ชื่อโรงเรียน | โรงเรียนบ้านดอนข่า |
สังกัด | สพป.ศรีสะเกษ เขต 4 |
หน่วยงานต้นสังกัด | สพป.ศรีสะเกษ เขต 4 |
ที่อยู่โรงเรียน | หมู่ที่ 5 ตำบลพราน อำเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ 33150 |
จำนวนนักเรียน | 65 คน |
ช่วงชั้น | ปฐมวัย,อนุบาล,ประถม |
ผู้อำนวยการ | นางอาภรณ์ บุญเฟรือง |
ครูผู้รับผิดชอบ | ว่าที่ร้อยตรีหญิงวราภรณ์ กาลพัฒน์ นางสาววรณภัทรชญณ์ พิชญวัฒนโภคิน และนางสาวภัทรวดี บุญทอง |
- 277176716_5494870357213309_5934074201512240935_n (1).jpg
- LINE_ALBUM_เด็กไทย 2_๒๒๐๓๓๑_10.jpg
- LINE_ALBUM_เด็กไทย 2_๒๒๐๓๓๑_15.jpg
- LINE_ALBUM_เด็กไทย 2_๒๒๐๓๓๑_22.jpg
- LINE_ALBUM_เด็กไทย 2_๒๒๐๓๓๑_29.jpg
- LINE_ALBUM_เด็กไทย 2_๒๒๐๓๓๑_31.jpg
- LINE_ALBUM_เด็กไทย 2_๒๒๐๓๓๑_34.jpg
- LINE_ALBUM_เด็กไทย 2_๒๒๐๓๓๑_38.jpg
- LINE_ALBUM_เด็กไทย 2_๒๒๐๓๓๑_45.jpg
- LINE_ALBUM_เด็กไทย 2_๒๒๐๓๓๑_46.jpg
- LINE_ALBUM_เด็กไทย 2_๒๒๐๓๓๑_47.jpg
- LINE_ALBUM_เด็กไทย 2_๒๒๐๓๓๑_61.jpg
กิจกรรม “บวร” ร่วมใจพัฒนาการเรียนรู้ ดังนี้
1. การจัดการสภาพแวดล้อมในสถานศึกษาที่เหมาะสม เอื้อต่อการมีวิถีชีวิตสุขภาวะ
2. การส่งเสริมการเรียนรู้ด้านการเกษตรปลอดภัยและผลผลิตจากชุมชนในการประกอบอาหารและเครื่องดื่ม
3. ถอดบทเรียน/ สรุปผลการดำเนินการ
มีการจัดการสภาพแวดล้อมในสถานศึกษาที่เหมาะสม เอื้อต่อการมีวิถีชีวิตสุขภาวะ ส่งเสริมการเรียนรู้ด้านการเกษตรปลอดภัยและผลผลิตจากชุมชนในการประกอบอาหารและเครื่องดื่ม
- 277172032_5494872107213134_1560740314134054182_n.jpg
- 277172189_5494875033879508_7980626034006407768_n.jpg
- 277173121_5494872443879767_7469485435534638623_n.jpg
- 277173999_5494871650546513_3251527844011283127_n.jpg
- 277174943_5494873693879642_5567435047951482431_n.jpg
- 277175232_5494870740546604_4280826921937537460_n.jpg
- 277176137_5494873037213041_1587460727933290506_n.jpg
- 277177152_5494870990546579_3729162275645825049_n.jpg
- 277178771_5494872310546447_2260843657817099904_n.jpg
- 277220113_5494871380546540_8888646108630779703_n.jpg
- 277220929_5494872627213082_7190007136537305854_n.jpg
กิจกรรมการประชุมเชิงปฏิบัติการการแต่งตั้งคณะกรรมการการกำหนดนโยบายส่งเสริมด้านอาหาร โภชนาการและสุขภาพนักเรียน โดยการมีส่วนร่วม ดังนี้
1. สถานศึกษามีนโยบายและแผนการส่งเสริมด้านอาหารโภชนาการและสุขภาพนักเรียน
2. มีการนำข้อมูลสถานการณ์ปัจจุบันด้านการจัดบริการอาหาร สภาวะแวดล้อมทางสุขอนามัยและสุขภาพนักเรียน มาใช้ในการวิเคราะห์จัดทำแผน
3. มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการส่งเสริมด้านอาหารและสุขภาพนักเรียน และมีการประชุมขับเคลื่อนงานตามนโยบาย
4. มีการลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ ระหว่างสถานศึกษา กับผู้รับจ้างประกอบอาหารปรุงสำเร็จ /เกษตรกร และผู้เกี่ยวข้อง ในการจัดซื้อ จัดหาวัตถุดิบที่ปลอดภัย
5. มีเอกสาร สรุปรายงานผลการปฏิบัติงาน
6. ถอดบทเรียน/ สรุปผลการดำเนินการ
สถานศึกษามีนโยบายและแผนการส่งเสริมด้านอาหารโภชนาการและสุขภาพนักเรียน มีการนำข้อมูลสถานการณ์ปัจจุบันด้านการจัดบริการอาหาร สภาวะแวดล้อมทางสุขอนามัยและสุขภาพนักเรียน มาใช้ในการวิเคราะห์จัดทำแผน มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการส่งเสริมด้านอาหารและสุขภาพนักเรียน และมีการประชุมขับเคลื่อนงานตามนโยบาย มีการลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ ระหว่างสถานศึกษา กับผู้รับจ้างประกอบอาหารปรุงสำเร็จ /เกษตรกร และผู้เกี่ยวข้อง ในการจัดซื้อ จัดหาวัตถุดิบที่ปลอดภัย
คืนดอกเบี้ย เพื่อปิดโครงการ
เข้าร่วมการจัดประชุมรายงานการเงินงวดที่ 2
จากการดำเนินกิจกรรม ครูสามารถสรุปรายงานตามความเป็นจริงได้
เข้าร่วมการจัดประชุมรายงานการเงินงวดที่ 1
ครูสามารถสรุปรายงานตามความเป็นจริงได้
- 274595863_5413702008663478_3351953801910330950_n.jpg
- 274598920_5413702931996719_1564083735792302818_n.jpg
- 274604491_5413702348663444_1082186737696294213_n.jpg
- 274609380_5413702635330082_3082093551064260250_n.jpg
- 274642118_5413701631996849_3374885943811313640_n.jpg
- S__3735707.jpg
- S__3735706.jpg
- S__3735708.jpg
- S__3735709.jpg
- S__24035342.jpg
- 116254.jpg
กิจกรรมสุขภาพดีมีทุกวัน ดังนี้
1. การเฝ้าระวังพฤติกรรมการบริโภคและการดูแลสุขภาพอนามัยของนักเรียน
2. การเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ และจัดทำระบบสารสนเทศ
3. การคัดกรองนักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการและการแก้ไขแบบมีส่วนร่วม
4. ถอดบทเรียน/ สรุปผลการดำเนินการ
มีการเฝ้าระวังพฤติกรรมการบริโภคและการดูแลสุขภาพอนามัยของนักเรียน จัดทำระบบสารสนเทศ การคัดกรองนักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการและการแก้ไขแบบมีส่วนร่วม
กิจกรรมแกนนำด้านอาหารโภชนาการและส่งเสริมสุขภาพ ดังนี้
1. การจัดอาหารกลางวันตามมาตรฐานโภชนาการ
2. การตรวจสอบคุณภาพอาหารกลางวันด้านคุณค่าทางโภชนาการและลดหวาน มัน เค็ม
3. การตรวจสอบอาหารว่างขนม เครื่องดื่ม ที่จัดบริการ และจำหน่ายในสถานศึกษา
4. การส่งเสริม พฤติกรรมการบริโภค ที่เหมาะสม (เพิ่ม ผักผลไม้ ลดหวานมันเค็ม) โดยการมีส่วนร่วม
5. ถอดบทเรียน/ สรุปผลการดำเนินการ
มีการจัดอาหารกลางวันตามมาตรฐานโภชนาการ โดยผ่านการตรวจสอบคุณภาพอาหารกลางวันด้านคุณค่าทางโภชนาการและลดหวาน มัน เค็ม ตรวจสอบอาหารว่างขนม เครื่องดื่ม ที่จัดบริการ และจำหน่ายในสถานศึกษา นอกจากนี้ยังมีการส่งเสริม พฤติกรรมการบริโภค ที่เหมาะสม (เพิ่ม ผักผลไม้ ลดหวานมันเค็ม) โดยการมีส่วนร่วม
กิจกรรมการขับเคลื่อนนโยบายด้านอาหารโภชนาการและสุขภาพนักเรียนสู่การปฏิบัติ ดังนี้
1. สถานที่บริโภคอาหาร สถานที่เตรียม ปรุง ประกอบอาหาร
2. อาหาร กรรมวิธีการทำ ประกอบหรือปรุง และการเก็บรักษาอาหาร
3. ผลิตภัณฑ์ปรุงรส ที่ใช้ในการประกอบอาหาร
4. สุขลักษณะของภาชนะ อุปกรณ์ และเครื่องใช้อื่น ๆ
5. สุขลักษณะส่วนบุคคลของแม่ครัว และผู้สัมผัสอาหาร
6. น้ำดื่ม/ น้ำใช้/ น้ำแข็ง
7. การตรวจสอบและการเก็บรักษาคุณภาพอาหารเสริม (นม)
8. การเฝ้าระวังทางสุขาภิบาลอาหาร
9. ถอดบทเรียน/ สรุปผลการดำเนินการ
สถานศึกษามีสถานที่บริโภคอาหาร สถานที่เตรียม ปรุง ประกอบอาหาร กรรมวิธีการทำ ประกอบหรือปรุง และการเก็บรักษาอาหาร ผลิตภัณฑ์ปรุงรส ที่ใช้ในการประกอบอาหารที่สุขลักษณะของภาชนะ อุปกรณ์ และเครื่องใช้อื่น ๆ มีการตรวจสอบและการเก็บรักษาคุณภาพอาหารเสริม (นม) และการเฝ้าระวังทางสุขาภิบาลอาหาร
ประชุมสรุปผลการดำเนินงาน
โครงการศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
08.00-09.00 ผู้เข้าร่วมประชุมลงทะเบียน
09.00-09.30 พิธีเปิด
- ประธานจุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย/พิธีกรนำกล่าวสวดมนต์
- ร่วมร้องเพลงสรรเสริญพระบารมี โดยพร้อมเพรียงกัน
- เชิญประธานที่แท่นรับกล่าวรายงาน ตัวแทนกล่าวรายงาน
- ประธานในพิธีกล่าวให้โอวาทและเปิดงาน 09.30-10.30 บรรยายพิเศษ โดย นางวิชุดา ชัยชาญ ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดอนข่า
10.30-10.45 พักรับประทานอาหารว่าง
10.45-12.00 ประชุมสรุปผลการดำเนินงาน
12.00-13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00-14.30 ถอดบทเรียน
14.30-14.45 พักรับประทานอาหารว่าง
14.45-16.30 สรุปองค์ความรู้/แนวทางพัฒนา/การต่อยอด ขยายผล
หมายเหตุ วันและเวลาอาจเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม
จากการดำเนินกิจกรรม ผู้เข้าร่วมรับการอบรมได้มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม นำความรู้ที่ได้จากการดำเนินโครงการศูนย์การเรียนรู้
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชุมชนที่ร่วมโครงการ
08.00-09.00 ผู้เข้าร่วมประชุมลงทะเบียน
09.00-09.30 พิธีเปิด
- ประธานจุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย/พิธีกรนำกล่าวสวดมนต์
- ประธานจุดธูปเทียน เครื่องทองน้อย และกราบที่แท่นกราบ
- ประธานในพิธีกล่าวน้อมรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณ และถวายอาลัยพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุยเดช
- ผู้เข้าร่วมกิจกรรมยืนสงบนิ่ง 89 วินาที เพื่อไว้อาลัย
- ร่วมร้องเพลงสรรเสริญพระบารมี โดยพร้อมเพรียงกัน
- เชิญประธานที่แท่นรับกล่าวรายงาน ตัวแทนกล่าวรายงาน
- ประธานในพิธีกล่าวให้โอวาทและเปิดงาน
09.30-10.30 บรรยายพิเศษ โดย นางวิชุดา ชัยชาญ ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดอนข่า
10.30-10.45 พักรับประทานอาหารว่าง
10.45-12.00 ชมนิทรรศการ
12.00-13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00-14.30 ถอดบทเรียน
14.30-14.45 พักรับประทานอาหารว่าง
14.45-16.30 สรุปองค์ความรู้/แนวทางพัฒนา/การต่อยอด ขยายผล
หมายเหตุ วันและเวลาอาจเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม
จากการดำเนินกิจกรรม โรงเรียนจัดนิทรรศการในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ซึ่งจัดขึ้น ณ โรงเรียนบ้านดอนข่า ในวันจัดกิจกรรมมีครู นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมโดยนักเรียนแต่ละชั้น นำผลผลิตของชั้นตนเองมาจำหน่ายให้แก่เข้าร่วมกิจกรรมครั้งนี้ สร้างรายได้ให้แก่นักเรียน ปลูกฝังการรู้จักคุณค่าของสิ่งที่มีอยู่ในโรงเรียน ชุมชน มาแปรรูปและนำไปจำหน่ายๆ ได้
การอบรมให้ความรู้เรื่อง การแปรรูปอาหารและการถนอมอาหาร
08.00-09.00 ผู้เข้าร่วมประชุมลงทะเบียน
09.00-09.30 พิธีเปิด
- ประธานจุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย/พิธีกรนำกล่าวสวดมนต์
- ประธานจุดธูปเทียน เครื่องทองน้อย และกราบที่แท่นกราบ
- ประธานในพิธีกล่าวน้อมรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณ และถวายอาลัยพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุยเดช
- ผู้เข้าร่วมกิจกรรมยืนสงบนิ่ง 89 วินาที เพื่อไว้อาลัย
- ร่วมร้องเพลงสรรเสริญพระบารมี โดยพร้อมเพรียงกัน
- เชิญประธานที่แท่นรับกล่าวรายงาน ตัวแทนกล่าวรายงาน
- ประธานในพิธีกล่าวให้โอวาทและเปิดงาน
09.30-10.30 บรรยายพิเศษ โดย นางวิชุดา ชัยชาญ ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดอนข่า
10.30-10.45 พักรับประทานอาหารว่าง
10.45-12.00 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเรียนรู้ “การแปรรูปอาหารและการถนอมอาหาร”
12.00-13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00-14.30 ถอดบทเรียน
14.30-14.45 พักรับประทานอาหารว่าง
14.45-16.30 สรุปองค์ความรู้/แนวทางพัฒนา/การต่อยอด ขยายผล
หมายเหตุ วันและเวลาอาจเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม
จากการดำเนินกิจกรรมนักเรียนได้นำผลผลิตที่มีในโรงเรียนมาแปรรูป ได้แก่ การทำน้ำฟักข้าวการทำวุ้นมะพร้าว การทำกล้วยฉาบกล้วยเชื่อม จากการจัดกิจกรรมฝึกให้นักเรียนมีการวางแผนศึกษาการแปรรูปผลผลิตต่างๆ บูรณาการกับวิชาพอเพียง นักเรียนได้เรียนรู้ในการแปรรูปอาหารที่เหมาะกับวัยของผู้เรียน ผลผลิตที่นำมาใช้มรอยู่ในโรงเรียน ประหยัดค่าใช้จ่าย เพิ่มรายได้ให้แก่นักเรียน ลดค่าใช้จ่าย
- ทุกวันจันทร์ถึงศุกร์ ช่วงเช้าก่อนทำกิจกรรมหน้าเสาธงทางโรงเรียนให้นักเรียนออกกำลังกายในสนาม BBL
- ทุกวันอังคารและวันพฤหัสบดี จัดกิจกรรมโยคะให้แก่นักเรียน
- จัดกิจกรรมแอโรบิก กิจกรรมฮูลาฮูพในทุกวันอังคารหลังเลิกเรียน
- กิจกรรมชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และวัดรอบเอว จัดกิจกรรมภาคเรียนละ 2 ครั้ง
จากการดำเนินโครงการนักเรียนทุกคนได้รับการชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูง และทดสอบสมรรถภาพกายทั้ง 3 ด้านได้แก่การไหลเวียนโลหิตความแข็งแรงของกล้ามเนื้อและความอ่อนตัวมีการบันทึกข้อมูลน้ำหนักส่วนสูง และสมรรถภาพทางกายทั้ง 3 ด้านมีการแปลผลภาวะโภชนาการจากโปรแกรม Thai Growth และสมรรถภาพทางกายที่ถูกต้องตามเกณฑ์ชี้วัดเป็นปัจจุบัน ทำให้นักเรียนมีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง โดยการสังเกตนักเรียนเป็นรายบุคคลและนำข้อมูลที่จัดกิจกรรมไปใช้ในการคำนวณ นักเรียนที่มีภาวะต่างๆ ดีขึ้นจะได้เข้ากับกลุ่มที่สมส่วน
การอบรมให้ความรู้เรื่อง ส่งเสริมการผลิตอาหารที่ปลอดภัย
“การปลูกผักสวนครัว รั้วกินได้และการเลี้ยงหมูหลุม”
08.00-09.00 ผู้เข้าร่วมประชุมลงทะเบียน
09.00-09.30 พิธีเปิด
- ประธานจุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย/พิธีกรนำกล่าวสวดมนต์
- ประธานจุดธูปเทียน เครื่องทองน้อย และกราบที่แท่นกราบ
- ประธานในพิธีกล่าวน้อมรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณ และถวายอาลัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุยเดช
- ผู้เข้าร่วมกิจกรรมยืนสงบนิ่ง 89 วินาที เพื่อไว้อาลัย
- ร่วมร้องเพลงสรรเสริญพระบารมี โดยพร้อมเพรียงกัน
- เชิญประธานที่แท่นรับกล่าวรายงาน ตัวแทนกล่าวรายงาน
- ประธานในพิธีกล่าวให้โอวาทและเปิดงาน
09.30-10.30 บรรยายพิเศษ โดย นางวิชุดา ชัยชาญ ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดอนข่า
10.30-10.45 พักรับประทานอาหารว่าง
10.45-12.00 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเรียนรู้ตามฐานการเรียนรู้ “ฐานการเลี้ยงไก่พันธุ์พื้นบ้าน”
12.00-13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00-14.30 ถอดบทเรียน
14.30-14.45 พักรับประทานอาหารว่าง
14.45-16.30 สรุปองค์ความรู้/แนวทางพัฒนา/การต่อยอด ขยายผล
หมายเหตุ วันและเวลาอาจเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม
จากการดำเนินกิจกรรมทางโรงเรียนได้รับความรู้จากการอบรมโดยการดุแลไก่พันธุ์พื้นบ้าน และทางโรงเรียนได้ไก่พันธุ์ไข่จากชุมชนบ้านดอนข่า จำนวน 50 ตัว และทำให้โณงเรียนของเราได้มีการวางแผนการดูแลรักษาการให้อาหารการให้น้ำ และการดูแลความสะอาดโรงเรือนไก่ นักเรียนผู้รับผิดชอบได้ดูแลเอาใจใส่เป็นอย่างดี เรื่มจากการจัดกิจกรรมทำให้นักเรียนทราบว่า ในแต่ละวันไก่จะได้รับปริมาณของอาหาร 1 ขีด/ตัว นักเรียนได้บูรณาการเข้ากับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์การคำนวณการให้อาหารไก่ในแต่ละวัน แต่การจดบันทึกปริมาณไข่ในแต่ละวัน ได้ใช้การบวนการคิดวิเคราะห์ว่าในแต่ละวันไข่ไก่มีจำนวนลดลงหรือเพิ่มขึ้น เกิดจากสาเหตุใด เป็นการฝึกให้นักเรียนได้วิเคราะห์ถึงปัญหาและผลที่เกิดขึ้นเป็นอย่างดี
การอบรมให้ความรู้เรื่อง ส่งเสริมการผลิตอาหารที่ปลอดภัย
“การเลี้ยงปลาดุก”
08.00-09.00 ผู้เข้าร่วมประชุมลงทะเบียน
09.00-09.30 พิธีเปิด
-ประธานจุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย/พิธีกรนำกล่าวสวดมนต์
-ประธานจุดธูปเทียนเครื่องทองน้อย และกราบที่แท่นกราบ
-ประธานในพิธีกล่าวน้อมรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณ และถวายอาลัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุยเดช
-ผู้เข้าร่วมกิจกรรมยืนสงบนิ่ง 89 วินาที เพื่อไว้อาลัย
-ร่วมร้องเพลงสรรเสริญพระบารมีโดยพร้อมเพรียงกัน
-เชิญประธานที่แท่นรับกล่าวรายงานตัวแทนกล่าวรายงาน
-ประธานในพิธีกล่าวให้โอวาทและเปิดงาน
09.30-10.30บรรยายพิเศษ โดย เกษตรอำเภอขุนหาญ
10.30-10.45พักรับประทานอาหารว่าง
10.45-12.00 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเรียนรู้ตามฐานการเรียนรู้“ฐานการเลี้ยงปลาดุก”
12.00-13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00-14.30 ถอดบทเรียน
14.30-14.45 พักรับประทานอาหารว่าง
14.45-16.30 สรุปองค์ความรู้/แนวทางพัฒนา/การต่อยอด ขยายผล
หมายเหตุวันและเวลาอาจเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม
จากการดำเนินกิจกรรม นักเรียนทราบถึงการเลี้ยงปลาดุกของโรงเรียนเป็นการดูแลสัตว์เลี้ยง ทราบวิธีการให้อาหารปลาดุก การเปลี่ยนน้ำปลาดุก และการนำผลผลิตที่ได้ไปจำหน่าย หลังจากการจัดกิจกรรม ครู นักเรียนและผู้ปกครองได้สะท้อนผลถึงการจัดกิจกรรม โดยการจัดกิจกรรมในครั้งนีี้เป็นการจัดกิจกรรมที่ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ และนำความรู้ที่ได้ไปขยายผลให้แก่ชุมชน และคณะมาศึกษาดูงาน การจัดกิจกรรมทำให้นักเรียนทราบถึงกระบวนการคิด การวิเคราะห์ การจลงมือปฏิบัติจริง และทักษะกระบวนการกลุ่ม
กำหนดการ
การอบรมให้ความรู้เรื่อง ส่งเสริมการผลิตอาหารที่ปลอดภัย
“การปลูกผักสวนครัว รั้วกินได้และการเลี้ยงหมูหลุม”
08.00-09.00 ผู้เข้าร่วมประชุมลงทะเบียน
09.00-09.30 พิธีเปิด
-ประธานจุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย/พิธีกรนำกล่าวสวดมนต์
-ประธานจุดธูปเทียนเครื่องทองน้อย และกราบที่แท่นกราบ
-ประธานในพิธีกล่าวน้อมรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณ และถวายอาลัย
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุยเดช
-ผู้เข้าร่วมกิจกรรมยืนสงบนิ่ง 89 วินาที เพื่อไว้อาลัย
-ร่วมร้องเพลงสรรเสริญพระบารมีโดยพร้อมเพรียงกัน
-เชิญประธานที่แท่นรับกล่าวรายงานตัวแทนกล่าวรายงาน
-ประธานในพิธีกล่าวให้โอวาทและเปิดงาน
09.30-10.30บรรยายพิเศษ โดย นางวิชุดาชัยชาญผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดอนข่า
10.30-10.45พักรับประทานอาหารว่าง
10.45-12.00 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเรียนรู้ตามฐานการเรียนรู้ประกอบด้วย2ฐานการเรียนรู้ได้แก่
-ฐานการปลูกผักสวนครัวรั้วกินได้
-ฐานการเลี้ยงหมูหลุม
12.00-13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00-14.30 ถอดบทเรียน
14.30-14.45 พักรับประทานอาหารว่าง
14.45-16.30 สรุปองค์ความรู้/แนวทางพัฒนา/การต่อยอด ขยายผล
หมายเหตุวันและเวลาอาจเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม
จากการดำเนินกิจกรรมนักเรียน ผู้ปกครอง ได้นำความรู้ไปใช้ในการจัดกิจกรรมเกษตรในโรงเรียน โดยการมีการจัดการเรียนรู้ให้นักเรียนได้ปฏิบัติจริง วางแผนการปลูกผักชนิดต่างๆ ตามฤดูกาล หมุนเวียนกันเพื่อนำไปประกอบอาหาร โดยนำผลผลิตที่ได้ไปจำหน่ายให้โครงการอาหารกลางวัน ผลผลิตที่นักเรียนดูแล และเป็นผักที่ปลอดสารพิษ รับประทานได้อย่างไม่มีความกังวล และนักเรียนได้ขยายผลให้แก่ผู้มาศึกษาดูงานอย่างต่อเนื่อง
วันพฤหัสบดีที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2559
กิจกรรมที่ 3 อบรมให้ความรู้เรื่อง อย. น้อย ซึ่งผู้ประชุม ประกอบไปด้วย แกนนำกลุ่ม ครู ผู้ปกครอง นักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้นำชุมชน
เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและอ.ส.ม หมู่บ้าน
ตามกำหนดการ ดังนี้
08.30-09.00น.ผู้เข้าร่วมประชุมเริ่มลงทะเบียน
09.00-09.30 น.ประธานในพิธี (นายสมบัติ ระงับภัย) ทำพิธีเปิดการประชุม
09.30-12.00 น.นายพิศิษฐ์ สุภาพ ให้ความรู้ เรื่อง สารปนเปื้อนในอาหาร
11.30-12.30 น.พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.30-15.30 น.นายเลียง อุปมัย ให้ความรู้ เรื่อง -โทษของสารต้องห้ามในเครื่องสำอาง ความรู้เรื่องยา
โทษและพิษภัยของยาชุด ยาปฏิชีวนะที่จำหน่ายในร้านชำ วัตถุอันตราย ฉลากอาหาร
15.30-16.00 น.สรุปความรู้จากการประชุม
16.00 น.พิธีปิด
หมายเหตุ รับอาหารว่าง เวลา 10.00-10.45
- ผู้เข้าร่วมการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับ สารปนเปื้อนในอาหาร โทษของสารต้องห้ามในเครื่องสำอาง ความรู้เรื่องยา โทษและพิษภัยของยาชุด ยาปฏิชีวนะที่จำหน่ายในร้านชำ วัตถุอันตราย
ฉลากอาหาร ร่วมกันจัดทำป้ายและเดินรณรงค์การลดดื่มน้ำอัดลม รับประทานลูกอม
- นักเรียนและผู้ปกครองสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน ให้ครอบครัวของตนและบ้านใกล้เคียงมีความตระหนักถึงผลเสียที่เกิดจากการบริโภคอาหารที่มีสารพิษ ได้เรียนรู้กรรมวิธีกาการควบคุมคุณภาพอาหารจากของจริง และยังเป็นการกระตุ้นให้ผู้ผลิตเกิดความตระหนักและพัฒนาปรับปรุงสถานที่ของตน และจะพัฒนาศักยภาพของ อย.น้อย ให้สามารถตรวจประเมินโรงอาหารเพื่อพัฒนาโรงอาหารภายในโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะและจำหน่ายอาหารที่มีความปลอดภัย เพื่อลดการเกิดโรคอาหารเป็นพิษภายในโรงเรียน
วันพฤหัสบดีที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2559
กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้เรื่องอาหารที่ปลอดภัยไร้สารพิษ ซึ่งผู้ประชุม ประกอบไปด้วย แกนนำกลุ่ม ครู ผู้ปกครอง นักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้นำชุมชน
เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและอ.ส.ม หมู่บ้าน
ตามกำหนดการ ดังนี้
08.30-09.00น.ผู้เข้าร่วมประชุมเริ่มลงทะเบียน
09.00-09.30 น.ประธานในพิธี (นายสมบัติ ระงับภัย) ทำพิธีเปิดการประชุม
09.30-10. 30 น.นายธนาสันต์ จำนงค์ ให้ความรู้ เรื่อง โทษของการดื่มน้ำอัดลม ลูกอม ขนมกรุบกรอบ
10.30-12.00 น. กิจกรรมการปฺฏิบัติร่วมกับการอบรมให้ความรู้ การลดดื่มน้ำอัดลม รับประทานลูกอม
และขนมกรุบกรอบ
11.30-12.30 น.พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.30-15.30 น.นางอาภรณ์ จันทร์สว่าง ให้ความรู้ เรื่อง การเลือกซื้ออาหารที่ปลอดภัยไร้สารพิษ
15.30-16.00 น.สรุปความรู้จากการประชุม
16.00 น.พิธีปิด
หมายเหตุ รับอาหารว่าง เวลา 10.00-10.45
- นักเรียนและผู้ปกครองเข้ารับการอบรมได้รับความรู้ตามหลักโภชนาการ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
- นักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้ในเรื่อง โทษของการดื่มน้ำอัดลม ลูกอมและขนทกรุบกรอบ สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการจัดการการบริโภคอาหารที่บ้าน
- ผู้เข้าร่วมรับการอบรมสามารถขยายผลให้แก่ชุมชนของตนเองและชุมชนใกล้เคียงเกี่ยวกับโทษของการดื่มน้ำอัดลม ลูกอมและขนมกรุบกรอบ และสามารถผลิตอาหารที่ไร้สารพิษไว้บริโภคในครอบครัวได้
วันพฤหัสบดีที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2559
กิจกรรมที่ 1 ประชุมแต่งตั้งมอบหมายหน้าที่คณะทำงานซึ่งผู้ประชุม ประกอบไปด้วย แกนนำกลุ่ม ครู ผู้ปกครอง นักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้นำชุมชน
เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและอ.ส.ม หมู่บ้าน
ตามกำหนดการ ดังนี้
08.30-09.00น.ผู้เข้าร่วมประชุมเริ่มลงทะเบียน
09.00-09.30 น.ผู้อำนวยการโรงเรียนทำพิธีเปิดการประชุม ชี้แจงวัตถุประสงค์ของโครงการศูนย์ การเรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
09.30-10. 30 น.กำหนดภาระงาน แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ
10.30-11.45 น. แต่งตั้งคณะกรรมการแกนนำในการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา
11.45-12.00 น.สรุปความรู้จากการประชุม
หมายเหตุ รับอาหารว่าง เวลา 10.00-10.45
จากการจัดกิจกรรมทางโรงเรียน มีผู้รับผิดชอบงานตามภาระหน้าที่อย่างเป็นระบบ ได้แก่
1.1 การเกษตรในโรงเรียน ผู้รับผิดชอบ นายพันไลย ระงับภัย
1.2 สหกรณ์นักเรียน ผู้รับผิดชอบ นางสาวนพมณี ชูเชื้อ และนายประโยชน์ ดวงพล
1.3 การจัดบริการอาหารของโรงเรียน ผู้รับผิดชอบ นางประยงค์ ร่วมจิตร และนางสาวภัทรวดี บุญทอง
1.4 การติดตามภาวะโภชนาการ ผู้รับผิดชอบ นางอาภรณ์ จันทร์สว่าง และนางสาวภัทรวดี บุญทอง
1.5 การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน ผู้รับผิดชอบ นางอาภรณ์ จันทร์สว่าง และนางสาวปวินันท์ ปานทอง
1.6 การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ ผู้รับผิดชอบ นางวิชุดา ชัยชาญนางอาภรณ์ จันทร์สว่าง และนายพันไลย ระงับภัย
1.7 การจัดบริการสุขภาพ ผู้รับผิดชอบ นายธนาสันต์ จำนงค์ และนายประโยชน์ ดวงพล
1.8 การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย ผู้รับผิดชอบ นางประยงค์ ร่วมจิตร
1.9 ภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ รพ.สต. บ้านดอนข่าประมงอำเภอขุนหาญเกษตรอำเภอขุนหาญองค์การบริหารส่วนตำบลพรานสาธารณสุขอำเภอขุนหาญ และกศน. อำเภอขุนหาญ
1.10 ฝ่ายการเงิน-การบัญชี ผู้รับผิดชอบ นางสาวปวินันท์ ปานทอง
ทางโรงเรียนมีการจัดทำแผนกิจกรรมการพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพนักเรียนที่ครอบคลุมสุขนิสัยในด้านต่างๆ นักเรียนมีการปฏิบัติตามแผนกิจกรรมที่วางไว้ครอบคลุมทุกกิจกรรม ทำให้นักเรียนแกนนำสามารถจัดกิจกรรมพัฒนาสุขนิสัยมีการติดตามประเมินผลด้วยตนเอง และขยายผลให้นักเรียนทุกคนในโรงเรียน