ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านดอนข่า

รหัสโครงการ ศรร.1311-086 รหัสสัญญา 58-00-2265-อ.40 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน

อยู่อย่างพอเพียง

โรงเรียนมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมการผลิตอาหารที่ปลอดภัย ทางโรงเรียนได้เชิญปราชญ์ชุมชน ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง ผู้นำชุมชนหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เข้าร่วมเป็นวิทยากรและร่วมเรียนรู้ในการจัดกิจกรรมการปลูกผักสวนครัว รั้วกินได้ นักเรียนจะได้รับประทานหมุนเวียนกันในแต่ละเดือน แต่ละฤดูกาล มีไก่พันธุ์ไข่ นำไข่ที่ได้ไปจำหน่ายให้กับโรงการอาหารกลางวัน

การเป็นวิทยากรขยายผลการดำเนินงานให้กับสถานศึกษาหน่วยงานที่สนใจ และการจัดนิทรรศการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ขยายผลการนำหลักการบริหารจัดการของโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใสในโอกาสต่างๆ เพื่อให้ผู้สนใจได้ร่วมแลกเปลี่ยนประสบการณ์

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

หนึ่งคน 30 ทักษะอาชีพ

นักเรียนที่ร่วมเป็นสมาชิก นำเงินมาออมโดยเงินที่นำมาออมได้จากการนำผลผลิตที่ได้จากโครงการเด็กไทยแก้มใสไปจำหน่ายโดยการขายให้กับโครงการอาหารกลางวันตลาดนัดผักสวนครัวและขายในสหกรณ์ของโรงเรียนนำเงินที่ได้จากการขายมาบันทึกลงในบัญชีรับ-จ่ายของกลุ่ม หลังจากการเข้าร่วมโครงการกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนทำให้นักเรียนมีเงินออมรู้จักใช้เงินอย่างประหยัดมากขึ้นอยู่บนพื้นฐานของความพอประมาณ

การเป็นวิทยากรขยายผลการดำเนินงานให้กับสถานศึกษาหน่วยงานที่สนใจ และการจัดนิทรรศการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ขยายผลการนำหลักการบริหารจัดการของโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใสในโอกาสต่างๆ เพื่อให้ผู้สนใจได้ร่วมแลกเปลี่ยนประสบการณ์

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

โปรแกรม Thai School Lunch ตามมาตรฐานโภชนาการ

จัดรายการอาหารเป็นรายเดือน ซึ่งได้มาตรฐานโภชนาการมีคุณค่าทางโภชนาการเหมาะสมกับวัยของนักเรียนเอง และมีปริมาณพลังงานและสารอาหารในปริมาณที่เหมาะสมกับวัยมีครูเวรคอยทำหน้าที่กำกับดูแลเกี่ยวกับการตักอาหารของนักเรียนตามปริมาณและสัดส่วนของธงโภชนาการที่เหมาะสมกับวัย

การเป็นวิทยากรขยายผลการดำเนินงานให้กับสถานศึกษาหน่วยงานที่สนใจ และการจัดนิทรรศการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ขยายผลการนำหลักการบริหารจัดการของโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใสในโอกาสต่างๆ เพื่อให้ผู้สนใจได้ร่วมแลกเปลี่ยนประสบการณ์

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

การทำกิจกรรม BBL ก่อนเคารพธงชาติ

โรงเรียนมีโครงการที่ดำเนินการตามโครงการเด็กไทยแก้มใสและดำเนินงานตามโครงการฯโดยผู้บริหารร่วมกับครูคณะกรรมการสถานศึกษา และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ได้กำหนดโครงการลงในแผนปฏิบัติการ ชื่อ โครงการส่งเสริมสุขภาพ จากการดำเนินโครงการนักเรียนทุกคนได้รับการชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูง และทดสอบสมรรถภาพกายทั้ง 3 ด้านได้แก่การไหลเวียนโลหิตความแข็งแรงของกล้ามเนื้อและความอ่อนตัวมีการบันทึกข้อมูลน้ำหนักส่วนสูง และสมรรถภาพทางกายทั้ง 3 ด้านมีการแปลผลภาวะโภชนาการจากโปรแกรม Thai Growth และสมรรถภาพทางกายที่ถูกต้องตามเกณฑ์ชี้วัดเป็นปัจจุบัน

การเป็นวิทยากรขยายผลการดำเนินงานให้กับสถานศึกษาหน่วยงานที่สนใจ และการจัดนิทรรศการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ขยายผลการนำหลักการบริหารจัดการของโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใสในโอกาสต่างๆ เพื่อให้ผู้สนใจได้ร่วมแลกเปลี่ยนประสบการณ์

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

บูรณาการ

มีการจัดทำแผนกิจกรรมการพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพนักเรียนที่ครอบคลุมสุขนิสัยในด้านต่างๆ นักเรียนมีการปฏิบัติตามแผนกิจกรรมที่วางไว้ครอบคลุมทุกกิจกรรม โรงเรียนมีการติดตามและประเมินผลสุขนิสัยนักเรียน จาการเข้าร่วมโครงการทำให้นักเรียนแกนนำสามารถจัดกิจกรรมพัฒนาสุขนิสัยมีการติดตามประเมินผลด้วยตนเอง และขยายผลให้นักเรียนทุกคนในโรงเรียน

นักเรียนแกนนำสามารถจัดกิจกรรมพัฒนาสุขนิสัยมีการติดตามประเมินผลด้วยตนเอง และขยายผลโรงเรียนอื่น

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

โครงงาน big cleaning day

ได้รับความร่วมมือจาก ชุมชน และเครือข่ายท้องถิ่นในการพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนมีการจัดบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมและเพียงพอกับนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน ทุกวันตอนเช้าและหลังเลิกเรียนจะมีนักเรียนที่เป็นเจ้าหน้าที่ทำความสะอาดร่วมกันตรวจเช็คความสะอาดของบริเวณต่างๆ ของโรงเรียน และมีครูคอยให้คำปรึกษานอกจากนี้ยังเชิญสาธารณสุขจากโรงพยาบาลขุนหาญและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านม่วงแยกมาให้ความรู้เกี่ยวกับอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนอย่างถูกต้อง

การรณรงค์และขยายผลสู่ชุมชน เช่น การรณรงค์การทำความสะอาดห้องน้ำการคัดแยกขยะเป็นต้น และขยายผลโรงเรียนอื่น

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

การตรวจสุขภาพประจำเดือน

  • โรงเรียนมีการจัดกิจกรรมบริการสุขภาพนักเรียนตามแนวทางที่กำหนดภายใต้ความร่วมมือกับฝ่ายสาธรณสุขที่ดูแลโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง

  • มีห้องปฐมพยาบาลที่ถูกสุขลักษณะได้มาตรฐาน และมีครูอนามัยดูแลตลอดเวลา

  • จัดกิจกรรมเลือกนักเรียนแกนนำร่วมรับผิดชอบในการให้บริการสุขภาพ และนักเรียนทุกคนได้รับการตรวจสุขภาพเบื้องต้นตามมาตรฐาน

การเป็นวิทยากรขยายผลการดำเนินงานให้กับสถานศึกษาหน่วยงานที่สนใจ และการจัดนิทรรศการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ขยายผลการนำหลักการบริหารจัดการของโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใสในโอกาสต่างๆ เพื่อให้ผู้สนใจได้ร่วมแลกเปลี่ยนประสบการณ์

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

พอเพียง

โรงเรียนมีจัดการเรียนรู้ให้นักเรียนได้ปฏิบัติจริงในด้านการเกษตรโรงเรียนมีแผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการโดยมีกิจกรรมที่สอดคล้องกับเรื่องเกษตรสหกรณ์โภชนาการและสุขภาพครบทุกระดับชั้นในระดับประถมศึกษาปีที่ 1-6 มีการจัดกระบวนการเรียนรู้โดยแหล่งเรียนรู้เป็นฐานและให้นักเรียนได้เรียนรู้โดยการนำไปบูรณาการกับวิชาต่างๆ

การเป็นวิทยากรขยายผลการดำเนินงานให้กับสถานศึกษาหน่วยงานที่สนใจ และการจัดนิทรรศการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ขยายผลการนำหลักการบริหารจัดการของโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใสในโอกาสต่างๆ เพื่อให้ผู้สนใจได้ร่วมแลกเปลี่ยนประสบการณ์

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ
  • AAR
  • PLC

การทำ AAR ในการสะท้อนผล การดำเนินการแต่ละกิจกรรม และการตั้งวง PLC ทำให้โรงเรียนทราบถึงสาเหตุและต่อยอดกิจกรรมต่างๆ ได้เป็นอย่างดี

ขยายผลการขับเคลื่อนโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใสสู่ภายนอกสถานศึกษา เช่น ชุมชน สถานศึกษาอื่น หน่วยงานต่างๆ เผยแพร่และเป็นที่ยอมรับระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่ และระดับประเทศ

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

ในการดำเนินกิจกรรมทางโรงเรียนได้รับความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายช่วยเหลือ ได้แก่ คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง ผู้นำชุมชนรพ.สต. บ้านม่วงแยก ประมงอำเภอขุนหาญ องค์การบริหารส่วนตำบล เกษตรอำเภอขุนหาญ สาธารณสุขอำเภอขุนหาญ ทหารพราน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

โรงเรียนบ้านดอนข่า มีสภาพบริบทของโรงเรียนที่เอื้อต่อการเรียนรู้ และมีภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้เชิญชุมชนมาร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน มีการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรของชุมชน เช่น แหล่งเรียนรู้ในชุมชน สวนตะไคร้ในท้องถิ่น การแปรรูปอาหาร สวนสมุนไพรท้องถิ่น เป็นต้น จากการดำเนินการร่วมกัน ส่งผลให้โรงเรียนมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

  1. การบริหารจัดการของโรงเรียนที่ทำอย่างเป็นระบบ
  2. การนิเทศก์ติดตามของผู้บริหาร
  3. การทำงานอย่างต่อเนื่อง

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

1.ครูเข้าใจกระบวนการทำงานอย่างเป็นระบบ โดยในการจัดกิจกรรมต่างๆ หลังจากการทำกิจกรรมแล้วนั้น จะมีการประชุม การทำ PLC เพื่อทำให้ทราบถึงปัญหา อุปสรรค นำผลที่ได้ไปวิเคราะห์ เป็นองค์ความรู้

2.นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจจากการทำเกษตรในโรงเรียน นำผลผลิตที่ได้ไปจำหน่ายให้กับสหกรณ์นักเรียน ซี่งผลผลิตที่ได้นำไปประกอบอาหารให้นักเรียนได้รับประทาน ซึ่งจัดรายการอาหารเป็นรายเดือน ซึ่งได้มาตรฐานโภชนาการมีคุณค่าทางโภชนาการเหมาะสมกับวัย

3.แม่ครัว มีความรู้ความเข้าใจโดยการนำผลผลิตจากการเกษตรที่ได้มาใช้ในการประกอบอาหารในแต่ละวัน

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

ผู้ปกครองและชุมชนมาร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เช่น เชิญเป็นวิทยากรด้านภูมิปัญญาท้องถิ่น ประวัติศาสตร์ชุมชน และมีการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรของชุมชน เช่น แหล่งเรียนรู้ในชุมชน สวนตะไคร้ในท้องถิ่น การแปรรูปอาหาร สวนสมุนไพรท้องถิ่น เป็นต้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

ทางโรงเรียนมีการวางแผนในการปลูกผักอย่างเป็นระบบ โดยการปลูกผักหมุนเวียนกันตามฤดูกาล เพื่อนำเข้าสหกรณ์นักเรียน และนำไปจำหน่ายให้แก่โครงการ

  • สมุดบันทึก

  • บัญชีโครงการอาหารกลางวันของโรงเรียน

  • บัญชีโครงการอาหารกลางวันของแต่ละชั้น

  • บัญชีบวบ

  • บัญชีถั่ว

การปลูกพืชอย่างต่อเนื่องและการทำงานอย่างเป็นระบบ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

ทางโรงเรียนมีการเลี้ยงไก่พันธุ์พื้นบ้าน นำไข่จากการเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่ การเลี้ยงเป็ด การเลี้ยงหมูหลุม นำไปประกอบอาหารให้แก่นักเรียน

  • สมุดบันทึก

  • บัญชีโครงการอาหารกลางวันของโรงเรียน

  • บัญชีไก่ไข่

การดูแลสัตว์เลี้ยงเพื่อให้นักเรียนได้รบสารอาหารที่ครบถ้วน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

ทางโรงเรียนมีการเลี้ยงปลาดุก ปลากินพืช กบ นำไปประกอบอาหารให้แก่นักเรียน

  • สมุดบันทึก

  • บัญชีโครงการอาหารกลางวันของโรงเรียน

การเลี้ยงสัตว์ที่หลากหลาย เพื่อใช้ในการประกอบอาหารที่หลากหลาย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

 

 

 

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

ทางโรงเรียนมีการจัดบริการอาหารที่เหมาะสมกับวัย

  • ข้อมูลการจัดบริหารอาหารของนักเรียน

จัดให้นักเรียนบริโภคผักและผลไม้ที่หลากหลาย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

ทางโรงเรียนมีการจัดบริการอาหารที่เหมาะสมกับวัย

  • ข้อมูลการจัดบริหารอาหารของนักเรียน

จัดให้นักเรียนบริโภคผักและผลไม้ที่หลากหลาย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

ทางโรงเรียนมีการจัดบริการอาหารที่เหมาะสมกับวัย

  • ข้อมูลการจัดบริหารอาหารของนักเรียน

จัดให้นักเรียนบริโภคผักและผลไม้ที่หลากหลาย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

เชิญเป็นวิทยากรด้านภูมิปัญญาท้องถิ่น มีการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรของชุมชน เช่น แหล่งเรียนรู้ในชุมชน สวนตะไคร้ในท้องถิ่น การแปรรูปอาหาร สวนสมุนไพรท้องถิ่น เพื่อนำมาประกอบอาหารเป็นต้น

  • ภาพกิจกรรม

  • สมุดบันทึก

การร่วมกันสรุปฟล รณรงค์การผลิตอาหารที่ปลอดภัยไร้สารพิษ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

ทางโรงเรียนมีครูผู้รับผิดชอบ จัดทำข้อมูลในการประกอบอาหารในแต่ละเดือน โดยการใช้โปรแกรม Thai School Lunch

  • ข้อมูล Thai School Lunch จัดเป็นรายเดือน
  • จากการทำบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียนโดยการใช้โปรแกรม Thai School Lunch โรงเรียนทำได้อย่างสมบูรณ์ แนวทางการต่อยอดขยายผลให้แก่ครู นักเรียน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมากยิ่งขึ้น

  • เนื่องจากทางโรงเรียนส่วนใหญ่มีฐานะยากจน นักเรียนบางคนได้รับประทานเฉพาะอาหารเที่ยงในการจัดบริการอาหารตามโปรแกรม โปรแกรม Thai School Lunch ในปริมาณของเนื้อสัตว์หรือผัก ควรมีปริมาณเพิ่มขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

ทางโรงเรียนมีการติดตามภาวะโชนาการอย่างครบถ้วน โดยการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง นำข้อมูลที่ได้ไปคำนวณในโปรแกรม Thai Growth

  • ข้อมูลที่ได้จากการคำนวณจากโปรแกรม Thai Growth

  • ข้อมูลการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง

จัดการบริโภคอาหารเสริมนม และโปรตีนให้มากขึ้นเพื่อให้นักเรียนได้รับสารอาหารเพิ่มมากขึ้น

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 1/12558 1/22558 2/12558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 1/22560 2/12560 2/22561 1/12561 1/22561 2/12561 2/22562 1/12562 1/22562 2/12562 2/22563 1/12563 1/2
เตี้ย 10.26 10.26% 6.41 6.41% 3.85 3.85% 1.28 1.28% 7.79 7.79% 7.79 7.79% 9.46 9.46% 1.33 1.33% 3.66 3.66% 3.66 3.66% 2.47 2.47% 2.47 2.47% 4.82 4.82% 4.82 4.82% 3.57 3.57% 2.38 2.38% 1.27 1.27% 3.75 3.75% 3.80 3.80% 5.06 5.06% 2.78 2.78% 2.90 2.90%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 23.08 23.08% 20.51 20.51% 16.67 16.67% 12.82 12.82% 25.97 25.97% 20.78 20.78% 33.78 33.78% 2.67 2.67% 14.63 14.63% 7.32 7.32% 3.70 3.70% 4.94 4.94% 10.84 10.84% 15.66 15.66% 10.71 10.71% 5.95 5.95% 6.33 6.33% 7.50 7.50% 6.33 6.33% 8.86 8.86% 9.72 9.72% 8.70 8.70%
ผอม 1.28 1.28% 1.28 1.28% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 2.60 2.60% 1.30 1.30% 2.74 2.74% 1.33 1.33% 7.32 7.32% 12.20 12.20% 9.88 9.88% 3.70 3.70% 15.66 15.66% 12.05 12.05% 8.33 8.33% 0.00 0.00% 7.59 7.59% 2.50 2.50% 1.30 1.30% 0.00 0.00% 1.39 1.39% 1.45 1.45%
ผอม+ค่อนข้างผอม 3.85 3.85% 3.85 3.85% 1.28 1.28% 1.28 1.28% 20.78 20.78% 14.29 14.29% 8.22 8.22% 6.67 6.67% 17.07 17.07% 24.39 24.39% 17.28 17.28% 9.88 9.88% 20.48 20.48% 21.69 21.69% 11.90 11.90% 8.33 8.33% 17.72 17.72% 7.50 7.50% 2.60 2.60% 7.59 7.59% 6.94 6.94% 5.80 5.80%
อ้วน 2.56 2.56% 1.28 1.28% 1.28 1.28% 1.28 1.28% 2.60 2.60% 2.60 2.60% 1.37 1.37% 1.33 1.33% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 2.47 2.47% 2.47 2.47% 1.20 1.20% 2.41 2.41% 1.19 1.19% 1.19 1.19% 2.53 2.53% 3.75 3.75% 3.90 3.90% 5.06 5.06% 2.78 2.78% 1.45 1.45%
เริ่มอ้วน+อ้วน 7.69% 7.69% 5.13% 5.13% 3.85% 3.85% 1.28% 1.28% 6.49% 6.49% 6.49% 6.49% 5.48% 5.48% 4.00% 4.00% 4.88% 4.88% 3.66% 3.66% 3.70% 3.70% 4.94% 4.94% 4.82% 4.82% 4.82% 4.82% 3.57% 3.57% 4.76% 4.76% 5.06% 5.06% 11.25% 11.25% 14.29% 14.29% 12.66% 12.66% 8.33% 8.33% 5.80% 5.80%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

จากการจัดบริการอาหาร ทำให้นักเรียนมีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง เนื่องจากทางโรงเรียนมีการแบ่งนักเรียนตามภาวะต่างๆ ในการรับประทานอาหาร เช่น กลุ่มอ้วน กลุ่มผอม กลุ่มสมส่วน หลังจากการจัดกลุ่มทำให้นักเรียนมีภาวะดีขึ้น โดยผลที่เกิดขึ้นคือ ในปีการศึกษา 2559 เด็กที่มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลงมีค่าร้อยละลดลง จากร้อยละ 6.49 เหลือร้อยละ 4

  • ภาพกิจกรรม
  • ข้อมูลแปลผลภาวะโภชนาการใช้โปรแกรม Thai Growth ข้อมูลการบันทึกจากโปรแกรมมหิดล

รณรงค์ให้ความรู้ เรื่อง การรับประมานอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ และการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

จากการจัดบริการอาหาร ทำให้นักเรียนมีภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง เนื่องจากทางโรงเรียนมีการแบ่งนักเรียนตามภาวะต่างๆ ในการรับประทานอาหาร เช่น กลุ่มอ้วน กลุ่มผอม กลุ่มสมส่วน หลังจากการจัดกลุ่มทำให้นักเรียนมีภาวะดีขึ้น โดยผลที่เกิดขึ้นคือ ในปีการศึกษา 2559 เด็กที่มีภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลงมีค่าร้อยละลดลง จากร้อยละ 20.78 เหลือร้อยละ 6.67

  • ภาพกิจกรรม
  • ข้อมูลแปลผลภาวะโภชนาการใช้โปรแกรม Thai Growth ข้อมูลการบันทึกจากโปรแกรมมหิดล

รณรงค์ให้ความรู้ เรื่อง การรับประมานอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ การเสริมอาหาร และการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

จากการจัดบริการอาหาร ทำให้นักเรียนมีภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง เนื่องจากทางโรงเรียนมีการแบ่งนักเรียนตามภาวะต่างๆ ในการรับประทานอาหาร เช่น กลุ่มเตี้ยกลุ่มสูง หลังจากการจัดกลุ่มทำให้นักเรียนมีภาวะดีขึ้น โดยผลที่เกิดขึ้นคือ ในปีการศึกษา 2559 เด็กที่มีภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลงมีค่าร้อยละลดลง จากร้อยละ 25.97 เหลือร้อยละ 2.67

  • ภาพกิจกรรม
  • ข้อมูลแปลผลภาวะโภชนาการใช้โปรแกรม Thai Growth ข้อมูลการบันทึกจากโปรแกรมมหิดล

รณรงค์ให้ความรู้ เรื่อง การรับประมานอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ การเสริมอาหาร และการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

หลังจากการจัดบริการอาหาร ทำให้นักเรียนมีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง โดยการสังเกตนักเรียนเป็นรายบุคคลและนำข้อมูลที่จัดกิจกรรมไปใช้ในการคำนวณ นักเรียนที่มีภาวะต่างๆ ดีขึ้นจะได้เข้ากับกลุ่มที่สมส่วน

  • ภาพกิจกรรม
  • ข้อมูลแปลผลภาวะโภชนาการใช้โปรแกรม Thai Growth ข้อมูลการบันทึกจากโปรแกรมมหิดล

การจัดบริการอาหารที่โรงเรียน โรงเรียนจัดบริการอาหารมื้อกลางวัน ส่วนมื้อเช้าและเย็นนักเรียนจะรับประทานที่บ้าน ทางโรงเรียนจึงมีก่ารรณรงค์ให้คววามรู้เกี่ยวกับการรับประทานอาหารอย่างถูกสุขลักษณะเพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนา

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการแก้ปัญหาโดยทางโรงเรียนจัดอบรมให้ความรู้ และการให้ผู้ปกครองสร้างแรงจูงใจให้แก่นักเรียนในการรับประทานอาหาร

  • ภาพถ่าย

  • สมุดลงเวลาการประชุม

สร้างความตระหนักให้แก่ผู้ปกครองในการดูแลเรื่องการรับประทานอาหารที่ถูกสุขลักษณะ อาหารที่ไม่มีประโยชน์ต่างๆ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

ในการดำเนินกิจกรรมทางโรงเรียนได้รับความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายช่วยเหลือ ได้แก่ คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง ผู้นำชุมชนรพ.สต. บ้านม่วงแยก ประมงอำเภอขุนหาญ องค์การบริหารส่วนตำบล เกษตรอำเภอขุนหาญ สาธารณสุขอำเภอขุนหาญ ทหารพราน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh