แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

โรงเรียนบ้านขะยูง


“ โรงเรียนบ้านขะยูง ”

124 หมู่ที่4 ตำบลปราสาท อำเภอห้วยทับทัน จังหวัดศรีสะเกษ

หัวหน้าโครงการ
นายเสรี อุตสาหะ

ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านขะยูง

ที่อยู่ 124 หมู่ที่4 ตำบลปราสาท อำเภอห้วยทับทัน จังหวัดศรีสะเกษ จังหวัด ศรีสะเกษ

รหัสโครงการ ศรร.1311-084 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-อ.38

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โรงเรียนบ้านขะยูง จังหวัดศรีสะเกษ" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 124 หมู่ที่4 ตำบลปราสาท อำเภอห้วยทับทัน จังหวัดศรีสะเกษ

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านขะยูง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านขะยูง



บทคัดย่อ

โครงการ " โรงเรียนบ้านขะยูง " ดำเนินการในพื้นที่ 124 หมู่ที่4 ตำบลปราสาท อำเภอห้วยทับทัน จังหวัดศรีสะเกษ รหัสโครงการ ศรร.1311-084 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 80,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านขะยูง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 200 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียนบ้านขะยูง จึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นซึ่งในปีที่ 1

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อผลิตวัตถุดิบอาหารสำหรับใช้ในการจัดการอาหารกลางวันสำหรับนักเรียนทุกคน ทุกวัยเรียนและพัฒนาเด็กนักเรียนทุกคนให้มีความรู้ทักษะและทัศนคติที่ดีทางการเกษตรผสมผสานเป็นพื้นฐานในอนาคต
  2. มีกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนที่มีนักเรียนเป็นสมาชิก และดำเนินการโดยนักเรียน และรับซื้อผลผลิตจากกิจกรรมเกษตรในโรงเรียนเพื่อขายให้กิจกรรมอาหารกลางวัน
  3. เพื่อให้นักเรียนมีอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการและสะอาดปลอดภัย บริโภคทุกวันเรียน ตลอดปีการศึกษาและเพื่อพัฒนาแบบแผนการบริโภคอาหารที่พึงประสงค์ตามหลักโภชนาการและสุขนิสัยที่พึงปฏิบัติตามหลักสุขาภิบาลอาหาร
  4. เพื่อให้นักเรียนสร้างสุขนิสัยที่ดีด้วยตนเอง
  5. เพื่อให้นักเรียนพัฒนาทักษะในการจัดการดูแลสภาพแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะ รวมทั้งการพัฒนาลักษณะนิสัยของนักเรียนในการใช้ทรัพยากรอย่างประหยัดและยั่งยืน
  6. เพื่อให้นักเรียนได้พัฒนาตนเองให้มีความรู้ทักษะทัศนคติและลักษณะนิสัยที่ดีในเรื่องของเกษตรยั่งยืน โภชนาการและสุขภาพอนามัย
  7. เพื่อสามารถติดตามและแก้ไขเด็กนักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการได้ทันกาลและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของเด็กนักเรียนเป็นรายบุคคลได้อย่างต่อเนื่อง รวมทั้งทราบสถานการณ์ของภาวะโภชนาการของนักเรียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    8.1 เด็กวัยเรียนที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการได้รับการเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการ มีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย และส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์การศึกษาของนักเรียน
    8.2 โรงเรียนมีรูปแบบการลดภาวะทุพโภชนาการของนักเรียน 8.3 ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจด้านโภชนาการในเด็กวัยเรียน 8.4 ชุมชนมีส่วนร่วมและให้ความสำคัญเกี่ยวกับโภชนาการ สุขภาพของนักเรียน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. เพาะเห็ด

    วันที่ 11 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.  ชื้อก้อนเชื้อเห็ดนางฟ้า  จำนวน  1,000  ก้อน 2.  นำเข้าโรงเรือนเพาะเห็ด 3.  แบ่งกลุ่มนักเรียนเข้าดูแล 4.  นำผลผลิตมาจำหน่ายผ่านสหกรณ์และแปรรูปเป็นอาหารลางวัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.  นำเชื้อก้อนเห็ดเข้าโรงเรีอน 2.  นักเรียนแบ่งกลุ่มดูแลเชื้อก้อนเห็ดตามที่ได้รับมอบหมาย 3.  ประมาณ  1  สัปดาห์ต่อมา สามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตประมาณ  20  กิโลกรัม/สัปดาห์ 4.  สามารถนำผลผลิตที่ได้มาจำหน่ายผ่านสหกรณ์และแปรรูปเป็นอาหารกลางวันในโรงเรียน

     

    283 110

    2. เลี้ยงไก่ไข่

    วันที่ 11 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ซื้อแม่ไก่ไข่จำนวน30ตัว
    2. ซื้ออาหารไก่ จำนวน5กระสอบ
    3. แบ่งกลุ่มนักเรียนดูแลและเก็บผลผลิต
    4. นำผลผลิตที่ได้มาจำหน่ายผ่านสหกรณ์โรงเรียนและนำมาแปรรูปเป็นอาหารกลางวันในโรงเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นำแม่ไก่ไข่จำนวน30ตัวเข้าโรงเรือนที่ทำไว้แล้ว
    2. แบ่งกลุ่มนักเรียนดูแลให้อาหารทุกวัน
    3. ประมาณ1สัปดาห์แม่ไก่ออกไข่จำนวน20ฟอง/วัน
    4. นำผลผลิตที่ได้มาจำหน่ายผ่านสหกรณ์โรงเรียนและนำมาแปรรูปเป็นอาหารกลางวันในโรงเรียน

     

    239 112

    3. ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำรายงานศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบด็กไทยแก้มใส งวดที่ 1 และขอเบิก งวดที่ 2

    วันที่ 24 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    บุคลากร  จำนวน  3  คน  เข้าร่วมการอบรมเชิงปฏิบัติการจัดทำรายงานศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส งวดที่ 1 และขอเบิก งวดที่ 2

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.  บุคลากร  จำนวน  3  คน  มีความรู้ความเข้าใจในการใช้ระบบสารสนทศเพื่อประกอบการจัดทำรายงานศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส งวดที่ 1 และขอเบิก งวดที่ 2 2.  บุคลากร  จำนวน  3  คน  สามารถนำความรู้ที่ได้รับมาจัดทำรายงานศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยเด็กไทยแก้มใสในครั้งต่อไป

     

    3 3

    4. ปลูกมะละกอ

    วันที่ 1 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ซื้อพันธ์ุมะละกอ  จำนวน  50  ต้น 2.ซื้อปุ๋ยเคมี (สูตร  15  15  15)  จำนวน  1  กระสอบ 3.ซื้อปุ๋ยคอก  จำนวน  10  กระสอบ 4.แบ่งกลุ่มนักเรียนดูแลรับผิดชอบ 5.นำผลผลิตมาจำหน่ายผ่านสหกรณ์และแปรรูปเป็นอาหารกลางวัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ซื้อพันธ์ุมะละกอ  จำนวน  50  ต้น 2.ซื้อปุ๋ยเคมี (สูตร  15  15  15)  จำนวน  1  กระสอบ 3.ซื้อปุ๋ยคอก  จำนวน  10  กระสอบ 4.แบ่งกลุ่มนักเรียนดูแลรับผิดชอบ 5.นำผลผลิตมาจำหน่ายผ่านสหกรณ์และแปรรูปเป็นอาหารกลางวัน 6.นักเรียนมีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย 7.นักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้

     

    239 112

    5. เลี้ยงปลา

    วันที่ 2 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.เตรียมบ่อสำหรับไว้กระชังปลา  จำนวน  1  บ่อ 2.นำพันธุ์ปลาดุก  จำนวน  4,500  ตัว  ลงปล่อยในกระชังที่เตรียมไว้ 3.แบ่งกลุ่มนักเรียนดูแลรับผิดชอบในการให้อาหารปลาเช้า-เย็น  ทุกวัน 4.ประมาณ2-3 เดือน  สามารถนำปลาดุกขึ้นมาประกอบอาหารได้  โดยนำผลผลิตที่ได้มาจัดทำเป็นอาหารกลางวันและจำหน่ายผ่านสหกรณ์โรงเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.เตรียมบ่อสำหรับไว้กระชังปลาจำนวน1บ่อ 2.นำพันธุ์ปลาดุกจำนวน4,500ตัวลงปล่อยในกระชังที่เตรียมไว้ 3.แบ่งกลุ่มนักเรียนดูแลรับผิดชอบในการให้อาหารปลาเช้า-เย็นทุกวัน 4.นำผลผลิตมาจำหน่ายผ่านสหกรณ์และแปรรูปเป็นอาหารกลางวัน 5.นักเรียนมีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย 6.นักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้

     

    239 112

    6. ถอนเงินเปิดบัญชี

    วันที่ 9 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ถอนเงินเปิดบัญชีจำนวน500บาท

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ถอนเงินเปิดบัญชี  จำนวน  500  บาท

     

    2 0

    7. ศึกษาดูงานสหกรณ์ดีเด่น

    วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กำหนดการศึกษาดูงานสหกรณ์ดีเด่น วันที่ศุกร์ที่ 17  กุมภาพันธ์  2560 -เวลา  06.00  น.  ออกเดินทางจากโรงเรียนบ้านขะยูง  ตามเส้นทางหลวงหมายเลข  124
    ผ่าน  อำเภอห้วยทับทัน  จังหวัดศรีสะเกษ  มุ่งตรงไปจังหวัดบุรัรัมย์  โดยผ่านจังหวัดสุรินทร์ -เวลา  10.00  น  เข้าชม  ศึกษาดูงานที่โรงรียนบ้านหนองหญ้าปล้อง  อำภอลำปลายมาศ  จังหวัดบุรีรัมย์ -เวลา  18.00  น. เดินทางกลับถึงโรงเรียนบ้านขะยูงโดยสวัสดิภาพ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

     

     

    341 113

    8. การจัดการอบรมการทำน้ำยาล้างจานและน้ำยาล้างห้องน้ำ

    วันที่ 4 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กำหนดการ อบรมเชิงปฏิบัติการการทำปุ๋ยหมักชีวภาพ
    วันเสาร์ที่  ๔    มีนาคม  ๒๕๖๐ ณ  หอประชุมโรงเรียนบ้านขะยูง


    เวลา  ๐๗.๓๐  -  ๐๘.๓๐  น. -  ลงทะเบียนเข้ารับการอบรม
    เวลา  ๐๘.๓๐  -  ๐๙.๐๐  น. -  พิธีเปิดการอบรม เวลา  ๐๙.๐๐  -  ๑๐.๓๐  น. -  บรรยายความรู้ เรื่องการทำปุ๋ยหมักชีวภาพ
    เวลา  ๑๐.๓๐  -  ๑๐.๔๕  น. -  แบ่งกลุ่มเข้าเรียนรู้ตามฐานการเรียนรู้ เวลา  ๑๐.๔๕  -  ๑๑.๐๐  น. -  พักรับประทานอาหารว่าง เวลา  ๑๑.๐๐  -  ๑๒.๐๐  น. -  เข้าเรียนรู้ประจำฐานการเรียนรู้ เวลา  ๑๒.๐๐  -  ๑๓.๐๐  น. -  พักรับประทานอาหารกลางวัน เวลา  ๑๓.๐๐  -  ๑๔.๐๐  น. -  เข้าปฏิบัติการเรียนรู้ตามฐานการเรียนรู้ เวลา  ๑๔.๐๐  -  ๑๔.๑๕  น. -  พักรับประทานอาหารว่าง เวลา  ๑๔.๑๕  -  ๑๕.๐๐  น. -  เข้าปฏิบัติการเรียนรู้ตามฐานการเรียนรู้ เวลา  ๑๕.๐๐  -  ๑๕.๓๐  น. -  สรุปผลการอภิปราย นำเสนอ ผลการเรียนรู้ เวลา  ๑๕.๓๐  -  ๑๖.๐๐  น. -  พิธีปิดการอบรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

     

     

    239 119

    9. การจัดอบรมการทำปุ๋ยหมักชีวภาพ

    วันที่ 4 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กำหนดการ อบรมเชิงปฏิบัติการการทำปุ๋ยหมักชีวภาพ
    วันเสาร์ที่  ๔    มีนาคม  ๒๕๖๐ ณ  หอประชุมโรงเรียนบ้านขะยูง


    เวลา  ๐๗.๓๐  -  ๐๘.๓๐  น. -  ลงทะเบียนเข้ารับการอบรม
    เวลา  ๐๘.๓๐  -  ๐๙.๐๐  น. -  พิธีเปิดการอบรม เวลา  ๐๙.๐๐  -  ๑๐.๓๐  น. -  บรรยายความรู้ เรื่องการทำปุ๋ยหมักชีวภาพ
    เวลา  ๑๐.๓๐  -  ๑๐.๔๕  น. -  แบ่งกลุ่มเข้าเรียนรู้ตามฐานการเรียนรู้ เวลา  ๑๐.๔๕  -  ๑๑.๐๐  น. -  พักรับประทานอาหารว่าง เวลา  ๑๑.๐๐  -  ๑๒.๐๐  น. -  เข้าเรียนรู้ประจำฐานการเรียนรู้ เวลา  ๑๒.๐๐  -  ๑๓.๐๐  น. -  พักรับประทานอาหารกลางวัน เวลา  ๑๓.๐๐  -  ๑๔.๐๐  น. -  เข้าปฏิบัติการเรียนรู้ตามฐานการเรียนรู้ เวลา  ๑๔.๐๐  -  ๑๔.๑๕  น. -  พักรับประทานอาหารว่าง เวลา  ๑๔.๑๕  -  ๑๕.๐๐  น. -  เข้าปฏิบัติการเรียนรู้ตามฐานการเรียนรู้ เวลา  ๑๕.๐๐  -  ๑๕.๓๐  น. -  สรุปผลการอภิปราย นำเสนอ ผลการเรียนรู้ เวลา  ๑๕.๓๐  -  ๑๖.๐๐  น. -  พิธีปิดการอบรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

     

     

    276 119

    10. ขยายผลสหกรณ์โรงเรียน

    วันที่ 11 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กำหนดการ อบรมเชิงปฏิบัติการจัดกิจกรรมสหกรณ์โรงเรียน วันเสาร์ที่  ๑๑    มีนาคม  ๒๕๖๐ ณ  หอประชุมโรงเรียนบ้านขะยูง


    เวลา  ๐๗.๓๐  -  ๐๘.๓๐  น. -  ลงทะเบียนเข้ารับการอบรม
    เวลา  ๐๘.๓๐  -  ๐๙.๐๐  น. -  พิธีเปิดการอบรม เวลา  ๐๙.๐๐  -  ๑๐.๓๐  น. -  บรรยายความรู้ เรื่องการจัดกิจกรรมสหกรณ์โรงเรียน เวลา  ๑๐.๓๐  -  ๑๐.๔๕  น. -  แบ่งกลุ่มเข้าเรียนรู้ตามฐานการเรียนรู้ เวลา  ๑๐.๔๕  -  ๑๑.๐๐  น. -  พักรับประทานอาหารว่าง เวลา  ๑๑.๐๐  -  ๑๒.๐๐  น. -  เข้าเรียนรู้ประจำฐานการเรียนรู้ เวลา  ๑๒.๐๐  -  ๑๓.๐๐  น. -  พักรับประทานอาหารกลางวัน เวลา  ๑๓.๐๐  -  ๑๔.๐๐  น. -  เข้าปฏิบัติการเรียนรู้ตามฐานการเรียนรู้ เวลา  ๑๔.๐๐  -  ๑๔.๑๕  น. -  พักรับประทานอาหารว่าง เวลา  ๑๔.๑๕  -  ๑๕.๐๐  น. -  เข้าปฏิบัติการเรียนรู้ตามฐานการเรียนรู้ เวลา  ๑๕.๐๐  -  ๑๕.๓๐  น. -  สรุปผลการอภิปราย นำเสนอ ผลการเรียนรู้ เวลา  ๑๕.๓๐  -  ๑๖.๐๐  น. -  พิธีปิดการอบรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

     

     

    0 119

    11. ซื้ออาหารไก่ไข่

    วันที่ 16 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ซื้ออาหารไก่ไข่ 5 กระสอบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.นักเรียนแบ่งเวรกันให้อาหารไก่ไข่ 2.สามารถนำไข่ไก่มาจำหน่ายผ่านสหกรณ์โรงเรียนและนำมาประกอบอาหารกลางวันได้

     

    54 54

    12. จัดนิทรรศการป้ายนิเทศเรื่องการเกษตร

    วันที่ 16 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดนิทรรศการป้ายนิเทศเรื่องการเกษตรไว้ที่ศูนย์การเรียนรู้ เพื่อให้นักเรียนได้เข้าเรียนในการกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ตามหัวข้อต่างๆ ดังนี้ 1. การปลูกกล้วย 2. การปลูกผักสวนครัว 3. การเลี้ยงหมูป่า 4. การเพาะเลี้ยงเห็ดนางฟ้า 5. การเลี้ยงไก่ไข่และไก่เนื้อ 6. การปลูกมะนาวในท่อซีเมนต์ 7. การเลี้ยงเป็ด 8. การเลี้ยงปลาดุกในท่อซีเมนต์ 9. การทำปุ๋ยหมักชีวภาพ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการทำการเกษตรมากขึ้น
    2. นักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ให้เกิดประโยชน์สูงสุดในชีวิตประจำวันได้
    3. นักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้รับมาปฎิบัติจริงทั้งที่บ้านและโรงเรียน
    4. นักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้รับมาสร้างรายได้ให้แก่ตนเองและครอบครัวได้

     

    239 119

    13. ถอนดอกเบี้ยออกจากบัญชีโครงการเด็กไทยแก้มใส

    วันที่ 22 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ถอนดอกเบี้ยออกจากบัญชีโครงการเด็กไทยแก้มใส

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ถอนดอกเบี้ยออกจากบัญชีโครงการเด็กไทยแก้มใส

     

    3 3

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อผลิตวัตถุดิบอาหารสำหรับใช้ในการจัดการอาหารกลางวันสำหรับนักเรียนทุกคน ทุกวัยเรียนและพัฒนาเด็กนักเรียนทุกคนให้มีความรู้ทักษะและทัศนคติที่ดีทางการเกษตรผสมผสานเป็นพื้นฐานในอนาคต
    ตัวชี้วัด : โรงเรียนมีผลผลิตทางการเกษตรเป็นวัตถุดิบสำหรับใช้ในการจัดการอาหารกลางวันสำหรับนักเรียนทุกคน ทุกวัยเรียน

    ตรวจสอบ สังเกต สอบถาม

    2 มีกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนที่มีนักเรียนเป็นสมาชิก และดำเนินการโดยนักเรียน และรับซื้อผลผลิตจากกิจกรรมเกษตรในโรงเรียนเพื่อขายให้กิจกรรมอาหารกลางวัน
    ตัวชี้วัด : นักเรียนได้รับการฝึกฝนให้มีความรู้และทักษะที่จำเป็นในการทำงานสหกรณ์ ร้อยละ 80

    ตรวจสอบ สังเกต สอบถาม

    3 เพื่อให้นักเรียนมีอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการและสะอาดปลอดภัย บริโภคทุกวันเรียน ตลอดปีการศึกษาและเพื่อพัฒนาแบบแผนการบริโภคอาหารที่พึงประสงค์ตามหลักโภชนาการและสุขนิสัยที่พึงปฏิบัติตามหลักสุขาภิบาลอาหาร
    ตัวชี้วัด : โรงเรียนมีการจัดบริการอาหารกลางวันเพื่อให้นักเรียนมีอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการและสะอาดปลอดภัย บริโภคทุกวันเรียน ตลอดปีการศึกษาและเพื่อพัฒนาแบบแผนการบริโภคอาหารที่พึงประสงค์ตามหลักโภชนาการและสุขนิสัยที่พึงปฏิบัติตามหลักสุขาภิบาลอาหาร ร้อยละ 100

    ตรวจสอบ สังเกต สอบถาม

    4 เพื่อให้นักเรียนสร้างสุขนิสัยที่ดีด้วยตนเอง
    ตัวชี้วัด : นักเรียนสามารถสร้างสุขนิสัยที่ดีด้วยตนเองจนเป็นกิจนิสัย ร้อยละ 90

    ตรวจสอบ สังเกต สอบถาม

    5 เพื่อให้นักเรียนพัฒนาทักษะในการจัดการดูแลสภาพแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะ รวมทั้งการพัฒนาลักษณะนิสัยของนักเรียนในการใช้ทรัพยากรอย่างประหยัดและยั่งยืน
    ตัวชี้วัด : นักเรียนพัฒนาทักษะในการจัดการดูแลสภาพแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะ รวมทั้งการพัฒนาลักษณะนิสัยของนักเรียนในการใช้ทรัพยากรอย่างประหยัดและยั่งยืน ร้อยละ 100

    ตรวจสอบ สังเกต สอบถาม

    6 เพื่อให้นักเรียนได้พัฒนาตนเองให้มีความรู้ทักษะทัศนคติและลักษณะนิสัยที่ดีในเรื่องของเกษตรยั่งยืน โภชนาการและสุขภาพอนามัย
    ตัวชี้วัด : นักเรียนได้พัฒนาตนเองให้มีความรู้ ทักษะทัศนคติและลักษณะนิสัยที่ดีในเรื่องของเกษตรยั่งยืน โภชนาการและสุขภาพอนามัย ร้อยละ 90

    ตรวจสอบ สังเกต สอบถาม

    7 เพื่อสามารถติดตามและแก้ไขเด็กนักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการได้ทันกาลและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของเด็กนักเรียนเป็นรายบุคคลได้อย่างต่อเนื่อง รวมทั้งทราบสถานการณ์ของภาวะโภชนาการของนักเรียน
    ตัวชี้วัด : โรงเรียนสามารถติดตามและแก้ไขเด็กนักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการได้ทันกาลและเฝ้าระวัง ภาวะโภชนาการของเด็กนักเรียนเป็นรายบุคคลได้อย่างต่อเนื่อง รวมทั้งทราบสถานการณ์ของภาวะโภชนาการของนักเรียน ร้อยละ 100

    ตรวจสอบ สังเกต สอบถาม

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อผลิตวัตถุดิบอาหารสำหรับใช้ในการจัดการอาหารกลางวันสำหรับนักเรียนทุกคน ทุกวัยเรียนและพัฒนาเด็กนักเรียนทุกคนให้มีความรู้ทักษะและทัศนคติที่ดีทางการเกษตรผสมผสานเป็นพื้นฐานในอนาคต (2) มีกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนที่มีนักเรียนเป็นสมาชิก และดำเนินการโดยนักเรียน และรับซื้อผลผลิตจากกิจกรรมเกษตรในโรงเรียนเพื่อขายให้กิจกรรมอาหารกลางวัน (3) เพื่อให้นักเรียนมีอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการและสะอาดปลอดภัย บริโภคทุกวันเรียน ตลอดปีการศึกษาและเพื่อพัฒนาแบบแผนการบริโภคอาหารที่พึงประสงค์ตามหลักโภชนาการและสุขนิสัยที่พึงปฏิบัติตามหลักสุขาภิบาลอาหาร (4) เพื่อให้นักเรียนสร้างสุขนิสัยที่ดีด้วยตนเอง (5) เพื่อให้นักเรียนพัฒนาทักษะในการจัดการดูแลสภาพแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะ รวมทั้งการพัฒนาลักษณะนิสัยของนักเรียนในการใช้ทรัพยากรอย่างประหยัดและยั่งยืน (6) เพื่อให้นักเรียนได้พัฒนาตนเองให้มีความรู้ทักษะทัศนคติและลักษณะนิสัยที่ดีในเรื่องของเกษตรยั่งยืน โภชนาการและสุขภาพอนามัย (7) เพื่อสามารถติดตามและแก้ไขเด็กนักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการได้ทันกาลและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของเด็กนักเรียนเป็นรายบุคคลได้อย่างต่อเนื่อง รวมทั้งทราบสถานการณ์ของภาวะโภชนาการของนักเรียน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านขะยูง

    รหัสโครงการ ศรร.1311-084 รหัสสัญญา 58-00-2265-อ.38 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

    การเพาะเห็ดในแท๊งค์น้ำดื่มที่ไม่ใช้แล้ว การเลี้ยงปลาดุกในแท๊งค์น้ำด้ื่มที่ไม่ใช่แล้ว การทำปุ๋ยหมักชีวภาพ การปลูกมะนาวในท่อซีเมนต์ การปลูกกล้วยน้ำว้า

    -ใช้แท๊งค์น้ำที่ไม่ใช้มาดัดแปลงเป็นโรงเรือนเพาะเห็ด จำนวน ๓ แท๊งค์ ใช้แท็งน้ำที่ไม่ใช้มาดัดแปลงเป็นบ่อเลี้ยงปลาดุก จำนวน ๒ แท๊งค์ -ใช้วัสดุที่มีในท้องถิ่นเช่นปุ๋ยคอก เศษใบไม้ เศษอาหารมาทำปุ๋ยหมักชีวภาพแล้วนำปุ๋ยหมักไปใช้ในงานเกษตร -กิจกรรมการปลูกมะนาวในท่อซีเมนต์เพื่อควบคุมการออกผลของมะนาว -กิจกรรมการปลูกกล้วยน้ำว้าเพื่อใช้ในอาหารเสริม"นม 1 ถ้วย กล้วย 1ใบ ไข่ 1 ฟอง"

    นำมาจัดการเรียนการสอนในชั่วโมงลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้และนำผลผลิตมาแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้า

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

    จำหน่ายผลผลิตด้านการเกษตรของโรงเรียนผ่านสหกรณ์และนำมาใช้ในการทำอาหารกลางวันสำหรับนักเรียน

    สหกรณ์ได้รับซื้อผลผลิตทางการเกษตรจากโรงเรียนแล้วนำมาจำหน่ายให้แก่โครงการอาหารกลางวัน

    ขยายผลกิจกรรมสหกรณ์ร้านค้าแก่ชุมชนและโรงเรียนในตำบลปราสาท

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

    ใช้โปรแกรมThai school lunch

    การจัดทำรายการอาหารใช้โปรแกรมThai school lunch โดยเน้นคุณค่าของสารอาหารเป็นสำคัญ

    จัดรายการอาหารให้เหมาะสมกับแหล่งอาหารที่มีในท้องถิ่นเพื่อคัดเลือกอาหารปลอดภัยและประหยัด

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

    เครื่องมือวัดส่วนสูงมีมาตรฐานละเอียด และเครื่องชั่งน้ำหนักแบบดิจิตอล

    1.วัดส่วนสูง/ชั่งนำ้หนักนักเรียน 2. เตรียมกับเกณฑ์มาตรฐาน 3.แยกนักเรียน กลุ่ม ผอม/ค่อนข้างผอม ,เริ่มอ้วน/อ้วน 4. จัดทำอาหารให้ตรงกับภาวะโภชนาการ เช่นผอม/ค่อนข้างผอม เพิ่มปริมาณสารอาหาร 5. จัดทำคูปอง เด็กผอม/ค่อนข้างผอม ,เริ่มอ้วน/อ้วน ุ6. นักเรียน เด็กผอม/ค่อนข้างผอม ,เริ่มอ้วน/อ้วนรับคูปองไปรับประทานอาหารกลางวัน

    ควบคุมอาหารสำหรับนักเรียนกลุ่มเสี่ยง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

    กิจกรรมล้างมือแปรงฟันก่อนและหลังรับประทานอาหาร

    นักเรียนล้างมือทุกครั้งก่อนรับประทานอาหาร โดยใช้วิธี7ขั้นตอน นักเรียนแปรงฟันทุกครั้งหลังรับประทานอาหาร โดยแปรงฟันประกอบเพลง

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    โรงเรียนบ้านขะยูง จังหวัด ศรีสะเกษ

    รหัสโครงการ ศรร.1311-084

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายเสรี อุตสาหะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด