ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านป่าไม้สหกรณ์

รหัสโครงการ ศรร.1312-064 รหัสสัญญา 58-00-2265-อ.18 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน

1.ทำปุ่ยหมักชีวภาพ 2.ทำปุ๋ยหมักน้ำ 3.การแปรรูปกล้วยน้ำหว้า 4.การเชื่อมโยงแผนเกษตรในโรงเรียนกับเมนูอาหารกลางวันตามโปรแกรม Thai school lunch

1.วิธีทำปุ๋ยหมักชีวภาพจากการนำเศษใบไม้ 1ตัน ขี้วัว 40 กก.นำมาวางทับกันเป็นกองให้ได้ 5 ชั้น แล้วนำสาร พด.(สารของหน่วยงานพัฒนาที่ดิน)1ซอง ผสมน้ำประมาณ 1 ผักบัว รดลงกองใบไม้ แล้วคลุมผ้าไว้หมักประมาณ 1 เดือน 2.วิธีทำปุ๋ยหมักน้ำ นำเศษพืช 30 กก. กากน้ำตาล 10 ลิตร น้ำเปล่าใส่ถังไว้ ใส่สาร พด. 2 ซองต่อน้ำ 10 ลิตร นำมาใส่ถังหมักไว้ประมาณ 2 อาทิตย์ 3.ลัษณะการแปรรูปกล้วยน้ำหว้า เป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ ได้แก่ กล้วยฉาบ ขนมกล้วย 4.ลักษณะการเชื่อมโยงแผนเกษตรในโรงเรียนกับเมนูอาหารกลางวันโดยครูและแม่ครัววางแผนการปลูกผักร่วมกับครูเกษตรและนักเรียนทุกชั้นเรียน
(แสดงหลักฐานแผนการเชื่อมโยงเมนูอาหารกลางวันกับเกษตรในโรงเรียนตามที่ ผอ.จงกลนี อธิบาย)

จะดำเนินการสานต่อโครงการให้มีประสิทธิภาพและนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ให้สุงสุด

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

การนำผลผลิตทางการเกษตรและอาหารแปรรูปสู่ระบบสหกรณ์นักเรียนอย่างเป็นรูปธรรมต่อเนื่องดังนี้ 1.ผลผลิตของนักเรียน 2.ผลผลิตของชุมชนเครือข่ายเด็กไทยแก้มใส 3.ผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปจากงานอาชีพในกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ของนักเรียน ชั้น ป.4-6 และ ม.1-3

1.ผลผลิตทางการเกษตรของนักเรียน ได้แก่พืชผักสวนครัว ไก่ไข ไข่เปิด ไข่ห่าน เนื้อหมู จิ้งหรีด 2.ผลผลิตทางการเกษตรของชุมชน ไ้ด้แก่ ข้าว พืชผักสวนครัว 3.การนำผลิตภัณฑ์งานอาชีพของนักเรียน ได้แก่กล้่วยฉาบ ขนมกล้วย ขนมวุ้นมะพร้าว เป็นต้น

จัดหาเครือข่ายเกษตรชุมชนเด็กไทยแก้มใสในพื้นที่ตำบลโนนดินแดงเพิ่มขึ้น(เดิมมี 1 ชุมชนหมู่ 7)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

1.จัดบริการอาหารให้นักเรียนตั้งแต่ระดับ อนุบาล-ม.3 โดยใช้โปรแกรม Thai school lunch ได้ 100% 2.จัดโรงผลิตน้ำดื่มสะอาดตามหลักสุขาภิบาลกระจายไปยังจุดบริการอาคารประถมและมัธยม 3.จัดโรงอาหารและโรงครัวตามหลักสุขาภิบาล

1.นำผลผลิตทางการเกษตรที่ปลอดสารพิษ และวัตถุดิบต่างๆ ที่สะอาดและปลอดภัยมาประกอบอาหารตามโปรแกรม TSL หมุนเวียนรายเดือนโดยมีป้ายไวนิลแสดงกระดานโภชนาการเมนูอาหารและสารอาหารติดไว้ในโรงอาหารให้นักเรียนได้เรียนรู้ช่วงรับประทานอาหารกลางวัน 2.มีระบบการผลิตน้ำดื่มตั้งแต่ถังจัดเก็บน้ำดิบไปจนถึงระบบกรองน้ำที่ได้มาตรฐานและติดตั้งท่อส่งน้ำกระจายไปยังสองจุดบริการที่อาคารประถมและมัธยม โดยผ่านชุดกรองน้ำขนาดเล็กอีกชั้นหนึ่งก่อนบริโภค 3.ปรับปรุงโรงอาหารและห้องครัวให้ถูกหลักสุขาภิบาลโดยมีภาพถ่ายกิจกรรมก่อนปรับปรุงและหลังปรับปรุง(อ้างอิงกิจกรรมย่อยข้อ การปรับปรุงโรงอาหาร)

1.จัดบริการอาหารเช้าเพิ่มขึ้นโดยผู้ปกครองสมทบมื้อละ 3 บาทต่อวัน 2.ปรับเมนูอาหารกลางวันและเพิ่มอาหารว่างที่หลากหลายมากขึ้น โดยรับซื้อผลผลิตเกษตรปลอดภัยจากชุมชน 3.ระยะเวลาดำเนินงานเริ่มตั้งแต่ก่อนเปิดเทอม1 ปีการศึกษา 2560

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

1.จัดดำเนินงานเป็นทีม ทำโครงการควบคุมภาวะเด็กอ้วนในโรงเรียน 2.การเยี่ยมบ้านนักเรียน

1.ทีมงานประกอบด้วย ผู้อำนวยการโรงเรียน ครูเกษตรโรงเรียน ครูอาหารกลางวัน ครูอนามัย ครูสุขศึกษาในโรงเรียน ครูประจำชั้น ทีมงาน อย.น้อย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ร่วมกันวางแผนการดำเนินงาน และตรวจสอบการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของนักเรียน ดูแลควบคุมการรบประทานอาหารและการออกกำลังกายของนักเรียน 2.เยี่ยมบ้านนักเรียนสำหรับตรวจสอบภาวะโภชนาการของนักเรียน

1.โรงเรียนจะพัฒนาและดำเนินการต่อยอดโครงการให้มีประสิทธิภาพอย่างยั่งยืน 2.จัดทำสมุดบันทึกภาวะโภชนาการรายบุคคล ในปีการศึกษา 2560 3.จัดให้มีการประกวดและให้รางวัลนักเรียนที่มีการปรับพฤติกรรมภาวะโภชนาการดีเด่น

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

1.การดูแลสุขภาพร่างกายนักเรียน
2.การกำจัดเหา 3.การดูแลสุขภาพทางช่องปาก

คณะครู ครูอนามัยเจ้าหน้าที่สาธารณะสุขตำบล ร่วมมือกันในการตรวจสุขภาพของนักเรียน มีการตรวจการแปรงฟันทุกวันหลังจากรับประทานอาหารกลางวัน และมีการกำจัดเหาโดยวิธีทางธรรมชาติ โดยใช้ใบน้อยหน่ากำจัดเหา อาทิตย์ละ 1 วัน และให้ความรู้ในการป้องกันไม่ให้กลับมาเป็นซ้ำ

โรงเรียนจะสานต่อกิจกรรมต่อไปและทำประจำให้มีคุณภาพยิ่งกว่าเดิม 2.ให้เด็กนำวิธีจำกัดเหาไปใช้ในครอบครัวตนเอง

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

1.โรงเรียนมีการคัดแยกขยะ 2.มีการนำขยะหรือวัสดุอุปกรณ์ที่ไม่ได้ใช้งานมาดัดแปลงให้เกิดประโยชน์ 3.ปรับปรุงโรงอาหารและห้องครัว 4.จัดเวรทำความสะอาดเขตพื้นที่รับผิดชอบ 5.ห้องน้ำสะอาด

1.คัดแยกขยะออกเป็น 4 ประเภทได้แก่ ขยะเปียก ขยะทั่วไป ขยะรีไซเคิลและขยะอันตราย 2.นำขยะเปียกเช่นเศษใบไม้มาทำปุ๋ยหมักชีวภาพนำขยะทั่วไปเช่น ซองกาแฟนำมาทำเป็นกระเป๋า นำวัสดุอุปกรณ์ที่ไม่ไ้ด้ใช้งานแล้วมาใช้ในการเกษตร 3.ปรับปรุงโรงอาหารและห้องครัวให้ถูกหลักสุขาภิบาล 4.จัดเวรทำความสะอาดห้องเรียนและเขตพื้นที่ต่างไ ภายในโรงเรียนให้สะอาดและน่าอยู่ 5.โรงเรียนได้ผ่านการประเมินมาตรฐานส้วมสุขสันต์

1.โรงเรียนปรับปรุงสภาพแวดล้อมอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ได้มาตรฐานตามหลักสุขาภิบาลต่อไป 2.จัดตั้งธนาคารขยะรีไวเคิล เพื่อนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ ลดปริมาณขยะและทำให้เกิดรายได้ในชุมชน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

การกำจัดเหา

มีการทำน้ำจากใบน้อยหน่ามากำจัดเหาให้กับนักเรียนรโดยที่ชุมชนมีส่วนร่วม

มีเครือข่ายการบริการจัดการสุขภาพนักเรียนโดยชุมชนมีส่วนร่วม

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

1.โครงการพ่อบ้านแม่ศรีเรียน 2.ตำราลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ 3.งานอาชีพ

1.จัดโครงการพ่อบ้านแม่ศรีเรือนโดยฝึกทักษะการประกอบอาหาร การดูแลเสื้อผ้าและความสะอาดอาคารสถานที่ 2.จัดทำหลักสูตรเด็กไทยแก้มใสในกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ 3.ส่งเสริมให้นักเรียนทำงานอาชีพ เช่น แหนมเห็ดนางฟ้า กล้วยฉาบ ขนมกล้วย ขนมวุ้นมะพร้าว เป็นต้น

มีการจัดกิจกรรมต่างๆ ที่บูรณาการระหว่างเด็กไทยแก้มใส การเกษตร การประกอบอาหารและผลิตภัณฑ์จากงานอาชีพ

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ

 

 

 

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

ผอ. ครูโรงเรียนบ้านป่าไม้สหกรณ์ชุมชนผู้ปกครองธนาคาร ธกส.หน่วยพัฒนาที่ดิน ๓ บุรีรัมย์หน่วยเพาะพันธู์สัตว์น้ำจืดบุรีรัมย์ศูนย์วิจัยพันธู์สัตว์บุรีรัมย์เกษตรอำเภอโนนดินแดงวิทยาลัยเทคโนโลยีและการจัดการโนนดินแดงโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาลำนางรองโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพและโรงพยาบาลโนนดินแดง และ อสม.องค์การบริหารส่วนตำบลลำนางรองสำนักงานปศุสัตว์โนนดินแดง

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

1) โรงเรียนบ้านป่าไม้สหกรณ์ ตั้งอยู่ในชุมชนเกษตรกรรมและมีพื้นที่เพียงพอในการทำการเกษตร 2) ผู้ปกครอง ชุมชน มีความรู้ ความสามารถในการทำกสิกรรมและปศุสัตว์และมีจิตอาสาและร่วมมือร่วมใจกันในการปลูกผักปลอดสารพิษ 3) ผู้นำชุมชน วัดและโรงเรียนมีวิสัยทัศน์ร่วมและมุ่งพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาให้มีเอกภาพ

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

1) ความรักในสถาบันหลัก ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และสถาบันครอบครัว บ้าน วัด โรงเรียน 2) ความศรัทธาและความเชื่อมั่นซึ่งกันและกัน 3) ความสามัคคีมีสมานฉันท์และความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของชุมชน 4. ความสามารถในการดึงหน่วยงานอื่นเข้ามามีบทบาทในการดูแลสนับสนุนในโครงการ

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

1) การอบรมเชิงปฏิบัติการจากผู้รับผิดชอบโครงการ(สสส.) 2) การพัฒนาบุคลากรโดยหน่วยงานต้นสังกัด การนิเทศ กำกับ ติดตาม โดยผู้อำนวยการโรงเรียนอย่างใกล้ชิด สม่ำเสมอ 3) การพัฒนาโดยพี่เลี้ยงโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส(ศรร.) 4) การเรียนรู้แบบบูรณาการและการจัดการเรียนการสอนแบบ ActiveLearning ในศตวรรษที่ 21 5)จัดให้นักเรียนแกนนำได้มีส่วนร่วมในการตักอาหารกลางวันให้กับนักเรียน

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

1) ผู้ปกครอง ชุมชน มีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายและแนวทางการดำเนินงานก่อนที่จะเป็นแผนการดำเนินงานตามโครงการ 2) ผู้ปกครอง ชุมชน ร่วมลงมือปฏิบัติตามแผนการดำเนินงานทุกขั้นตอน 3) ผู้ปกครอง ชุมชน ร่วมนิเทศ กำกับ ดูแลและติดตามผลการดำเนินงานอยู่ตลอดเวลา 4) ผู้ปกครอง ชุมชน ร่วมประเมิน/ชี้แนะ/สรุปถอดบทเรียนเพื่อพัฒนาต่อยอดหลังปิดโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส(ศรร.)ต่อไป

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

มีผลผลิตจากทางโรงเรียนและรับผลผลิตจากชุมชน ม.7 มาประกอบอาหารกลางวันให้กับนักเรียน

บัญชีการจัดซื้อาหารสดและแห้งประจำวัน

โรงเรียนจะพัฒนาเกษตรชุมชนให้มีความหลากหลายและเพียงพอต่อไปกับความต้องการตามจำนวนนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

โรงเรียนเลี้ยงไก่ไข่ จำนวน 100 ตัว มีผลผลิตในการทำอาหารเพียงพอ เลี้ยงปลาดุก หมู เป็ดไข่ ผลิตเพื่อเป็นอาหารนักเรียน

มีใบจัดซื้อจ้างตามระเบียบพัสดุ

โรงเรียนจะจัดทำแผนการดำเนินงานเกษตรให้มีความยั่งยืนต่อไป

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

โรงเรียนเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์และเลี้ยงในบ่อ กบ เพื่ออาหารกลางวัน

ตามแผนการดำเนินงานเกษตรในโรงเรียน

โรงเรียนจะขยายการเลี้ยงปลาในสระน้ำที่ปรับปรุงใหม่ในพื้นที่โรงเรียนอย่างหลากหลาย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

ได้มีการประชุมหารื้อกับผู้ปกครองเมื่อวันที่ ๒๒ มีนาคม ๒๕๖๐ ได้ตกลงให้โรงเรียนจัดอาหารเช้าโดยผู้ปกครองยินดีจ่ายเงินสมทบให้กับครัวโรงเรียนมื้อละ ๓ บาทต่อวัน

บันทึกการประชุมผู้ปกครอง

จะเริ่มดำเนินการทันที่ที่เปิดเทอม ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๐

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

1) โรงเรียนจัดอาหารกลางวันตามเมนู ThaiSchoolLunchProgram100เปอร์เซ็นต์ 2) โรงเรียนทำผ้าป่าข้าวเปลือกแล้วเอางบประมาณส่วนที่จัดซื้อข้าวไปซื้อผลไม้เพิ่มตามเกณฑ์ของเมนู

ตามเมนูอาหารประจำวัน

โรงเรียนจะดำเนินการตามรูปแบบที่ได้ดำเนินการมาแล้ว

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

1) โรงเรียนจัดอาหารกลางวันตามเมนู ThaiSchoolLunchProgram100เปอร์เซ็นต์ 2) โรงเรียนทำผ้าป่าข้าวเปลือกแล้วเอางบประมาณส่วนที่จัดซื้อข้าวไปซื้อผลไม้เพิ่มตามเกณฑ์ของเมนู

ตามเมนูอาหารประจำวัน

โรงเรียนจะดำเนินการตามรูปแบบที่ได้ดำเนินการมาแล้ว

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

1) โรงเรียนจัดอาหารกลางวันตามเมนู ThaiSchoolLunchProgram100เปอร์เซ็นต์ 2) โรงเรียนทำผ้าป่าข้าวเปลือกแล้วเอางบประมาณส่วนที่จัดซื้อข้าวไปซื้อผลไม้เพิ่มตามเกณฑ์ของเมนู

ตามเมนูอาหารประจำวัน

โรงเรียนจะดำเนินการตามรูปแบบที่ได้ดำเนินการมาแล้ว

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

โรงเรียน ผู้ปกครองและชุมชน มีความมุ่งมั่นในการพัฒนาระบบโภชนาการ สุขภาพและอนามัยนักเรียนร่วมกันจึงเป็นเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชนเพื่อบุตรหลาน

เมนูตามอาหารกลางวัน

โรงเรียนจะร่วมพัฒนาแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน 100 เปอร์เซ็นต์ ตามแผนงานเกษตร

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

ดโรงเรียนได้เสนอของบประมาณตามโครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันตามแนวพระราชดำริ จากผู้ว่าราชการจังหวัด จำนวน 100,000 บาทในปีการศึกษา 2559 ซึ่งผ่านความเห็นชอบของแผนยุทธศาสตร์จังหวัดแล้วแต่งบประมาณยังไม่ได้รับการเบิกจ่ายและจังหวัดให้ปรับช่วงเวลาเป็น 2560 แล้ว โดยโรงเรียนจะนำมาเสริมการเลี้ยงไก่ไข่ การปลูกมะนาว การปลูกผักสวนครัว การเลี้ยงเป็ด กบ ปลาดุกและอุปกรณ์การทำเห็ดนางฟ้า ต่อไปโรงเรียนจะเป็นผู้ผลิตก้อนเห็ดและเห็ดเพื่อบริโภคและจำหน่ายแบบครบวงจร

ข้อเสนอโครงการฉบับสมบูรณ์

โรงเรียนอาจปรับโครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันตามแนวพระราชดำริบางกิจกรรมเพื่อนำงบประมาณมาเป็นทุนสนับสนุนการเกษตรชุมชน เพื่อให้เกิดภาคีเครือข่ายการผลิตพืชผักและปศุสัตว์ที่เพียงพอต่อการจัดทำอาหารกลางวันต่อไป

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

1) โรงเรียนมีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารโครงการเงินทุนหมุนเวียนส่งเสริมผลผลิตเพื่อโครงการอาหารกลางวัน 2) โรงเรียนมีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารโครงการอาหารกลางวัน โดยมีคณะกรรมการเครือข่ายผู้ปกครองโรงเรียนร่วมดำเนินงานด้วย 3) โรงเรียนมีคำสั่งมอบหมายครูผู้รับผิดชอบโครงการอาหารกลางวัน คณะกรรมการจัดซื้อ/ตรวจรับวัสดุอาหารสดอาหารแห้ง 4) ครูผู้รับผิดชอบโครงการอาหารกลางวันและเจ้าหน้าที่จัดทำเมนูอาหารประจำวัน ต้องส่งเมนูอาหารล่วงหน้าประกอบการขอยืมเงินเพื่อทำอาหารกลางวัน

หลักฐานการเบิกจ่ายและยืมเงินอาหารกลางวัน

โรงเรียนจะจัดอบรมให้ความรู้แก่คณะกรรมการอาหารกลางวันทุกคนเพื่อให้สามารถจัดทำเมนูอาหารได้ด้วยตนเองต่อไป

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

โรงเรียนมอบหมายครูผู้รับผิดชอบกรอบงานที่ 4

 

 

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 1/12558 1/22558 2/12558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 1/22560 2/12560 2/22561 1/12561 1/22561 2/12561 2/22562 1/12562 1/22562 2/12562 2/22563 1/12563 1/22563 2/12563 2/22564 1/12564 1/22564 2/12564 2/22565 1/1
เตี้ย 3.56 3.56% 3.59 3.59% 3.59 3.59% 3.59 3.59% 4.67 4.67% 4.72 4.72% 4.69 4.69% 4.23 4.23% 5.26 5.26% 2.24 2.24% 2.19 2.19% 4.48 4.48% 0.43 0.43% 1.27 1.27% 0.42 0.42% 4.24 4.24% 2.55 2.55% 4.87 4.87% 4.48 4.48% 4.02 4.02% 3.77 3.77% 2.27 2.27% 1.38 1.38% 1.35 1.35% 1.92 1.92% 1.47 1.47% 1.47 1.47% 0.99 0.99% 1.92 1.92%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 7.11 7.11% 8.97 8.97% 8.97 8.97% 8.97 8.97% 10.75 10.75% 9.43 9.43% 9.39 9.39% 10.80 10.80% 10.53 10.53% 8.52 8.52% 7.89 7.89% 9.87 9.87% 3.88 3.88% 5.93 5.93% 3.35 3.35% 10.17 10.17% 6.38 6.38% 11.50 11.50% 10.76 10.76% 11.16 11.16% 11.32 11.32% 4.55 4.55% 3.67 3.67% 7.21 7.21% 8.17 8.17% 5.39 5.39% 5.39 5.39% 5.94 5.94% 9.62 9.62%
ผอม 5.29 5.29% 3.59 3.59% 2.24 2.24% 3.60 3.60% 7.94 7.94% 8.49 8.49% 8.02 8.02% 4.67 4.67% 3.95 3.95% 2.69 2.69% 3.07 3.07% 1.35 1.35% 1.72 1.72% 1.66 1.66% 1.67 1.67% 2.54 2.54% 1.72 1.72% 3.10 3.10% 1.80 1.80% 2.23 2.23% 3.30 3.30% 2.27 2.27% 1.37 1.37% 2.63 2.63% 2.40 2.40% 1.47 1.47% 1.49 1.49% 1.98 1.98% 2.93 2.93%
ผอม+ค่อนข้างผอม 14.10 14.10% 9.42 9.42% 6.28 6.28% 10.81 10.81% 15.42 15.42% 12.74 12.74% 12.26 12.26% 13.08 13.08% 12.72 12.72% 10.31 10.31% 10.53 10.53% 8.97 8.97% 6.90 6.90% 7.47 7.47% 5.44 5.44% 9.32 9.32% 6.44 6.44% 11.50 11.50% 9.91 9.91% 8.93 8.93% 10.38 10.38% 5.91 5.91% 5.02 5.02% 4.61 4.61% 9.62 9.62% 8.33 8.33% 8.42 8.42% 3.96 3.96% 11.22 11.22%
อ้วน 0.88 0.88% 0.90 0.90% 0.90 0.90% 0.90 0.90% 2.34 2.34% 1.42 1.42% 0.94 0.94% 3.27 3.27% 2.63 2.63% 2.24 2.24% 3.07 3.07% 3.14 3.14% 2.59 2.59% 2.90 2.90% 2.51 2.51% 3.81 3.81% 2.15 2.15% 3.98 3.98% 2.70 2.70% 4.02 4.02% 5.19 5.19% 2.73 2.73% 2.74 2.74% 0.66 0.66% 2.88 2.88% 2.45 2.45% 2.48 2.48% 2.97 2.97% 3.90 3.90%
เริ่มอ้วน+อ้วน 5.29% 5.29% 3.14% 3.14% 3.14% 3.14% 3.15% 3.15% 4.21% 4.21% 2.83% 2.83% 2.36% 2.36% 5.14% 5.14% 6.14% 6.14% 4.48% 4.48% 4.82% 4.82% 5.38% 5.38% 3.45% 3.45% 5.39% 5.39% 3.35% 3.35% 7.20% 7.20% 4.72% 4.72% 9.73% 9.73% 6.31% 6.31% 8.93% 8.93% 8.49% 8.49% 3.18% 3.18% 3.65% 3.65% 1.97% 1.97% 5.77% 5.77% 5.39% 5.39% 4.46% 4.46% 4.95% 4.95% 7.32% 7.32%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

นักเรียนมีภาวะอ้วนเพิ่มขึ้น

ดูจากกราฟภาวะโภชนาการนักเรียนแสดงข้อมูล

ควบคุมอาหารสำหรับนักเรียนและออกกำลังกาย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

สถานการณ์ภาวะค่อนข้างผอมและผอมเพิ่มขึ้นเหลือค่อนข้างผอมจำนวน13.08%

จากกราฟภาวะโภชนาการนักเรียนแสดงข้อมูล

ส่งเสริมทางด้านอาหารให้กับนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

สถานการณ์ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยเพิ่มขึ้นจำนวน10.80%

จากกราฟภาวะโภชนาการนักเรียนแสดงข้อมูล

โรงเรียนจะแก้ปัญหาภาวะค่อนข้างเตี้ยให้หมดไปในปีการศึกษา 2560

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

นักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ จากการประเมินครั้งที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 เดือนกันยายน พบว่า มีจำนวน 14คน โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรม คือ 1) เพิ่มอาหารเสริมนมอีกวันละ 1 กล่อง 2) การจัดบริการอาหารที่มีคุณค่าตามมาตรฐานและความต้องการของร่างกาย 3) จัดกิจกรรมเสริมสร้างสมรรถภาพทางกาย ทั้ง กระโดดเชือก กระโดดตบลูกฟุตบอล วิ่งตามฐาน BBL โดยแยกนักเรียนปฏิบัติตามความบกพร่อง

การรายงานสถานการณ์ ครั้งที่ 2 ปลายภาคเรียนที่ 2 หรือ ประเมินหลังสิ้นสุดโครงการ ศรร.

โรงเรียนจะแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการต่าง ๆ ให้หมดไปในปีการศึกษา 2560

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

1) จัดประชุมผู้ปกครองสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ของโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส(ศรร.) 2) ชี้แจงหลักโภชนาการ สุขาภิบาลและการเสริมสร้างสุขนิสัยในการบริโภคแก่ผู้ปกครองเพื่อให้ดูแลลูกหลานได้รับประทานอาหารที่มีคุณค่าตามหลักโภชนาการเมื่ออยู่ที่บ้านและให้เกิดความมั่นคงทางอาหารอย่างถูกต้อง 3) สร้างข้อตกลงเกี่ยวกับการควบคุมการสร้างสุขนิสัยในการบริโภคอาหาร ลดการบริโภคอาหารขยะ น้ำหวานและขนมกรุปกรอบต่าง ๆ

หลักฐานภาวะทุพโภชนาการของนักเรียนลดลง

โรงเรียนจะรักษามาตรฐานการผลิตและการบริการด้านอาหารกลางวันที่มีคุณภาพต่อไป

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

โรงเรียนจะน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงปลูกฝังให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน ผู้ปกครองยึดถือเป็นแนวทางในการดำเนินชีวิต และจะปฏิบัติตามหลักการบริหารจัดการอาหาร โภชนาการ และสุขภาพอนามัยนักเรียนแบบครบวงจรสู่การปฏิบัติอย่างเข้มข้นมากขึ้น เพื่อรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชหาที่สุดมิได้ และเพื่อเทิดพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เจ้าฟ้านักโภชนาการ

 

 

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

ผอ. ครูโรงเรียนบ้านป่าไม้สหกรณ์ชุมชนผู้ปกครองธนาคาร ธกส.หน่วยพัฒนาที่ดิน ๓ บุรีรัมย์หน่วยเพาะพันธู์สัตว์น้ำจืดบุรีรัมย์ศูนย์วิจัยพันธู์สัตว์บุรีรัมย์เกษตรอำเภอโนนดินแดงวิทยาลัยเทคโนโลยีและการจัดการโนนดินแดงโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาลำนางรองโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพและโรงพยาบาลโนนดินแดง และ อสม.องค์การบริหารส่วนตำบลลำนางรองสำนักงานปศุสัตว์โนนดินแดง

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh