แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

โรงเรียนบ้านน้ำขวบ-โนนดู่(กองทัพบกอุปถัมภ์)


“ โรงเรียนบ้านน้ำขวบ-โนนดู่(กองทัพบกอุปถัมภ์) ”

หมู่ 2 ตำบลบึงมะลู อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ

หัวหน้าโครงการ
นายบรรจง นวลแย้ม

ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านน้ำขวบ-โนนดู่(กองทัพบกอุปถัมภ์)

ที่อยู่ หมู่ 2 ตำบลบึงมะลู อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ จังหวัด ศรีสะเกษ

รหัสโครงการ ศรร.1311-073 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-อ.27

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โรงเรียนบ้านน้ำขวบ-โนนดู่(กองทัพบกอุปถัมภ์) จังหวัดศรีสะเกษ" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ 2 ตำบลบึงมะลู อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านน้ำขวบ-โนนดู่(กองทัพบกอุปถัมภ์) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านน้ำขวบ-โนนดู่(กองทัพบกอุปถัมภ์)



บทคัดย่อ

โครงการ " โรงเรียนบ้านน้ำขวบ-โนนดู่(กองทัพบกอุปถัมภ์) " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ 2 ตำบลบึงมะลู อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ รหัสโครงการ ศรร.1311-073 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านน้ำขวบ-โนนดู่(กองทัพบกอุปถัมภ์) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 305 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรงเรียนบ้านน้ำขวบ-โนนดู่(กองทัพบกอุปถัมภ์) จึงได้เสนอแผนการพัฒนาของโรงเรียนร่วมกับชุมชน เพื่อต่อยอดการดำเนินงานโครงการเด็กไทยแก้มใสจากปีที่1โดยมีปณิธานอย่างมุ่งมั่นในการเจริญรอยตามพระยุคลบาท สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในการน้อมนำรูปแบบการบริหารจัดการที่ดีด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพของนักเรียนอย่างครบวงจรมาปฏิบัติเพื่อพัฒนาโรงเรียนให้เป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชนต่อยอดให้เป็นศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เพื่อให้การแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการและสุขภาพนักเรียนบรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมายต่อเนื่องอย่างยั่งยืน ตามผลที่คาดหวังของโครงการคือ1) เด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านน้ำขวบ-โนนดู่(กองทัพบกอุปถัมภ์)มีสุขภาพและพัฒนาการด้านร่างกายเติบโตสมวัยมีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้น รวมทั้งมีทักษะเพื่อการดำรงชีวิตที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง 2) โรงเรียนบ้านน้ำขวบ-โนนดู่(กองทัพบกอุปถัมภ์) มีรูปแบบลดปัญหาโภชนาการและสุขภาพของเด็กนักเรียนลงได้ มีความรู้และแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ3)พ่อแม่ผู้ปกครองและคนในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาเด็กนักเรียนในด้านต่างๆ ช่วยสร้างเสริมความอบอุ่นและความเข้มแข็งให้กับครอบครัวและชุมชน ตลอดจนเกิดความยั่งยืนในการดำเนินงาน 4) ชุมชนมีความตระหนักรู้และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพของเด็กนักเรียน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนา “การจัดการอาหาร โภชนาการและสุขภาพนักเรียนอย่างครบวงจรตามโครงการพระราชดำริ”เป็นโรงเรียนศูนย์การเรียนรู้เด็กไทยแก้มใส
  2. เพื่อส่งเสริม และพัฒนาการจัดการผลิตทางด้านการเกษตรทั้งในและนอกโรงเรียน
  3. เพื่อพัฒนาระบบการจัดการสุขภาวะ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. เด็กนักเรียนมีสุขภาพและพัฒนาการด้านร่างกายเติบโตสมวัย มีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้น รวมทั้งมีทักษะเพื่อการดำรงชีวิตที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง
    2. โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาโภชนาการและสุขภาพของเด็กนักเรียนลงได้ มีความรู้และแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการของเด็กนักเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
    3. พ่อแม่ผู้ปกครองและคนในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาเด็กนักเรียนในด้านต่างๆ ช่วยสร้างเสริมความอบอุ่นและความเข้มแข็งให้กับครอบครัวและชุมชน ตลอดจนเกิดความยั่งยืนในการดำเนินงาน
    4. ชุมชนมีความตระหนักรู้และตื่นตัวในการจัดการด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพของเด็กนักเรียน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. กิจกรรม 1 ครัว 1 สวนผักปลอดสารพิษ

    วันที่ 1 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    โรงเรียนส่งเสริมให้นักเรียนได้นำแนวทางการดำเนินการเกษตรอินทรีย์ที่ได้ฝึกปฏิบัติที่โรงเรียนได้นำไปใช้จริงที่บ้านเพื่อผลิตผลผลิตทางการเกษตรไว้รับประทานในครัวเรือน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เกษตรอินทรีย์ คือ การทำการเกษตรที่ไม่ใช้สารเคมี ซึ่งจะส่งผลต่ออาหารที่บริโภคในแต่ละวัน โดยมีขั้นตอน ดังนี้         1. การฝึกนักเรียนให้ความรู้ความสามารถในการทำการเกษตรอินทรีย์ โดยดำเนินการในชั่วโมงลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ และในเวลาที่ว่าง         2. รณรงค์การบริโภคผักที่ปลูกไว้รับประทานเองในครัวเรือน         3. ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษไว้รับประทานเองในครัวเรือน

     

    305 305

    2. ประชุมประกาศนโยบาย และความร่วมมือ

    วันที่ 13 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    การประชุม ครู นักเรียน และผู้ปกครอง เพื่อแจ้งความเป็นมาและความจำเป็นในการดำเนินการจัดตั้งศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส โดยมีลำดับขั้นตอนดังนี้ -ผู้อำนวยการกล่าวเปิดการประชุม และนำเสนอความเป็นมาของโครงการเด็กไทยแก้มใส
    -คณะครูนำเสนอรายละเอียดของโครงการเด็กไทยแก้มใส แนวทางในการดำเนินงานของศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    โรงเรียนได้นำเสนอความเป็นมาของโครงการ และแนวทางในการดำเนินงานของโครงการ โดยได้กำหนดผลการดำเนินงานของโครงการมีแนวทางคือให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง และให้เกิดผลต่อนักเรียนและชุมชนให้ได้มากที่สุด

     

    305 505

    3. กิจกรรมการเตรียมการดำเนินงานด้านการเกษตรด้วยระบบสหกรณ์

    วันที่ 16 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการผลิตผลผลิตทางการเกษตรเพื่อส่งขายต่อที่สหกรณ์โรงเรียน ให้นักเรียนมีส่วนร่วม 100 เปอร์เซนต์ มีขั้นตอนดังนี้         1. ให้นักเรียนเป็นสมาชิกของสหกรณ์โรงเรียน         2. มอบหมายให้นักเรียนรับผิดชอบผลิตผลผลิตทางการเกษตรเพื่อส่งให้สหกรณ์โรงเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนมีความรู้ความสามารถในการผลิตผลผลิตทางการเกษตร และระบบบริหารงานสหกรณ์โรงเรียน

     

    305 305

    4. การอบรมพัฒนาศักยภาพบุคลากร นักเรียนและชุมชน

    วันที่ 31 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประทานในพิธี บรรยายพิเศษ ความเป็นมาของโครงการ และกล่าวเปิดกิจกรรมอบรมพัฒนาบุคลากร ศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส พิธีลงนามความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่ให้ความร่วมมือดำเนินงานโครงการ ศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส การบรรยายเรื่อง ความสำคัญของสุขภาวะที่ดี และแนวทางในการสร้างสุขภาวะที่ดีกับตนเอง และนักเรียน การเฝ้าระวัง และปฏิบัติตนให้มีสุขภาวะที่ดี ความสำคัญของการจัดอาหารสำหรับคนแต่ละวัย และนักเรียน เพื่อให้นักเรียนเจริญเติบโตสมวัย การเลือกบริโภคอาหารที่มีคุณค่าทางอาหารที่เหมาะสม สัดส่วนอาหารในการบริโภคในแต่ละมื้อ การเลือกบริโภคอาหารที่มีคุณค่าในท้องถิ่นแทนการซื้ออาหารตามท้องตลาด ความสำคัญของการออกกำลังกาย การออกกำลังกายที่เหมาะสมตามวัย การบริหารร่างกายเพื่อสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง และการบริหารสุขภาพจิต ได้ฝึกปฏิบัติการออกกำลังกาย บริหารร่างกาย และการฝึกโยคะเพื่อร่างกายและสุขภาพจิตที่ดี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้เข้าร่วมอบรมได้ทราบถึงความสำคัญของสุขภาวะที่ดี และแนวทางในการสร้างสุขภาวะที่ดีกับตนเอง และนักเรียน การเฝ้าระวัง และปฏิบัติตนให้มีสุขภาวะที่ดี ผู้เข้าร่วมอบรมได้ทราบถึงความสำคัญของการจัดอาหารสำหรับคนแต่ละวัย และนักเรียน เพื่อให้นักเรียนเจริญเติบโตสมวัย การเลือกบริโภคอาหารที่มีคุณค่าทางอาหารที่เหมาะสม สัดส่วนอาหารในการบริโภคในแต่ละมื้อ การเลือกบริโภคอาหารที่มีคุณค่าในท้องถิ่นแทนการซื้ออาหารตามท้องตลาด ผู้เข้าร่วมอบรมไดทราบถึงความสำคัญของการออกกำลังกาย การออกกำลังกายที่เหมาะสมตามวัย การบริหารร่างกายเพื่อสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง และการบริหารสุขภาพจิต ได้ฝึกปฏิบัติการออกกำลังกาย บริหารร่างกาย และการฝึกโยคะเพื่อร่างกายและสุขภาพจิตที่ดี

     

    305 102

    5. อบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมอาชีพการเกษตร การปรับปรุงดินด้วยการปลูกพืชตระกูลถั่ว

    วันที่ 31 สิงหาคม 2559 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผู้อำนวยการเปิดกิจกรรม วิทยากรจากสำนักงานพัฒนาที่ดินจังหวัดศรีสะเกษแนะนำคณะวิทยากร บรรยายความสำคัญของการปรับปรุงพื้นที่เพื่อการเกษตร
    การใช้แฝกเพื่อควบคุมการชะล้างหน้าดิน การปรับปรุงดินโดยการปลูกพืชตระกูลถั่ว สายพันธุ์ของถั่วที่ใช้ปลูกปรับปรุงดิน วิธีการลดระยะพักตัวของเมล็ดพันธ์ุ ลงมือปฏิบัติการเก็บตัวอย่างดินเพื่อทดสอบคุณภาพดิน การคำนวณปริมาณเมล็ดถั่วที่จะปลูกต่อพื้นที่ ลงมือปฏิบ้ติการหว่านเมล็ดพันธุ์ถั่ว

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ความสำคัญของการปรับปรุงพื้นที่เพื่อการเกษตร
    การใช้แฝกเพื่อควบคุมการชะล้างหน้าดิน การปรับปรุงดินโดยการปลูกพืชตระกูลถั่ว สายพันธุ์ของถั่วที่ใช้ปลูกปรับปรุงดิน วิธีการลดระยะพักตัวของเมล็ดพันธ์ุ ลงมือปฏิบัติการเก็บตัวอย่างดินเพื่อทดสอบคุณภาพดิน การคำนวณปริมาณเมล็ดถั่วที่จะปลูกต่อพื้นที่ ลงมือปฏิบ้ติการหว่านเมล็ดพันธุ์ถั่ว

     

    65 65

    6. การประชุมเชิงปฏิบัติการ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดการสุขภาวะ

    วันที่ 20 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.พิธีเปิดการประชุมเชิงปฏิบัติการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดการสุขภาวะโดยนายบรรจง นวลแย้ม ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านน้ำขวบ-โนนดู่(กองทัพบกอุปถัมภ์) 2.กล่าวรายงานโดยนายตฤณ ทีงาม ผู้รับผิดชอบโครงการ 3.บรรยายพิเศษโดยผู้อำนวยการโรงเรียน 4.เจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนบึงมะลูบรรยายให้ความรู้เรื่องสุขภาวะ 5.ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กลุ่มย่อย 3 กลุ่ม *ผู้ปกครองเด็กมีภาวะเริ่มอ้วน และอ้วน *ผู้ปกครองเด็กมีภาวะค่อนข้างเตี้ย และเตี้ย *ผู้ปกครองเด็กมีภาวะค่อนข้างผอม และผอม 6.สรุปองค์ความรู้โดยเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนบึงมะลู 7.ตอบปัญหาข้อสงสัย 8.ตอบแบบประเมิน 9.ปิดการประชุม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต 1.บุคลากรในโรงเรียน 25 คน นักเรียน 280 คน ผู้ปกครองนักเรียน 31 คน เข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการจัดการสุขภาวะ ผลลัพธ์ 1.ผู้ปกครองนักเรียนกลุ่มเป้าหมายได้แนวทาง วิธีการปฏิบัติจัดการด้านสุขภาวะของนักเรียนเกี่ยวกับการภาวะการเจริญเติบโตของร่างกายเมื่อเริ่มมีภาวะเริ่มอ้วน และอ้วน ภาวะค่อนข้างเตี้ย และเตี้ย ภาวะค่อนข้างผอม และผอม

     

    25 56

    7. การจัดทำแผนการเรียนรู้ และกระบวนการจัดการเรียนรู้

    วันที่ 19 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    รายการดำเนินงาน จัดทำเอกสารแผนการเรียนรู้ พัฒนาการเรียนรู้ ตามเอกสารที่ได้รับการเผยแพร่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ครูมีแผนการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมกิจกรรมเด็กไทยแก้มใส

     

    25 23

    8. กิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกายภายในโรงเรียน

    วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    โรงเรียนบ้านน้ำขวบ-โนนดู่(กองทัพบกอุปถัมภ์) ส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อส่งเสริมสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง ดังนี้         1. จัดกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ในชั่วโมงสุดท้ายในแต่ละวัน ส่งเสริมการออกกำลังกายของนักเรียน         2. ส่งเสริมนักเรียนที่ีมีความสามารถทางด้านกีฬาเข้าร่วมแข่งขันความเป็นเลิศทางด้านกีฬา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนมีเวลาออกกำลังกายเพื่อส่งเสริมสุขภาพร่างกาย และส่งเสริมความเป็นเลิศด้านกีฬา

     

    305 303

    9. การฝึกปฏิบัติตนในช่วงเวลาการรับประทานอาหาร

    วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    โรงเรียนบ้านน้ำขวบ-โนนดู่(กองทัพบกอุปถัมภ์) จัดการฝึกให้นักเรียนปฏิบัติตนในการรับประทานอาหารที่ถูกต้อง มีมารยาทในการรับประทานอาหาร โดยดำเนินการปฏิบัติจริงในช่วงเวลาพักรับประทานอาหารกลางวัน เพื่อเป็นการฝึกให้นักเรียนได้นำไปปฏิบัติอย่างถูกต้องเหมาะสมที่บ้านของนักเรียนเอง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนรู้วิธีการปฏิบัติตนบนโต๊ะอาหาร และการบริการอาหารให้กับเพื่อนนักเรียนอย่างถูกสุขลักษณะ

     

    305 305

    10. การจัดบริการในห้องพยาบาล การให้บริการสุขภาพนักเรียน

    วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    โรงเรียนบ้านน้ำขวบ-โนนดู่(กองทัพบกอุปถัมภ์) จัดบริการสุขภาพ ดังนี้           1. ส่งเสริมการดูแลสุขภาพด้วยตนเอง ในรายวิชาสุขศึกษา           2. มีการแต่งตั้งครูปฏิบัติหน้าที่ประจำห้องพยาบาล           3. ปรับปรุงพัฒนาห้องพยาบาลให้พร้อมใช้งานอยู่เสมอ           4. ร่วมมือกับโรงเรียนพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลเพื่อเข้ารับการตรวจสุขภาพและเฝ้าระวังโรคเป็นประจำ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนมีห้องพยาบาลที่พร้อมใช้งาน ได้รับการตรวจสุขภาพอยู่เป็นประจำ

     

    305 303

    11. กิจกรรมฐานข้อมูลและสารสนเทศด้านการเกษตร

    วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    โรงเรียนบ้านน้ำขวบ-โนนดู่(กองทัพบกอุปถัมภ์) ได้ดำเนินการให้นักเรียนได้ปฏิบัติการด้านงานเกษตรและให้นักเรียนได้จดบันทึกการดำเนินการ การจัดทำรายรับรายจ่าย เพื่อใช้ในการประมาณการการด้านการเกษตร และใช้ในการพัฒนากิจกรรมด้านการเกษตรต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    โรงเรียนบ้านน้ำขวบ-โนนดู่(กองทัพบกอุปถัมภ์) มีข้อมูลสารสนเทศในการพัฒนางานด้านการเกษตรในปีการศึกษาต่อไป

     

    305 303

    12. กิจกรรมเฝ้าระวังสุขภาวะ ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงและทดสอบสมรรถภาพทางกายในนักเรียน

    วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    โรงเรียนบ้านน้ำขาบ-โนนดู่(กองทัพบกอุปถัมภ์) มีการเฝ้าระวังสุขภาวะ โดยมีการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และทดสอบสมรรถภาพร่างกายนักเรียนในช่วงต้นภาคเรียน และปลายภาคเรียน 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    โรงเรียนบ้านน้ำขวบโนนดู่(กองทัพบกอุปถัมภ์) ได้ทราบสภาพสุขภาวะของนักเรียน เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนาสุขภาวะของนักเรียนต่อไป

     

    305 303

    13. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ การดำเนินการพัฒนาและเพิ่มปริมาณการผลิตด้านการเกษตร

    วันที่ 2 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    โรงเรียนบ้านน้ำขวบ-โนนดู่(กองทัพบกอุปถัมภ์) ได้ดำเนินการอบรมเชิงปฏิบัติการ การดำเนินการพัฒนาและเพิ่มผลผลิตด้านการเกษตร
            วันที่ 1 มีนาคม 2560             ผู้อำนวยการกล่าวเปิดพิธี และบรรยายพิเศษ             ชมความเป็นมาของศูนย์พัฒนาการเกษตรภูสิงห์ อันเนื่องมาจากพระราชดำริ             อบรมการเกษตรอินทรีย์             การเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่             การเลี้ยงปลา และกบ         วันที่ 2 มีนาคม 2560             การพัฒนาดิน             การเพาะเห็ดเศรษฐกิจ             การเกษตรทฤษฎีใหม่             การปลูกมะนาวนอกฤดู

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียน และผู้ปกครอง มีความรู้ และทักษะในการดำเนินงานด้านเกษตรที่ปลอดสารพิษ เป็นแนวทางในการทำเกษตรปลอดภัย

     

    414 177

    14. การจัดนิทรรศการ และประมวลผลการจัดการโครงการตลอดปี

    วันที่ 19 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    การจัดนิทรรศการ และประมวลผลการจัดการโครงการตลอดปี เพื่อแสดงผลการดำเนินงานในทุกๆกิจกรรม มีการดำเนินการดังนี้         เปิดโครงการจัดนิทรรศการ และประมวลผลการจัดการโครงการ โดยผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านน้ำขวบ-โนนดู่(กองทัพบกอุปถัมภ์) และบรรยายพิเศษโครงการศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านน้ำขวบ-โนนดู่(กองทัพบกอุปถัมภ์)         ชมวีดีทัศน์ ผลการดำเนินงานศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส         ชมนิทรรศการการแสดงผลงานนักเรียนศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส         ชมการสาธิตการทำปุ๋ยหมัก น้ำหมัก         ชมการจัดการเกษตรในโรงเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    โรงเรียนบ้านน้ำขวบ-โนนดู่(กองทัพบกอุปถัมภ์) ได้เผยแพร่ผลงานการดำเนินงานโครงการ ผลงานนักเรียน และเผยแพร่ความรู้่การทำน้ำหมัก และปุ๋ยหมัก เพื่อส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษใว้บริโภคในครัวเรือน

     

    305 263

    15. คืนเงินเปิดบัญชีและดอกเบี้ยปิดบัญชีโครงการ

    วันที่ 23 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ถอนเงินเปิดบัญชีและดอกเบี้ยปิดบัญชีโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ถอนเงินเปิดบัญชี  จำนวน 500 บาท คืนโรงเรียน และดอกเบี้ยปิดบัญชีโครงการ จำนวน 69.61 บาท คืน สอส. เรียบร้อย

     

    0 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อพัฒนา “การจัดการอาหาร โภชนาการและสุขภาพนักเรียนอย่างครบวงจรตามโครงการพระราชดำริ”เป็นโรงเรียนศูนย์การเรียนรู้เด็กไทยแก้มใส
    ตัวชี้วัด : 1.โรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการจัดการสุขภาวะ 2.โรงเรียนจัดสำรับอาหารโดยใช้โปรแกรมThai School Lunch ทุกวัน 3.โรงเรียนนำผลผลิตทางการเกษตรทั้งหมดผ่านสหกรณ์นักเรียนส่งโครงการอาหารกลางวัน

    1.มีห้องที่เป็นแหล่งเรียนรู้มีสถานที่เป็นแหล่งเรียน เช่นห้องพยาบาล โรงอาหาร มีข้อมูลเกี่ยวกับสุขภาวะของนักเรียนเป็นรายชั้นเรียน และสรุปภาพรวมของโรงเรียน 2.โรงเรียนจัดสำรับอาหาร โดยใช้โปรแกรมThai School Lunch ทุกวัน 3.โรงเรียนนำผลผลิตทางการเกษตรทั้งหมดผ่านสหกรณ์นักเรียนส่งโครงการอาหารกลางวันทุกกิจกรรม

    2 เพื่อส่งเสริม และพัฒนาการจัดการผลิตทางด้านการเกษตรทั้งในและนอกโรงเรียน
    ตัวชี้วัด : 1.นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติงานด้านการเกษตรร้อยละ 100 ของนักเรียนทั้งหมด 2.มีการผลิตทางการเกษตรเพื่อส่งต่อโครงการอาหารกลางวันไม่ตำกว่าร้อยละ 30 ของผลผลิต ตลอดทั้งปี
    1. นักเรียนทุกห้องเรียนมีกิจกรรมด้านการเกษตรรับผิดชอบทุกชั้นเรียน ทุกคน
    2. โรงเรียนมีผลผลิตทางการเกษตรเพื่อส่งต่อโครงการอาหารกลางวันโดยผ่านสหกรณ์โรงเรียนไม่ตำกว่าร้อยละ 30 ของผลผลิต ตลอดทั้งปี
    3 เพื่อพัฒนาระบบการจัดการสุขภาวะ
    ตัวชี้วัด : 1.นักเรียนทุกคนได้ชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูงและทดสอบสมรรถภาพทางกาย 2.นักเรียนทุกคนออกกำลังกายในเวลาเช้าหลังกิจกรรมหน้าเสาธงทุกวัน วันละ 5 นาที 3.นักเรียนทุกคนได้รับการฝึกให้มีสุขนิสัยที่ดีในการรับประทานอาหารกลางวัน 4.นักเรียนทุกคนได้รับการบริการสุขภาพเบื้องต้น

    1.นักเรียนทุกคนได้ชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูงภาคเรียนละ 2 ครั้ง และทดสอบสมรรถภาพทางกาย ภาคเรียนละ 1 ครั้ง 2.นักเรียนทุกคนออกกำลังกายในเวลาเช้าหลังกิจกรรมหน้าเสาธงทุกวัน วันละ 5 นาที โดยการนำของนักเรียนชั้นมํัธยมศึกษาปีที่ 3 3. นักเรียนทุกคนได้รับการฝึกให้มีสุขนิสัยที่ดีในการรับประทานอาหารกลางวัน 4. นักเรียนทุกคนได้รับการบริการสุขภาพเบื้องต้นโดยครูประจำชั้นครูที่ปรึกษา

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนา “การจัดการอาหาร โภชนาการและสุขภาพนักเรียนอย่างครบวงจรตามโครงการพระราชดำริ”เป็นโรงเรียนศูนย์การเรียนรู้เด็กไทยแก้มใส (2) เพื่อส่งเสริม และพัฒนาการจัดการผลิตทางด้านการเกษตรทั้งในและนอกโรงเรียน (3) เพื่อพัฒนาระบบการจัดการสุขภาวะ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านน้ำขวบ-โนนดู่(กองทัพบกอุปถัมภ์)

    รหัสโครงการ ศรร.1311-073 รหัสสัญญา 58-00-2265-อ.27 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

    การศึกษาการทำปุ๋ยหมักจากใบยางพารา ในร่องยางพาราโดยสารเร่ง พด.1

    ได้รับการสนับนสนุนการทำงานวิจัย ในโครงการหมอดินน้อย โดยสถานีพัฒนาที่ดินศรีสะเกษ
    สนับวิทยากรให้ความรู้ และวัสดุอุปกรณ์ในการทำงานวิจัย

    1.ศึกษาการทำปุ๋ยหมักในรูปแบบอื่นๆ ที่จะเพิ่มความสะดวกในการทำงานของเกษตรกร 2.นำความรู้ที่ได้เผยแพร่สู่ชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

    การประดิษฐ์อุปกรณ์ทดสอบสมรรถนะร่างกาย อุปกรณ์วัดความยืดหยุ่นร่างกายจากวัสดุเหลือใช้

    การประดิษฐ์อุปกรณ์วัดความยืดหยุ่นร่างกายจากเก้าอี้แบบไม่มีที่พิง

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    โรงเรียนบ้านน้ำขวบ-โนนดู่(กองทัพบกอุปถัมภ์) จังหวัด ศรีสะเกษ

    รหัสโครงการ ศรร.1311-073

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายบรรจง นวลแย้ม )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด