แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โรงเรียนบ้านคูเมือง(อ่อนอนุเคราะห์)
“ โรงเรียนบ้านคูเมือง(อ่อนอนุเคราะห์) ”
300 หมู่4 ตำบลคูเมือง อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี
หัวหน้าโครงการ
นายโกวิทบุญเฉลียว
ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านคูเมือง(อ่อนอนุเคราะห์)
ที่อยู่ 300 หมู่4 ตำบลคูเมือง อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี จังหวัด อุบลราชธานี
รหัสโครงการ ศรร.1313-090 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-อ.44
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนบ้านคูเมือง(อ่อนอนุเคราะห์) จังหวัดอุบลราชธานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 300 หมู่4 ตำบลคูเมือง อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านคูเมือง(อ่อนอนุเคราะห์) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านคูเมือง(อ่อนอนุเคราะห์)
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนบ้านคูเมือง(อ่อนอนุเคราะห์) " ดำเนินการในพื้นที่ 300 หมู่4 ตำบลคูเมือง อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี รหัสโครงการ ศรร.1313-090 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 120,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านคูเมือง(อ่อนอนุเคราะห์) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 378 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณะสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ พลศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ 1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น
จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียนบ้านคูเมือง(อ่อนอนุเคราะห์) จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นซึ่งในปีที่ 1 ได้ดำเนินการดังต่อไปนี้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. สร้างความตระหนักให้นักเรียนมีการบริโภคอาหารอย่างถูกสุขลักษณะ และน้ำดื่มสะอาด มีประโยชน์ ตามหลักโภชนาการ
- ๒. สร้างเครือข่ายส่งเสริมผลผลิตการเกษตรอินทรีย์ในโรงเรียนและชุมชน เพื่อนำผลผลิตมาใช้ให้เกิด
ประโยชน์และพอเพียง
- ๓. เพื่อพัฒนาบุคลากรแกนนำและภาคีเครือข่ายศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
- 4. เพื่อรณรงค์เรื่องการออกกำลังกาย ลดอาหารและขนมที่มีรสหวานจัด ให้นักเรียนมีสมรรถภาพทางกายสมวัยลดภาวะเสี่ยงโรคอ้วน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กนักเรียนมีสุขภาพดี เติบโตสมวัย มีอารมณ์สติปัญญาที่ดีขึ้น มีทักษะชีวิตสามารถนำไปใช้ได้จริง
- โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาทุพโภชนาการของนักเรียน
- พ่อแม่/ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการดูแลภาวะสุขภาพของนักเรียน จัดสิ่งแวดล้อมอาหาร
- เกิดกระแสตื่นตัวในชุมชน/สังคม ให้ความสำคัญกับอาหาร โภชนาการ และสุขภาพของเด็กวัยเรียน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. อบรมแกนนำนักเรียนครู ชุมชน ด้านการส่งเสริมการบริโภค
วันที่ 10 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00-12.00 น.กิจกรรมที่ทำ
-ลงทะเบียน
-ชี้แจงโครงการ
-การสร้างสุขภาวะในโรงเรียน การเลือกบริโภคอาหารอย่างถูกสุขลักษณะ
-การทำเกษตรแบบอินทรีย์ที่ยั่งยืน
การสร้างภาคเครือข่าย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-ครู นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนแกนนำรับทราบแนวทางปฏิบัติของโครงการเด็กไทยแก้มใส
-โรงเรียนได้จัดกิจกรรมที่ร่วมกันและวางแนวทางการทำงานสู่ความสำเร็จ
-ครู นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนแกนนำได้ความรู้ ความเข้าใจการบริโภคอาหารอย่างถูกสุขลักษณะ ตามหลักโภชนาการ
ผลลัพทธ์
ได้เครือข่ายแกนนำโครงการศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส และเครือข่ายกกผู้ปกครองยังให้ความร่วมมือนำผลผลิตภาคการเกษตรแบบอินทรีย์ป้อนเข้าสู่ระบบสหกรณ์เพื่อเป็นอาหารกลางวันให้กับนักเรียน
100
100
2. จัดทำป้ายนิเทศให้ความรู้การบริโภคอย่างถูกสุขลักษณะ
วันที่ 10 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดทำป้ายนิเทศให้ความรู้การบริโภคอย่างถูกสุขลักษณะ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-เป็นแหล่งเรียน และศึกษาข้อมูลการบริโภคอย่างถูกสุขลักษณะ
-นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและ
รู้จักเลือกบริโภคอย่างถูกต้องตามหลักโภชนาการ
0
680
3. ปลูกผักทอดยอด
วันที่ 10 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ปรับปรุงแปลงผัก
ปลูกผักทอดยอด
จัดซื้อปุ๋ยคอกจำนวน50 กระสอบ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-ได้ผักทอดยอดเข้าโครงการอาหารกลางวัน สัปดาห์ละ 1 ครั้ง
- สามารถนำผลผลิตที่เหลือจากการประกอบอาหารกลางวันมาขาย
-เป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับนักเรียนและชุมชน
292
33
4. สร้างสัมพันธ์ด้วยมะละกอ
วันที่ 10 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ซื้อพันธุ์มะละกอเพื่อให้แกนนำผู้ปกครองได้นำไปปลูก แล้วนำผลผลิตมาจำหน่ายให้สหกรณ์ และโครงการอาหารกลางวันได้นำไปประกอบอาหารกลางวันให้นักเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-มีมะละกอ 200 ต้น
-นักเรียนและชุมชนนำมะละกอสุกและดิบมาจำหน่ายสหกรณ์นักเรียน
-สร้างรายได้เสริมให้กับนักเรียนและชุมชน
40
10
5. จัดทำป้ายกิจกรรมศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
วันที่ 10 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดทำป้ายศูนย์การเรียนรู้โรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีป้ายศูนย์การเรียนรู้โรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส
463
777
6. จัดทำตราสัญลักษณ์ผลิตภัณฑ์โรงเรียน
วันที่ 29 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดทำตราสัญลักษณ์ผลิตภัณฑ์โรงเรียนโครงการศูนย์การเรียนรู้เด็กไทยแก้มใสโรงเรียนบ้านคูเมือง (อ่อนอนุเคราะห์)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีตราสัญลักษณ์ผลิตภัณฑ์โรงเรียนโครงการศูนย์การเรียนรู้เด็กไทยแก้มใสโรงเรียนบ้านคูเมือง (อ่อนอนุเคราะห์)
0
0
7. สร้างแรงบันดาลใจเกษตรอินทรีย์ชีวีมีสุข
วันที่ 29 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- นำชุมชนเครือข่ายศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสโรงเรียนบ้านคูเมือง (อ่อนอนุเคราะห์) ไปศึกษาดูงานที่บ้านหนองหิน บ้านนาไฮใหญ่ ตำบลดอนมดแดง จังหวัดอุบลราชธานี เร่ืองปลูกผักอินทรีย์ การเลี้ยวโค การดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ชุมชนเกิดความตระหนักและเรียนรู้เกษตรแบบอินทรีย์
-ได้ผลผลิตเกษตรอินทรีย์ 100
30
20
8. น้ำดื่มสะอาด
วันที่ 29 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- จัดทำตราสัญญลักษณ์น้ำดื่มโรงเรียน
- จัดซื้อนำดื่มที่ได้มาตรฐานให้นักเรียนและบริหารจัดการด้วยระบบสหกรณ์โรงเรียนต่อไป
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนมีน้ำดื่มที่สะอาด
288
0
9. หนึ่งห้องหนึ่งอาชีพ -จัดทำขนมหรือแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรเพื่อสุขภาพ ให้กับนักเรียนผ่านสหกรณ์นักเรียน
วันที่ 29 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ให้แต่ละห้องดำเนินการจัดซื้อ วัสดุ อุปกรณ์เพื่อแปรรูปผลิตผลทางการเกษตร จำหน่ายให้สหกรณ์นักเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนจัดทำการแปรรูปผลิตภัณฑ์ เพิ่มมูลค่าให้กับผลผลิตด้านการเกษตรและลดขนมกรุบกรอบ หวาน มัน เค็ม
นักเรียนได้รับผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ ฝึกทักษะอาชีพ และส่งเสริมสุขภาพ รวมทั้งสร้างนิสัยในการเลือกซื้ออาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
288
641
10. ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำรายงานศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส งวดที่ 1 และขอเบิกงวดที่ 2
วันที่ 24 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำรายงานศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส ณ โรงแรมสุนีย์แกรน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้ความรู้ วิธีการจัดทำรายงานออนไลน์ทางระบบ จัดทำบัญชี การเงินอย่างถูกต้อง
3
3
11. เลี้ยงปลาดุก
วันที่ 10 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ซื้อพันธุ์ปลา จำนวน 2000 ตัว
ซื้อหัวอาหาร
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีปลาดุกไว้เป็นอาหารกลางวันให้นักเรียน
288
0
12. หนึ่งห้องเรียนหนึ่งอาชีพ ครั้งที่ 2
วันที่ 10 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
แต่ละห้องเรียนแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร นำมาจำหน่ายที่สหกรณ์นักเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีผลผลิตที่แปรรูปจำหน่ายให้กับนักเรียน
325
325
13. ส่งเสริมสุขภาพดี ชีวีมีสุข
วันที่ 13 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ให้ความรู้นักเรียนในการดูแลสุชภาพ
- ประกวดนักเรียนต้นแบบสุขภาพดี ห้องละ 1 คน รวม 24 คน
- กิจกรรมออกกำลังกายเพื่อสุขภาพด้วยกีฬาพื้นบ้าน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนได้ความรู้การปฏิบัติตนเพื่อสุขภาพที่ดี
ได้นักเรียนต้นแบบสุขภาพดี จำนวน 24 คน
นักเรียนได้สนุกสนานสุขภาพดี ร่างกายแข็งแรง อนุรักษ์กีฬาพื้นบ้าน
154
50
14. เลี้ยงไก่ไข่
วันที่ 24 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ซื้อพันธ์ุไก่ไข่ ตัวละ 200 บาท
ซื้อหัวอาหารไก่ไข่
ดำเนินการเลี้ยงไก่ไข่
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีไข่ไก่ป้อนเข้าสู่โครงการอาหารกลางวัน
288
0
15. เพื่อนช่วยเพื่อนโรงเรียนเครือข่ายศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสตำบลคูเมือง
วันที่ 13 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
เดินทางออกจากโรงเรียนบ้านคูเมือง (อ่อนอนุเคราะห์) เวลา 06.00 ถึงโรงเรียนบ้านโคกจำเริญเวลา 09.30 น. ไปศึกษาดูงานกิจกรรมการเกษตรเพืออาหารกลางวัน กิจกรรมสหกรณ์ กิจกรรมโครงการอาหารกลางวัน บริบททั่วไปของโรงเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้รับความรู้ ประสบการณ์จริงในการดำเนินงานโครงการศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสที่เป็นแบบอย่าง ได้รับการถ่ายทอดประสบการณ์ในการดำเนินงานที่สามารถนำมาปรับใช้ได้
20
20
16. ประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ผลงาน“ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส”
วันที่ 21 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.จัดทำป้ายนิเทศ
2.จัดนิทรรศการผลงานศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส
3.แจกเอกสารประชาสัมพันธ์กิจกรรม ศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส
4.ประสานเครือข่ายชุมชนเกษตรอินทรีย์มาจำหน่ายสินค้าพื้นผัก ปลอดภัย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ครู นักเรียน ชุมชนได้เยี่ยมชมนิทรรศการ นำความรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน
488
488
17. คืนดอกเบี้ยธนาคาร
วันที่ 22 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ส่งคืนดอกเบี้ยธนาคาร
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ส่งคืนดอกเบี้ยธนาคาร
3
3
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
๑. สร้างความตระหนักให้นักเรียนมีการบริโภคอาหารอย่างถูกสุขลักษณะ และน้ำดื่มสะอาด มีประโยชน์ ตามหลักโภชนาการ
ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 70 ของโรงเรียน รู้จักเลือกบริโภคอาหารอย่างถูกสุขลักษณะ มีคุณค่าทางโภชนาการและมีประโยชน์ต่อร่างกาย
2
๒. สร้างเครือข่ายส่งเสริมผลผลิตการเกษตรอินทรีย์ในโรงเรียนและชุมชน เพื่อนำผลผลิตมาใช้ให้เกิด
ประโยชน์และพอเพียง
ตัวชี้วัด : มีผลิตผลทางการเกษตร เช่น มะละกอผักทอดยอดที่เกิดจากการมีส่วนร่วมของโรงเรียนและชุมชนสามารถป้อนสู่โครงการอาหารกลางวันได้อย่างเพียงพอ และเกิดเครือข่ายชุมชนด้านเกษตรอินทรีย์
3
๓. เพื่อพัฒนาบุคลากรแกนนำและภาคีเครือข่ายศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
ตัวชี้วัด : บุคลากรแกนนำและภาคีเครือข่าย จำนวน100 คน มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับ 8 องค์ประกอบของศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
4
4. เพื่อรณรงค์เรื่องการออกกำลังกาย ลดอาหารและขนมที่มีรสหวานจัด ให้นักเรียนมีสมรรถภาพทางกายสมวัยลดภาวะเสี่ยงโรคอ้วน
ตัวชี้วัด : นักเรียนไอดอลสุขภาพดี และลดจำนวนนักเรียนที่อ้วนเกินมาตรฐานได้ร้อยละ 50
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
โรงเรียนบ้านคูเมือง(อ่อนอนุเคราะห์) จังหวัด อุบลราชธานี
รหัสโครงการ ศรร.1313-090
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายโกวิทบุญเฉลียว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โรงเรียนบ้านคูเมือง(อ่อนอนุเคราะห์)
“ โรงเรียนบ้านคูเมือง(อ่อนอนุเคราะห์) ”
300 หมู่4 ตำบลคูเมือง อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานีหัวหน้าโครงการ
นายโกวิทบุญเฉลียว
ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านคูเมือง(อ่อนอนุเคราะห์)
ที่อยู่ 300 หมู่4 ตำบลคูเมือง อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี จังหวัด อุบลราชธานี
รหัสโครงการ ศรร.1313-090 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-อ.44
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนบ้านคูเมือง(อ่อนอนุเคราะห์) จังหวัดอุบลราชธานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 300 หมู่4 ตำบลคูเมือง อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านคูเมือง(อ่อนอนุเคราะห์) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านคูเมือง(อ่อนอนุเคราะห์)
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนบ้านคูเมือง(อ่อนอนุเคราะห์) " ดำเนินการในพื้นที่ 300 หมู่4 ตำบลคูเมือง อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี รหัสโครงการ ศรร.1313-090 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 120,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านคูเมือง(อ่อนอนุเคราะห์) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 378 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณะสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ พลศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ 1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น
จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียนบ้านคูเมือง(อ่อนอนุเคราะห์) จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นซึ่งในปีที่ 1 ได้ดำเนินการดังต่อไปนี้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. สร้างความตระหนักให้นักเรียนมีการบริโภคอาหารอย่างถูกสุขลักษณะ และน้ำดื่มสะอาด มีประโยชน์ ตามหลักโภชนาการ
- ๒. สร้างเครือข่ายส่งเสริมผลผลิตการเกษตรอินทรีย์ในโรงเรียนและชุมชน เพื่อนำผลผลิตมาใช้ให้เกิด ประโยชน์และพอเพียง
- ๓. เพื่อพัฒนาบุคลากรแกนนำและภาคีเครือข่ายศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
- 4. เพื่อรณรงค์เรื่องการออกกำลังกาย ลดอาหารและขนมที่มีรสหวานจัด ให้นักเรียนมีสมรรถภาพทางกายสมวัยลดภาวะเสี่ยงโรคอ้วน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กนักเรียนมีสุขภาพดี เติบโตสมวัย มีอารมณ์สติปัญญาที่ดีขึ้น มีทักษะชีวิตสามารถนำไปใช้ได้จริง
- โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาทุพโภชนาการของนักเรียน
- พ่อแม่/ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการดูแลภาวะสุขภาพของนักเรียน จัดสิ่งแวดล้อมอาหาร
- เกิดกระแสตื่นตัวในชุมชน/สังคม ให้ความสำคัญกับอาหาร โภชนาการ และสุขภาพของเด็กวัยเรียน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. อบรมแกนนำนักเรียนครู ชุมชน ด้านการส่งเสริมการบริโภค |
||
วันที่ 10 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00-12.00 น.กิจกรรมที่ทำ-ลงทะเบียน -ชี้แจงโครงการ -การสร้างสุขภาวะในโรงเรียน การเลือกบริโภคอาหารอย่างถูกสุขลักษณะ -การทำเกษตรแบบอินทรีย์ที่ยั่งยืน การสร้างภาคเครือข่าย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-ครู นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนแกนนำรับทราบแนวทางปฏิบัติของโครงการเด็กไทยแก้มใส -โรงเรียนได้จัดกิจกรรมที่ร่วมกันและวางแนวทางการทำงานสู่ความสำเร็จ -ครู นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนแกนนำได้ความรู้ ความเข้าใจการบริโภคอาหารอย่างถูกสุขลักษณะ ตามหลักโภชนาการ ผลลัพทธ์ ได้เครือข่ายแกนนำโครงการศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส และเครือข่ายกกผู้ปกครองยังให้ความร่วมมือนำผลผลิตภาคการเกษตรแบบอินทรีย์ป้อนเข้าสู่ระบบสหกรณ์เพื่อเป็นอาหารกลางวันให้กับนักเรียน
|
100 | 100 |
2. จัดทำป้ายนิเทศให้ความรู้การบริโภคอย่างถูกสุขลักษณะ |
||
วันที่ 10 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดทำป้ายนิเทศให้ความรู้การบริโภคอย่างถูกสุขลักษณะ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-เป็นแหล่งเรียน และศึกษาข้อมูลการบริโภคอย่างถูกสุขลักษณะ
|
0 | 680 |
3. ปลูกผักทอดยอด |
||
วันที่ 10 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำปรับปรุงแปลงผัก ปลูกผักทอดยอด จัดซื้อปุ๋ยคอกจำนวน50 กระสอบ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-ได้ผักทอดยอดเข้าโครงการอาหารกลางวัน สัปดาห์ละ 1 ครั้ง
|
292 | 33 |
4. สร้างสัมพันธ์ด้วยมะละกอ |
||
วันที่ 10 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำซื้อพันธุ์มะละกอเพื่อให้แกนนำผู้ปกครองได้นำไปปลูก แล้วนำผลผลิตมาจำหน่ายให้สหกรณ์ และโครงการอาหารกลางวันได้นำไปประกอบอาหารกลางวันให้นักเรียน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-มีมะละกอ 200 ต้น -นักเรียนและชุมชนนำมะละกอสุกและดิบมาจำหน่ายสหกรณ์นักเรียน -สร้างรายได้เสริมให้กับนักเรียนและชุมชน
|
40 | 10 |
5. จัดทำป้ายกิจกรรมศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส |
||
วันที่ 10 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดทำป้ายศูนย์การเรียนรู้โรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีป้ายศูนย์การเรียนรู้โรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส
|
463 | 777 |
6. จัดทำตราสัญลักษณ์ผลิตภัณฑ์โรงเรียน |
||
วันที่ 29 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดทำตราสัญลักษณ์ผลิตภัณฑ์โรงเรียนโครงการศูนย์การเรียนรู้เด็กไทยแก้มใสโรงเรียนบ้านคูเมือง (อ่อนอนุเคราะห์) ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีตราสัญลักษณ์ผลิตภัณฑ์โรงเรียนโครงการศูนย์การเรียนรู้เด็กไทยแก้มใสโรงเรียนบ้านคูเมือง (อ่อนอนุเคราะห์)
|
0 | 0 |
7. สร้างแรงบันดาลใจเกษตรอินทรีย์ชีวีมีสุข |
||
วันที่ 29 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นชุมชนเกิดความตระหนักและเรียนรู้เกษตรแบบอินทรีย์
-ได้ผลผลิตเกษตรอินทรีย์ 100
|
30 | 20 |
8. น้ำดื่มสะอาด |
||
วันที่ 29 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนมีน้ำดื่มที่สะอาด
|
288 | 0 |
9. หนึ่งห้องหนึ่งอาชีพ -จัดทำขนมหรือแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรเพื่อสุขภาพ ให้กับนักเรียนผ่านสหกรณ์นักเรียน |
||
วันที่ 29 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำให้แต่ละห้องดำเนินการจัดซื้อ วัสดุ อุปกรณ์เพื่อแปรรูปผลิตผลทางการเกษตร จำหน่ายให้สหกรณ์นักเรียน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนจัดทำการแปรรูปผลิตภัณฑ์ เพิ่มมูลค่าให้กับผลผลิตด้านการเกษตรและลดขนมกรุบกรอบ หวาน มัน เค็ม
|
288 | 641 |
10. ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำรายงานศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส งวดที่ 1 และขอเบิกงวดที่ 2 |
||
วันที่ 24 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำรายงานศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส ณ โรงแรมสุนีย์แกรน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้ความรู้ วิธีการจัดทำรายงานออนไลน์ทางระบบ จัดทำบัญชี การเงินอย่างถูกต้อง
|
3 | 3 |
11. เลี้ยงปลาดุก |
||
วันที่ 10 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำซื้อพันธุ์ปลา จำนวน 2000 ตัว ซื้อหัวอาหาร ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีปลาดุกไว้เป็นอาหารกลางวันให้นักเรียน
|
288 | 0 |
12. หนึ่งห้องเรียนหนึ่งอาชีพ ครั้งที่ 2 |
||
วันที่ 10 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำแต่ละห้องเรียนแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร นำมาจำหน่ายที่สหกรณ์นักเรียน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีผลผลิตที่แปรรูปจำหน่ายให้กับนักเรียน
|
325 | 325 |
13. ส่งเสริมสุขภาพดี ชีวีมีสุข |
||
วันที่ 13 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนได้ความรู้การปฏิบัติตนเพื่อสุขภาพที่ดี ได้นักเรียนต้นแบบสุขภาพดี จำนวน 24 คน นักเรียนได้สนุกสนานสุขภาพดี ร่างกายแข็งแรง อนุรักษ์กีฬาพื้นบ้าน
|
154 | 50 |
14. เลี้ยงไก่ไข่ |
||
วันที่ 24 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำซื้อพันธ์ุไก่ไข่ ตัวละ 200 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีไข่ไก่ป้อนเข้าสู่โครงการอาหารกลางวัน
|
288 | 0 |
15. เพื่อนช่วยเพื่อนโรงเรียนเครือข่ายศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสตำบลคูเมือง |
||
วันที่ 13 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำเดินทางออกจากโรงเรียนบ้านคูเมือง (อ่อนอนุเคราะห์) เวลา 06.00 ถึงโรงเรียนบ้านโคกจำเริญเวลา 09.30 น. ไปศึกษาดูงานกิจกรรมการเกษตรเพืออาหารกลางวัน กิจกรรมสหกรณ์ กิจกรรมโครงการอาหารกลางวัน บริบททั่วไปของโรงเรียน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้รับความรู้ ประสบการณ์จริงในการดำเนินงานโครงการศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสที่เป็นแบบอย่าง ได้รับการถ่ายทอดประสบการณ์ในการดำเนินงานที่สามารถนำมาปรับใช้ได้
|
20 | 20 |
16. ประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ผลงาน“ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส” |
||
วันที่ 21 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.จัดทำป้ายนิเทศ 2.จัดนิทรรศการผลงานศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส 3.แจกเอกสารประชาสัมพันธ์กิจกรรม ศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส 4.ประสานเครือข่ายชุมชนเกษตรอินทรีย์มาจำหน่ายสินค้าพื้นผัก ปลอดภัย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นครู นักเรียน ชุมชนได้เยี่ยมชมนิทรรศการ นำความรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน
|
488 | 488 |
17. คืนดอกเบี้ยธนาคาร |
||
วันที่ 22 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำส่งคืนดอกเบี้ยธนาคาร ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นส่งคืนดอกเบี้ยธนาคาร
|
3 | 3 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ๑. สร้างความตระหนักให้นักเรียนมีการบริโภคอาหารอย่างถูกสุขลักษณะ และน้ำดื่มสะอาด มีประโยชน์ ตามหลักโภชนาการ ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 70 ของโรงเรียน รู้จักเลือกบริโภคอาหารอย่างถูกสุขลักษณะ มีคุณค่าทางโภชนาการและมีประโยชน์ต่อร่างกาย |
||||
2 | ๒. สร้างเครือข่ายส่งเสริมผลผลิตการเกษตรอินทรีย์ในโรงเรียนและชุมชน เพื่อนำผลผลิตมาใช้ให้เกิด
ประโยชน์และพอเพียง ตัวชี้วัด : มีผลิตผลทางการเกษตร เช่น มะละกอผักทอดยอดที่เกิดจากการมีส่วนร่วมของโรงเรียนและชุมชนสามารถป้อนสู่โครงการอาหารกลางวันได้อย่างเพียงพอ และเกิดเครือข่ายชุมชนด้านเกษตรอินทรีย์ |
||||
3 | ๓. เพื่อพัฒนาบุคลากรแกนนำและภาคีเครือข่ายศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส ตัวชี้วัด : บุคลากรแกนนำและภาคีเครือข่าย จำนวน100 คน มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับ 8 องค์ประกอบของศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส |
||||
4 | 4. เพื่อรณรงค์เรื่องการออกกำลังกาย ลดอาหารและขนมที่มีรสหวานจัด ให้นักเรียนมีสมรรถภาพทางกายสมวัยลดภาวะเสี่ยงโรคอ้วน ตัวชี้วัด : นักเรียนไอดอลสุขภาพดี และลดจำนวนนักเรียนที่อ้วนเกินมาตรฐานได้ร้อยละ 50 |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
โรงเรียนบ้านคูเมือง(อ่อนอนุเคราะห์) จังหวัด อุบลราชธานี
รหัสโครงการ ศรร.1313-090
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายโกวิทบุญเฉลียว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......