แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

โรงเรียนบ้านยางเครือ


“ โรงเรียนบ้านยางเครือ ”

42 หมู่ที่2 ตำบลกุดเมืองฮาม อำเภอยางชุมน้อย จังหวัดศรีสะเกษ

หัวหน้าโครงการ
นายบุญส่ง พื้นผา

ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านยางเครือ

ที่อยู่ 42 หมู่ที่2 ตำบลกุดเมืองฮาม อำเภอยางชุมน้อย จังหวัดศรีสะเกษ จังหวัด ศรีสะเกษ

รหัสโครงการ ศรร.1311-085 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-อ.39

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โรงเรียนบ้านยางเครือ จังหวัดศรีสะเกษ" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 42 หมู่ที่2 ตำบลกุดเมืองฮาม อำเภอยางชุมน้อย จังหวัดศรีสะเกษ

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านยางเครือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านยางเครือ



บทคัดย่อ

โครงการ " โรงเรียนบ้านยางเครือ " ดำเนินการในพื้นที่ 42 หมู่ที่2 ตำบลกุดเมืองฮาม อำเภอยางชุมน้อย จังหวัดศรีสะเกษ รหัสโครงการ ศรร.1311-085 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 80,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านยางเครือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 131 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียน บ้านยางเครือ จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อพัฒนาและแก้ปัญหาสุขภาวะ และโภชนาการของนักเรียน
  2. 2 เพื่อสร้างการเรียนรู้ และพัฒนาทักษะนักเรียน
  3. 3.เพื่อสร้างความตระหนักให้แก่ครู บุคลากรในโรงเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน และเครือข่ายให้มีส่วนร่วมในการพัฒนาโรงเรียนตามแนวทางโครงการเด็กไทยแก้มใส ถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ
  4. 4.เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ในการดูแลตัวเองให้เป็นผู้ที่มีสุขนิสัยและสุขภาวะที่ดี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. โรงเรียนได้รับทุนสนับสนุนจาก สสส. ในการดำเนินงานตามโครงการเด็กไทยแก้มใส
    2. บุคลากรในโรงเรียนได้รับการอบรมพัฒนาทักษะด้านการจัดการอาหารและโภชนาการแบบครบวงจร ตามแนวพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
    3. ชุดความรู้ สื่อ นวัตกรรม
    4. โรงเรียนได้รับการส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาเป็นแหล่งเรียนรู้ต้นแบบ

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. เพาะต้นอ่อนทานตะวัน/เพาะถั่วงอก

    วันที่ 16 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ขั้นตอนการเพาะถั่วงอก
    วัสดุอุปกรณ์ในการเพาะ 1. เมล็ดถั่วเขียวคุณภาพดี 2. ถังพลาสติกเจาะรูระบายน้ำ ตะกร้าพลาสติก 3. กระสอบป่านตัดเป็นวงกลม 4. ตะแกงพลาสติกตัดเป็นวงกลม 5. ตะกร้าพลาสติก
    6. น้ำสะอาด ึ7. ถังน้ำ วิธีการเพาะ 1. วันที่ 16 พ.ค. ใช้เมล็ดถั่วเขียวประมาณ 3 กก. แช่ในน้ำอุ่นอุณหภูมิประมาณ 55 - 60 องศาเซลเซียส ประมาณ½ - 1 ชั่วโมง แล้วล้างเมล็ดถั่ว- เขียวให้สะอาด โดยล้างเอาสิ่งเจือปนต่างๆ และเมล็ดที่พองตัวออกเพราะจะ เป็นเมล็ดอ่อน เมล็ดที่ถูกแมลงทำลายและเมล็ดที่เสื่อมคุณภาพ ซึ่งเป็น สาเหตุให้ถั่วงอกเน่าเสียหายได้ หลังจากนั้นแช่น้ำต่อไปอีก 8-10 ชั่วโมง หรือ 1 คืน 2. วันที่ 17 พ.ค. 2559 ล้างเมล็ดที่แช่น้ำแล้ว นำขึ้นมาผึ่งในตะแกรงสักครู่เมล็ดจะพองตัวขึ้น นำกระสอบป่านที่ตัดแล้วใส่ลงในถังแล้ววางตะแกรงพลาสติกเสร็จแล้วนำเมล็ดถั่วเขียวไปโรยให้ทั่วทำให้ครบสี่ชั้น รดน้ำให้ชุ่มทุก 2-3 ชั่วโมง 3.นำไปวางไว้ในร่มและเย็น 4. เมื่อเพาะถึงวันที่ 3 คือวันที่ 19 พ.ค. 2559ถั่วงอกโตพอสมควร นำมาล้างเอา เปลือกถั่วเขียวออก จะได้ถั่วงอกสำหรับประกอบอาหารกลางวัน ที่เหลือจากการประกอบอาหารกลางวัน นำไปขาย
    ให้กับร้านค้าในชุมชน ขั้นตอนการเพาะทานตะวันงอก วัสดุและอุปกรณ์ ในการเพาะ 1. เมล็ดทานตะวัน 2. ดินสำหรับการปลูก 3. ตะกร้าพลาสติก 4.น้ำเปล่า 5. ผ้าขนหนูผืนเล็ก 6. กะละมัง วิธีการเพาะ

    1.วันที่ 16 พ.ค. 2559 นำเมล็ดทานตะวันมาล้างน้ำสะอาดโดยล้างเอาเศษผงออกสองรอบโดยการใช้มือช้อนเมล็ดออกจากวัสดุใส่ไปอีกวัสดุหนึ่ง เมื่อล้างครบสองน้ำแล้ว ให้แช่เมล็ดทานตะวันไว้ 8 ชั่วโมง 2. หลังจากแช่เมล็ดทานตะวันครบ 8 ชั่วโมง ให้นำเมล็ดขึ้นผึ่งน้ำสักพัก แล้วนำไปบ่มไว้ด้วยการห่อผ้าขาขนหนู ทิ้งไว้ประมาณ 1 คืน หลังจากบ่มครบหนึ่งคืน แล้วจะเริ่มมีรากตุ่มขาวๆ งอกออกมาแล้วนำไปลงดิน 3. นำดินใส่ตะกร้าพลาสติก โดยใส่ดินสูงประมาณ 1 นิ้วครึ่ง 4. นำเมล็ดพันธุ์ที่แช่น้ำไว้ 1 คืน มาโปรยลงไปในถาด หรือตะกร้าเพาะ ให้สม่ำเสมอ อย่าให้เมล็ดซ้อนกัน แล้วรดน้ำให้ชุ่ม 5. นำตะกร้าเพาะไปวางไว้ในที่ร่มรำไร เมื่องอกสูงพอสมควร ควรต้นอ่อนทานตะวันให้ได้รับแสงแดดอ่อนบ้าง 6. รดน้ำให้ชุ่มทุกวัน เช้า-เย็น โดยใช้บัวรดน้ำ 7. วันที่ 23 พ.ค. 2559 หลังจากเพาะ ต้นอ่อนจะมีใบ 2 ใบ ลำต้นสูงประมาณ 3-4 นิ้ว ก็สามารถใช้กรรไกรตัดและนำไปประกอบอาหารกลางวัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ผลผลิต

    1.1.ครูนักเรียน จำนวน............20.........คน. ได้ฝึกปฏิบัติการเพาะถั่วงอก ได้จำนวน.......10......ตะกร้า และต้นอ่อนทานตะวันได้จำนวน.......10......ตะกร้า โดยมีผู้ปกครองเข้ามามีส่วนร่วม จำนวน......2.........คน

    2.ผลลัพธ์

    2.1 นักเรียนและผู้ปกครองได้ร่วมกันเพาะต้นอ่อนทานตะวัน และถั่วงอก เพื่อใช้เป็นเมนูอาหารกลางวันให้กับนักเรียน

    2.2 นักเรียนมีเมนูอาหารกลางวัน ที่ใช้ผักจากที่ทำการเพาะเอง ทำให้เกิดเมนูอาหารที่หลากหลายมีประโยชน์ และมีความปลอดภัย

    2.3 นักเรียนได้เชื่อมโยงกับวิชาเรียน การงานและอาชีพ สามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน สามารถสร้างเป็นอาชีพเสริม สร้างรายได้ ลดรายจ่ายในครัวเรือน

     

    22 22

    2. การประชุม อบรมพัฒนาศักยภาพ ครูผู้ปกครองนักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษา ชี้แจงโครงการ ศรร.เด็กไทยแก้มใส

    วันที่ 29 มิถุนายน 2559

    กิจกรรมที่ทำ

    วันพฤหัสบดีที่29มิถุนายน2559 ช่วงเช้า 08.00น. รับลงทะเบียนแก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 09.00น. ประธานโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส กล่าวชี้แจงวัตถุประสงค์และการดำเนินงาน 10.30น. ชี้แจงกิจกรรมที่ดำเนินการ 11.30น. พักรับประทานอาหารกลางวันและอาหารว่าง ช่วงบ่าย 13.00 น. วิทยากรให้ความรู้เรื่องการจัดบริการอาหาร 14.00น. กล่าวสรุปการจัดกิจกรรมทั้งหมด
    15.00น. เสร็จสิ้นกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ผลลิต
    1.1. ครูนักเรียน จำนวน 59 คน ผู้ปกครอง จำนวน 46 คน 2. ผลลัพธ์ 2.1 ครู คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานผู้ปกครอง ชุมชน นักเรียน เข้าใจการดำเนินงานโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส และให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมเพื่อที่จะให้โรงเรียนเป็นศูนย์การเรียนรู้ของโรงเรียน และชุมชนต่อไปอย่างยั่งยืน 2.2ครู แม่ครัว รู้จักวิธีการประกอบอาหารให้ถูกหลักโภชนาการ และสารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการประกอบอาหารที่ถูกสุขลักษณะแก่นักเรียน

     

    134 105

    3. เพาะเห็ดนางฟ้า

    วันที่ 20 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ขั้นตอนการเพาะเห็ดนางฟ้า 1. นำสำลีออกจากก้อนเชื้อเห็ดนางฟ้า แล้วรดน้ำที่พื้น ประมาณ 3-5 วัน เก็ดจะเริ่มออกดอก 2. เมื่อเห็ดออกดอกรดน้ำทุกวัน เช้าเย็น ให้โดนก้อนเห็ดและดอกเห็ด แต่ระวังอย่าให้น้ำเข้าข้างในก้อนเชื้อเห็ด เพราะจะทำให้เห็ดเน่าได้
    3. เมื่อเห็ดออกดอกโตพอสมควร เก็บมาประกอบอาหารกลางวันสำหรับนักเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ผลผลิต

    1.1.ครูนักเรียน จำนวน............21.........คน. ได้ฝึกปฏิบัติการเพาะเห็ดนางฟ้าโดยมีผู้ปกครองเข้ามามีส่วนร่วม จำนวน.......2........คน

    2.ผลลัพธ์

    2.1 นักเรียนและผู้ปกครองได้ร่วมกันเพาะเห็ดนางฟ้า เพื่อใช้เป็นเมนูอาหารกลางวันให้กับนักเรียน

    2.2 นักเรียนมีเมนูอาหารกลางวัน ที่ใช้เห็ดจากที่ทำการเพาะเอง ทำให้เกิดเมนูอาหารที่หลากหลายมีประโยชน์ และมีความปลอดภัย

    2.3 นักเรียนได้เชื่อมโยงกับวิชาเรียน การงานและอาชีพ สามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน สามารถสร้างเป็นอาชีพเสริม สร้างรายได้ ลดรายจ่ายในครัวเรือน

     

    23 23

    4. อบรม อ.ย.น้อย

    วันที่ 29 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    วันศุกร์ที่ 29 กรกฎาคมพ.ศ. 2559 กิจกรรมอบรม อ.ย. น้อย ซึ่งผู้ประชุม ประกอบไปด้วย ครูและบุคลากรโรงเรียนบ้านยางเครือจำนวน 9 คน นักเรียน 41 คน รวมผู้ร่วมประชุมจำนวน 50 คน ตามกำหนดการ ดังนี้ 08.30 น.        ผู้เข้าร่วมประชุมเริ่มลงทะเบียน 09.00-09.30 น. ประธานในพิธี (นายบุญส่ง  พื้นผา) ทำพิธีเปิดการประชุม 09.30-12.00 น. นายบุตรดี  วงษ์มณี ให้ความรู้ เรื่อง สารปนเปื้อนในอาหาร 11.30-12.30 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.30-15.30 น. นายบุตรดี  วงษ์มณี ให้ความรู้ เรื่อง -โทษของสารต้องห้ามในเครื่องสำอาง ความรู้เรื่องยา
                        โทษและพิษภัยของยาชุด ยาปฏิชีวนะที่จำหน่ายในร้านชำ วัตถุอันตราย ฉลากอาหาร 15.30-16.00 น. สรุปความรู้จากการประชุม 16.00 น.          พิธีปิด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ผลผลิต

    1.1.ครูนักเรียน จำนวน............50.........คน. ได้ร่วมอบรม อ.ย.น้อย

    2.ผลลัพธ์

    2.1 นักเรียน อย.น้อย สามารถดำเนินกิจกรรมอย.น้อย ทั้งในโรงเรียนและในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

    2.2 นักเรียน อย.น้อย มีความรู้ในเรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพ และสามารถเลือกซื้อ เลือกบริโภคได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัยรวมทั้งสามารถเผยแพร่ความรู้ที่ได้รับไปยังเพื่อนนักเรียนและครอบครัว

    2.3 นักเรียน อย.น้อยได้เชื่อมโยงกับวิชาเรียน การงานอาชีพและเทคโนโลยี สามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน

     

    59 50

    5. วิทยากรท้องถิ่น ให้ความรู้เรื่องการทำเกษตรอินทรีย์

    วันที่ 1 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กำหนดการอบรมการทำเกษตรอินทรีย์ วันที่ 1 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2559 ณ โรงเรียนบ้านยางเครือ วิทยากร นางวิลาวัลย์ แก้วคำ เวลา หัวข้อการอบรม 08.00 - 09.00 น. ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมอบรม 09.00 – 09.30 น. ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านยางเครือกล่าวเปิดการอบรม 09.30 – 12.00 น. วิทยากรให้ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเกษตรอินทรีย์ 12.00 – 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวันและอาหารว่าง 13.00 – 15.00 น. วิทยากรให้ความรู้หลักและวิธีการปลูกพืช-ผัก 15.00ปิดการอบรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ผลผลิต 1.1 ครูนักเรียนโรงเรียนบ้านยางเครือ จำนวน 50 คน เข้ารับการอบรมการทำเกษตรอินทรีย์
    2. ผลลัพธ์ 2.1 ครูและนักเรียนโรงเรียนบ้านยางเครือได้รับความรู้เรื่องการทำเกษตรอินทรีย์จากภูมิปัญญาชาวบ้าน 2.2 ครูและนักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการพัฒนาการเกษตรในโรงเรียน

     

    81 50

    6. ฟันสวย ยิ้มใส

    วันที่ 17 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. จัดทำที่แปรงฟันสำหรับนักเรียน ให้มีความสะอาด และเหมาะสม เพียงพอต่อนักเรียน 2.จัดหาแปรงสีฟันสำหรับนักเรียนให้ครบทุกคน
    2. จัดหายาสีฟันให้ครบจำนวนนักเรียน
    3. ครูเวรประจำวันดูแลนักเรียนแปรงฟันหลังรับประทานอาหารทุกวัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ผลผลิต

    1.1.นักเรียน จำนวน............72.........คน. ได้ฝึกปฏิบัติการแปรงฟันที่ถูกวิธี

    2.ผลลัพธ์

    2.1 นักเรียนมีสถานที่แปรงฟันที่เหมาะสม

    2.2 นักเรียนมีแปรงสีฟันครบทุกคน

    2.3 นักเรียนได้แปรงฟันหลังอาหารกลางวันทุกคน ทำให้มีสุขภาพฟันดี ฟันผุลดลง

     

    81 77

    7. จัดนิทรรศการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โรงเรียนเครือข่ายบ้านกุดเมืองฮาม

    วันที่ 21 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    วันที่ 21 เดือนกันยายน พ.ศ. 2559 โรงเรียนบ้านยางเครือได้ร่วมจัดนิทรรศการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โรงเรียนเครือข่ายเด็กไทยแก้มใส ที่โรงเรียนบ้่านกุดเมืองฮาม อำเภอยางชุมน้อย จังหวัดศรีสะเกษ ตั้งแต่เวลา 09.00 - 15.00 น.

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ผลผลิต
    1.1 เด็กนักเรียนและบุคลากรของโรงเรียนบ้านยางเครือ จำนวน 7 คน 2. ผลลัพธ์ 2.1 ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนกับโรงเรียนเครือข่าย เรื่องโรงเรียนพอเพียงต้นแบบ

     

    7 7

    8. ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำรายงานศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสงวดที่ 1

    วันที่ 24 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    วันที่ 24 ตุลาคม 2559 ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำรายงานศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสงวดที่ 1 ณ โรงแรมสุนีย์แกรนด์ แอนด์คอนเวนชั่น จ.อุบลราชธานี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.บุคลากรในโรงเรียนขบ้านยางเครือ จำนวน 2 คน 2.เรียนรู้การจัดทำรายงานศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสงวดที่ 1 และขอเบิกงวดที่ 2

     

    2 2

    9. จัดเมนูอาหารกลางวันตามหลักโภชนาการ ( Thai school lunces )

    วันที่ 1 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -

     

    81 81

    10. ซื้อปุ๋ยอินทรีย์

    วันที่ 4 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    วันที่4 พฤษจิกายน 2559 โรงเรียนบ้านยางเครือ มีการซื้อปุ๋ยอินทรีย์จากชุมชน เพื่อใช้ในการเกษตรในโรงเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ผลผลิต 1.1 นักเรียน ครูบคลากรโรงเรียนบ้านยางเครือ จำนวน 80 คน มีปุ๋ยอินทรีย์ สำหรับใส่พืชผลทางการเกษตร
    2. ผลลัพธ์ 2.1 โรงเรียนบ้่นยางเครือมีปุ๋ยอินทรีย์สำหรับใส่พืชผลทางการเกษตรทำให้ได้ผลผลิตที่เพียงพอสำหับประกอบอาหารกลางวัน

     

    0 0

    11. ปลูกผักสวนครัว

    วันที่ 9 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    วันที่ 9 พฤศจิยายน 2559

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ผลผลิต

    1.1.ครูนักเรียน จำนวน.........81........คน. ได้ฝึกปฏิบัติการปลูกผักปลอดสารพิษเพื่ออาหารกลางวัน

    2.ผลลัพธ์

    2.1 ครูและนักเรียนได้ร่วมกันปลูกผักสารพิษ เพื่อใช้เป็นเมนูอาหารกลางวันให้กับนักเรียน

    2.2 นักเรียนมีเมนูอาหารกลางวัน ที่ได้จากผักที่ปลูกเอง ทำให้เกิดเมนูอาหารที่หลากหลายมีประโยชน์ และมีความปลอดภัย

    2.3 นักเรียนได้เชื่อมโยงกับวิชาเรียน การงานอาชีพและเทคโนโลยี สามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน สามารถสร้างเป็นอาชีพเสริม สร้างรายได้ ลดรายจ่ายในครัวเรือน

     

    81 81

    12. ปลูกผลไม้แก้วมังกร

    วันที่ 10 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ผลผลิต

    1.1.ครูนักเรียน จำนวน............44.........คน. ได้ฝึกปฏิบัติการปลูกแก้วมังกรโดยมีผู้ปกครองเข้ามามีส่วนร่วม จำนวน.......2........คน

    2.ผลลัพธ์

    2.1 ครูนักเรียนและผู้ปกครองได้ร่วมกันปลูกแก้วมังกร เพื่อใช้เป็นเมนูอาหารกลางวันให้กับนักเรียน

    2.2 นักเรียนได้เชื่อมโยงกับวิชาเรียน การงานอาชีพและเทคโนโลยี สามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน สามารถสร้างเป็นอาชีพเสริม สร้างรายได้ ลดรายจ่ายในครัวเรือน

     

    59 44

    13. ปลูกมะละกอ

    วันที่ 11 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ผลผลิต

    1.1.ครูนักเรียน จำนวน............33.........คน. ได้ฝึกปฏิบัติการปลูกมะละกอโดยมีผู้ปกครองเข้ามามีส่วนร่วม จำนวน.......5........คน

    2.ผลลัพธ์

    2.1 ครูนักเรียนและผู้ปกครองได้ร่วมกันปลูกมะละกอ เพื่อใช้เป็นเมนูอาหารกลางวันให้กับนักเรียน

    2.2 นักเรียนได้รับประทานผลไม้ ที่ได้จากการปลูกเอง มีประโยชน์ และมีความปลอดภัย

    2.3 นักเรียนได้เชื่อมโยงกับวิชาเรียน การงานอาชีพและเทคโนโลยี สามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน สามารถสร้างเป็นอาชีพเสริม สร้างรายได้ ลดรายจ่ายในครัวเรือน

     

    23 33

    14. อบรมให้ความรู้การทำเกษตรอินทรีย์และน้ำหมักชีวภาพ

    วันที่ 25 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กำหนดการอบรมให้ความรู้การทำเกษตรอินทรีย์และน้ำหมักชีวภาพ วันที่ 25 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2559 ณ โรงเรียนบ้านยางเครือ วิทยากร นายพิสรรค์นาคสิงห์ เวลา08.00 - 09.00 น. ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมอบรม 09.00 – 09.30 น. ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านยางเครือกล่าวเปิดการอบรม 09.30 – 12.00 น. วิทยากรให้ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเกษตรอินทรีย์ 12.00 – 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวันและอาหารว่าง 13.00 – 15.00 น. วิทยากรให้ความรู้หลักและวิธีการทำน้ำหมักชีวภาพ 15.00ปิดการอบรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ผลผลิต 1.1 ครูนักเรียนโรงเรียนบ้านยางเครือ จำนวน 40 คน เข้ารับการอบรมการทำเกษตรอินทรีย์และการทำน้ำหมักชีวภาพ โดยมีผู้ปกครองเข้าร่ม  10 คน
    2. ผลลัพธ์ 2.1 ครู นักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนบ้านยางเครือได้รับความรู้เรื่องการทำเกษตรอินทรีย์และการทำน้ำหมักชีวภาพ 2.2 ครู นักเรียนและผู้ปกครองสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการพัฒนาการเกษตรในโรงเรียน และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

     

    50 50

    15. พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน

    วันที่ 15 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    วันที่ 15 ธันวาคม 2560 คณะครูบุคลากรทางการศึกษา นักเรียนโรงเรียนบ้านยางเครือ จัดกิจกรรมพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนร่วมกับผู้ปกครอง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ผลผลิต 1.1 ครูนักเรียนโรงเรียนบ้านยางเครือ จำนวน 55 คน และผู้ปกครองจำนวน 50 คน ร่วมกันพัฒนาโรงเรียน
    2. ผลลัพธ์ 2.1 ครู นักเรียน และผู้ปกครองโรงเรียนบ้านยางเครือได้ร่วมมือกันพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมภายในโรงเรียน ทำให้โรงเรียนสะอาด น่าอยู่ มีสภาพแวดล้อมที่ดี เหมาะต่อการเรียนรู้ 2.2 เกิดความสามัคคีระหว่างโรงเรียนและชุมชน โดยผู้ปกครองเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาโรงเรียน

     

    159 105

    16. จัดนิทรรศการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โรงเรียนเครือข่ายเด็กไทยแก้มใส

    วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2560 โรงเรียนบ้านยางเครือจัดนิทรรศการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เด็กไทยแก้มใส โดยร่วมกับภาคีเครือข่าย โรงเรียนเครือข่ายเด็กไทยแก้มใส ผู้ปกครองชุมชน เยี่ยมชมผลการดำเนินงานของโรงเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ผลผลิต
    1.1 นักเรียนจำนวน 72 คน ครูและบุคลากรทางการศึกษา 9 คน ผู้ปกครอง 20 คน กรรมการสถานศึกษาจำนวน 8 คน ชุมชน 4 คน ผู้นำศานาจำนวน 2 คน เจ้าหน้าที่รพสต.จ 5 คน เยี่ยมชมนิทรรศการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส โรง้รียนบ้านยางเครือเด็กไทยแก้มใส

    2.ผลลัพธ์ 2.1ครู นักเรียนโรงเรียนบ้านยางเครือ และผู้ปกครองคณระกรรมการสถานศึกษา ชุมชน ผู้นำศาสนา เจ้าหน้าที่ รพสต. กุดเมืองฮาม เยี่ยมชมนิทรรศการ ผลการดำเนิน ศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส โรง้รียนบ้านยางเครือเด็กไทยแก้มใส 2.2 เกิดความสามัคคีระหว่างโรงเรียนและชุมชน

     

    130 118

    17. จัดทำระบบสารสนเทศภาวะโภชนาการนักเรียน

    วันที่ 17 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ผลผลิต
    1.1 นักเรียนจำนวน 72 คน ครูและบุคลากรทางการศึกษา 9 คน

    2.ผลลัพธ์ 2.1ครู นักเรียนโรงเรียนบ้านยางเครือ ได้จัดทำข้อมูลภาวะโภชนาการนักเรียนรายบุคคล เพื่อติดตามข้อมูลน้ำหนักส่วนสูงนักเรียน 2.2 นักเรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ตามวัย

     

    81 81

    18. จัดทำรายงานปิดโครงการ งวด 2 พร้อมคืนดอกเบี้ย

    วันที่ 24 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -ครูผู้ดูแลโครงการและผู้รับผิดชอบการเงิน เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำรายงานสรุปการเงินปิดโครงการ (ง2)และรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ (ส.3) แบบออนไลน์โดยวิทยากรได้ตรวจเอกสารการเงินงวดที่2 และงวดที่ 3 และได้ลงข่อมูลในระบบออนไลน์อย่างเรียบร้อย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -

     

    2 1

    19. เลี้ยงปลาเพื่ออาหารกลางวัน

    วันที่ 27 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -ผลผลิต 1. ครูและบุคลากร จำนวน 9 คน นักเรียนจำนวน 72 คน ร่วมกันปล่อยปลาเพื่ออาหารกลางวัน -ผลลัพธ์ 1. ครู บุคลากรและนักเรียนโรงเรียนบ้านยางเครือมีปลาที่เลี้ยงเองเพื่อประกอบอาหารกลางวันอย่างเพียงพอ

     

    81 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อพัฒนาและแก้ปัญหาสุขภาวะ และโภชนาการของนักเรียน
    ตัวชี้วัด : 1.ภาวะอ้วน ผอม ไม่เกิน ไม่เกิน 7 % (ทั้งนี้ดูตามเกณฑ์ของโรงเรียนเป็นหลัก) ภาวะเตี้ย ไม่เกิน 7 % 2.เด็กมีการปรับพฤติกรรมการกิน โดยกินผักและผลไม้ เฉลี่ยในมื้อกลางวันประมาณ 40-100 กรัม (อาจดูตามเกณฑ์ของแต่ละโรงเรียน ที่แยกเป็น ช่วงอนุบาล และ ช่วงปฐม) 3.มีการนำโปรแกรม Thai school lunch มาใช้ในการกำหนดเมนูอาหารกลางวัน 4.มีกระบวนการติดตาม ประเมินสุขภาวะของนักเรียน โดยเด็กและเยาวชน ครู และผู้ปกครอง ร่วมกัน

    ภาวะอ้วน 0% ภาวะเตี้ย 0% ผอม 1.39% ซึ่งเป็นไปตามตัวชี้วัด นักเรียนกินผักผลไม้เพียงพอ อนุบาลกินผัก 30 กรัม ผลไม้ 100 กรัม ประถม กินผัก 60 กรัม ผลไม้ 200 กรัม ใช้โปรแกรม Thai School Lunch กำหนดเมนูอาหารกลางวัน มีการติดตาม ประเมินสุขภาวะโภชนาการนักเรียนรายบุคคล

    2 2 เพื่อสร้างการเรียนรู้ และพัฒนาทักษะนักเรียน
    ตัวชี้วัด : 1.เด็กมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินผักและผลไม้เพิ่มขึ้น เฉลี่ยประมาณ 40-100 กรัม ในมื้ออาหารเย็น และอาหารว่าง (ติตตามผลโดยครูและผู้ปกครอง) 2.นักเรียนประมาณ 80% มีพฤติกรรมสุขภาวะที่ดี ได้แก่ การล้างมือก่อนรับประทานอาหาร มีการแปรงฟันหลังทานอาหาร รวมทั้งแปรงฟันก่อนเข้านอน และมีการคัดแยกขยะก่อนทิ้งลงถัง 3.ทางโรงเรียนมีการจัดกิจกรรมออกกำลังกาย ก่อนเลิกเรียน (อาจจะเน้นที่เด็กมีภาวะอ้วนเป็นพิเศษ)

    เด็กนักเรียนมีการเปลี่ยนพฤตกรรมการกินผักผลไม้เพิ่มขึ้น โดยมีการติดตามโดยครูและผู้ปกครอง นักเรียนมีพฤติกรรมสุขภาวะที่ดีขึ้นร้อยละ 80% เด็กนักเรียนล้างมือก่อนและหลังการรับประทานอาหาร แปรงฟันหลังรับประทานอาหาร มีการจัดกิจกรรมให้นักเรียนทุกคนออกกำลังกายทุกวัน

    3 3.เพื่อสร้างความตระหนักให้แก่ครู บุคลากรในโรงเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน และเครือข่ายให้มีส่วนร่วมในการพัฒนาโรงเรียนตามแนวทางโครงการเด็กไทยแก้มใส ถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ
    ตัวชี้วัด : 1.โรงเรียนมีระดับความสำเร็จในด้านการเชื่อมโยงอาหารและสุขภาพ อยู่ในระดับ 4 2.จำนวนกิจกรรมที่มีส่วนร่วมของครู นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชนเพิ่มขึ้น 40%

    โรงเรียนมีความสำเร็จในด้านการเชื่อมโยงอาหารและสุขภาพ ครู นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน มีส่วนร่วมในการดำเนินงาน

    4 4.เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ในการดูแลตัวเองให้เป็นผู้ที่มีสุขนิสัยและสุขภาวะที่ดี
    ตัวชี้วัด : 1.นักเรียนมีสุขภาพทีดี มีการดูแลสุขนิสัยทีถูกต้อง อยูในระดับ 4

    นักเรียนมีสุขภาพที่ดีขึ้น มีการดูแลสุขนิสัยที่ถูกต้อง

    5
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อพัฒนาและแก้ปัญหาสุขภาวะ และโภชนาการของนักเรียน (2) 2 เพื่อสร้างการเรียนรู้ และพัฒนาทักษะนักเรียน (3) 3.เพื่อสร้างความตระหนักให้แก่ครู บุคลากรในโรงเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน และเครือข่ายให้มีส่วนร่วมในการพัฒนาโรงเรียนตามแนวทางโครงการเด็กไทยแก้มใส ถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ (4) 4.เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ในการดูแลตัวเองให้เป็นผู้ที่มีสุขนิสัยและสุขภาวะที่ดี (5)

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านยางเครือ

    รหัสโครงการ ศรร.1311-085 รหัสสัญญา 58-00-2265-อ.39 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

    การเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

    ปลูกผักหมุนเวียนตามฤดูกาล โดยปลูกเป็นแปลงขนาด 1X5 เมตร ผักที่ปลูกมีคะน้า ผักบุ้ง กวางตุ้ง หัวไชเท้า ถั่วฝักยาว ฟักทอง บวบและเพาะถั่วงอก เพาะต้นอ่อนทานตะวัน สำหรับประกอบอาหารกลางวันด้วย ปลูกผลไม้ เช่นกล้วยน้ำว้า แก้วมังกร มะม่วงมีการเลี้ยงปลาดุกจำนวน 2,000 เพาะเห็ดนางฟ้า

    สร้างโรงเรือนผักกางมุ้ง เพื่อป้องกันแมลง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

    สหกรณ์แก้มใส

    จัดทำสหกรณ์นักเรียนโดยเน้นที่การออมของนักเรียนทุกคน และมีการขายผักผ่านสหกรณ์นักเรียน

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

    Thai school lunch

    โรงเรียนมีการจัดเมนูอาหารโดยใช้โปรแกรม Thai school lunch

    รับผลผลิตทางการเกษตรสำหรับประกอบอาหารกลางวันจากชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

    ติดตามภาวะโภชนาการโดยใช้โปรแกรม Thai Growth

    โรงเรียนมีการติดตามภาวะโภชนากรนักเรียนรายบุคคล มีการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และมีการประมวลผลข้อมูลโดยใช้โปรแกรม Thai Growth

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

    กิจกรรมฟันสวย สุขภาพดี

    กิจกรรมแปรงฟันทุกวันหลังอาหารเที่ยง จัดทำที่ล้างมือให้นักเรียน

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

    กิจกรรมคัดแยกขยะ

    โรงเรียนมีการจัดทำที่คัดแยกขยะ มีการแบ่งเวรให้นักเรียนทำความสะอาดบริเวรทุกวัน

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    โรงเรียนบ้านยางเครือ จังหวัด ศรีสะเกษ

    รหัสโครงการ ศรร.1311-085

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายบุญส่ง พื้นผา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด