรียน แกนนำชุมชน แม่ครัว

วันที่ 25 สิงหาคม 2559 เวลา 08:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

ครูและบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน ผู้ปกครอง แกนนำชุมชน  แม่ครัว ได้รับการอบรมพัฒนาศักยภาพอย่างน้อย 2 ครั้ง

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลผลิต ครูและบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน ผู้ปกครอง แกนนำชุมชน แม่ครัว ได้รับการอบรมพัฒนาศักยภาพอย่างน้อย 2 ครั้ง ผลลัพธ์ ครูและบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน ผู้ปกครอง แกนนำชุมชน แม่ครัวมีศักยภาพในการดำเนินการอย่างเต็มศักยภาพ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  • อบรมพัฒนาบุคลากรครู นักเรียน แกนนำชุมชน แม่ครัว แนะนำโครงการ
  • ตั้งชมรมนักเรียนขับเคลื่อน ได้แก่ชมรมเพื่อนใจวัยรุ่น ชมรม To be number one ชมรมกีฬานันทนาการ ชมรมดนตรีนาฏศิลป์ ชมรมสุขาน่าใช้ ชมรม อย.น้อย

กิจกรรมที่ทำจริง

ค่าอาหาร - อบรมพัฒนาบุคลากร ครู นักเรียน ผู้ปกครอง แกนนำชุมชน แม่ครัว แนะนำโครงการ   อาหารว่าง 1 มื้อ สำหรับนักเรียน ครู ผู้ปกครอง แกนนำชุมชน แม่ครัว รวม 240 คน คนละ 25 บาท  รวมเป็นเงิน 6,000 บาท

 

240 739

9. การทำเครื่องนวดเพื่อสุขภาพจากลูกกอล์ฟ

วันที่ 9 กันยายน 2559 เวลา 14:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

  • มีการจัดกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ที่ส่งเสริมสุขภาพได้แก่ น้ำดื่มสมุนไพร ทำพรมเช็ดเท้า น้ำยาล้างจาน แปรรูอาหาร
  • มีการจัดกิจกรรมถอดบทเรียนด้านสุขภาพตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลผลิต นักเรียน จำนวน 56 คน ได้ฝึกปฏิบัติการสุขภาพอนามัยตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจัดทำเครื่องนวดเพื่อสุขภาพจากลูกกอล์ฟเผยแพร่สู่ชุมชน

ผลลัพธ์ 1. นักเรียนได้รับความรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาไทยในด้านการนวดเพื่อสุขภาพ 2. พัฒนาทักษะด้านกระบวนการคิด และการทำงานเป็นกลุ่ม 3. ฝึกการทำงานทักษะทางอาชีพทรัพย์สินทางปัญญาอยู่อย่างพอเพียง 4. ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม (มีวินัยซื่อสัตย์สุจริตเสียสละอดทนมุ่งมั่นในการทำงานกตัญญู)

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

ฝึกปฏิบัติการสุขภาพอนามัยตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจัดทำเครื่องนวดเพื่อสุขภาพจากลูกกอล์ฟ  เผยแพร่สู่ชุมชน 

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. สำรวจข้อมูลเกี่ยวกับสุขภาพ และความต้องการของผู้ปกครอง
  2. จัดทำโครงงานเสนอต่อที่ประชุมโรงเรียนเพื่อจัดเข้าในกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้โดยให้นักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 -3มีส่วนร่วมในการเลือกกิจกรรมที่ตนสนใจ
  3. ขั้นศึกษาเรียนรู้ตามฐานการประดิษฐ์ไม้นวดเพื่อสุขภาพ ขั้นตอนและวิธีการทำ
  4. ขั้นการอบรมด้านความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการนวดเพื่อสุขภาพ เชิญวิทยากรและผู้มีความรู้เรื่องการนวดมาอบรมให้ความรู้แก่นักเรียน
  5. ขั้นดำเนินการออกพื้นที่ การออกพื้นที่ให้บริการแก่ชุมชนโดยใช้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพเป็นสถานที่ในการฝึกประสบการณ์ด้านการนวด
  6. ขยายผล การถ่ายทอดให้ความรู้กับนักเรียนกลุ่มสนใจในระดับชั้นอื่นๆ

 

443 123

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม 21 9                  
การใช้จ่ายงบประมาณ 120,000.00 42,000.00                  
คุณภาพกิจกรรม 36 31                  

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน

 

 

 

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

  1. จัดทำรายงานปิดโครงการ งวด1 ( 20 ต.ค. 2559 )
  2. เลี้ยงไก่ไข่ ( 1 พ.ย. 2559 - 31 มี.ค. 2560 )
  3. แปรรูปอาหารท้องถิ่น การทำมะขามแก้ว ( 1 พ.ย. 2559 - 30 พ.ย. 2559 )
  4. ประสานชุมชนนำผลผลิตเกษตรอินทรีย์(ข้าว ผัก ผลไม้) สู่อาหารกลางวันโรงเรียน ( 1 พ.ย. 2559 - 31 มี.ค. 2560 )
  5. เลี้ยงปลาดุก ( 1 พ.ย. 2559 - 31 มี.ค. 2560 )
  6. จัดบริการอาหารกลางวันตามหลักโภชนาการ ( 1 พ.ย. 2559 - 31 มี.ค. 2560 )
  7. การจัดการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม กิจกรรม วังยาวรวมพลังช่วยกันแยก ช่วยลด หมดปัญหาขยะ” ( 7 พ.ย. 2559 - 30 พ.ย. 2559 )
  8. การจัดทำบัญชีนักเรียน ระบบสหกรณ์ ธนาคารโรงเรียน ( 21 พ.ย. 2559 - 25 พ.ย. 2559 )
  9. การทำน้ำยาล้างจานสูตรสมุนไพร ( 12 ธ.ค. 2559 - 16 ธ.ค. 2559 )
  10. จัดนิทรรศการแสดงผลงาน ( 1 ก.พ. 2560 - 15 ก.พ. 2560 )

(................................)
นายนิคม ไวบรรเทา
ผู้รับผิดชอบโครงการ