แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โรงเรียนบ้านกุดเรือคำ
“ โรงเรียนบ้านกุดเรือคำ ”
149 หมู่ 1 ตำบลกุดเรือคำ อำเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร
หัวหน้าโครงการ
นายเกษม ทัศวงษา
ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านกุดเรือคำ
ที่อยู่ 149 หมู่ 1 ตำบลกุดเรือคำ อำเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร จังหวัด สกลนคร
รหัสโครงการ ศรร.1313-056 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-อ.10
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนบ้านกุดเรือคำ จังหวัดสกลนคร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 149 หมู่ 1 ตำบลกุดเรือคำ อำเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านกุดเรือคำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านกุดเรือคำ
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนบ้านกุดเรือคำ " ดำเนินการในพื้นที่ 149 หมู่ 1 ตำบลกุดเรือคำ อำเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร รหัสโครงการ ศรร.1313-056 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 120,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านกุดเรือคำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 699 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น
จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียน บ้านกุดเรือคำจึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นซึ่งในปีที่ 1 ได้ดำเนินการดังต่อไปนี้
(สรุปผลการดำเนินงาน ของโครงการฯ ปีที่ 1 พร้อมสถานการณ์ด้านอาหารและโภชนาการของเด็กนักเรียน ก่อน-หลัง
เข้าร่วมโครงการ และกิจกรรมที่ประสบความสำเร็จที่เห็นผลผลิต ผลลัพธ์ หรือนวัตกรรม อย่างเป็นรูปธรรม ตามข้อมูลในใบสมัครส่วนที่3)
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสร้างความตระหนักและเสริมสร้างเครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส ชุมชนและหน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้องทั้งระบบ
- เพื่อส่งเสริมปัจจัยในการผลิตทางด้านการเกษตรปลอดสารทั้งในและนอกโรงเรียน
- เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้กิจกรรมสหกรณ์ในโรงเรียน ให้บรรลุเป้าหมายการจัดกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน
- เพื่อส่งเสริม ให้นักเรียน ครู ผู้ปกครองและชุมชน มีความรู้ด้านโภชนาการและสุขภาวะที่ดี
- เพื่อพัฒนาอนามัย สิ่งแวดล้อมทั้งในและนอกโรงเรียนให้ถูกสุขอนามัย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- โรงเรียนสามารถจัดกิจกรรมการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันที่ใช้เป็นวัตถุดิบในการประกอบอาหารกลางวัน
- โรงเรียนจัดกิจกรรมสหกรณ์ในโรงเรียนโดยการมีส่วนร่วมอย่างเหมาะสม
- นักเรียนบริโภคอาหารที่ถูกหลักโภชนาการและอาหารปลอดภัย
- นักเรียนแกนนำสามารถจัดกิจกรรมพัฒนาสุขนิสัยและนักเรียนสามารถประเมินภาวะโภชนาการสมรรถภาพทางกายและสุขภาพได้ด้วยตนเองตลอดจนนักเรียนกลุ่มเสี่ยงได้รับความช่วยเหลือ แก้ไขอย่างเหมาะสมตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
- โรงเรียนสามารถบริการสุขภาพนักเรียนและอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมและเพียงพอ
- ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการโดย ใช้สื่อ นวัตกรรม ชุดความรู้และการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นจากชุมชน มาสนับสนุนการจัดกิจกรรม ด้านเกษตร โภชนาการ และสุขภาพ
- โรงเรียนมีการบริหารจัดการ ขยายผลการดำเนินงานศูนย์การเรียนรู้โรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใสได้อย่างยั่งยืน
- นักเรียนมีทักษะชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการออกกำลังกาย การบริหารร่างกายนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการและการบริโภคอาหาร
วันที่ 7 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- กำหนดนโยบายและกิจกรรม
- จัดทำโครงการและชี้แจงโครง
- จัดกิจกรรมอบรบให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง เรื่องภาวะโภชนาการและพัฒนาการเด็กนักเรียน 6 - 12 ปี
4.จัดอบรมผู้ปกครอง เด็กนักเรียน 6 - 12 ปี เมื่อวันที่ 7-8 มิถุนายน 2559 จำนวน 140 คน
- ทำการงานชั่งน้ำหนักเด็กนักเรียน ร่วมกับครูกับนักเรียน ทุกเดือน 3 เดือน
- ติดตามชั่งน้ำหนักเด็กที่มีปัญหาภาวะโภชนาการที่บ้าน และลงบันทึกในสมุดบันทึกสุขภาพ ฯ
- ติดตามเฝ้าระวังในเด็กที่ตกเกณฑ์มาตรฐานของภาวะโภชนาการในเด็กนักเรียน 6 - 12 ปี (ตามกราฟแสดงเกณฑ์อ้างอิงการเจริญเติบโตของเด็กนักเรียน 6 - 12 ปี กรมอนามัย)
8.จัดกิจกรรมการออกกำลังกายสำหรับเด็กนักเรียน 6 - 12 ปี ทุกวัน
- ติดตามประเมินผลการดำเนินงาน
10.รายงานผลการดำเนินงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- เด็กนักเรียน 6 - 12 ปีได้รับการประเมินโภชนาการ และพัฒนาการ คิดเป็นร้อยละ 90
- เด็กนักเรียน 6 - 12 ปี มีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์ คิดเป็นร้อยละ 80
- เด็กนักเรียน 6 - 12 ปี ปีมีพัฒนาการที่สมวัยทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม คิดเป็นร้อยละ 85
- เด็กนักเรียน 6 - 12 ปีปีพัฒนาการล่าช้าให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้มีพัฒนาการที่สมวัย และได้รับการรักษาที่ถูกต้องในรายที่มีความผิดปกติมาก
- ผู้ปกครอง และผู้เลี้ยงดูให้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการการส่งเสริมโภชนาการและพัฒนาการ เด็กนักเรียน 6 - 12 ปี
ุ6.เด็กนักเรียนที่ได้รับการอบรมใส่ใจ การออกกำลังกายมากขึ้นและปฏิบัติเป็นประจำ ทุกวันคิดเป็นร้อยละ 90
167
180
2. จัดอบรม ตัวแทนนักเรียนแกน อย.น้อย
วันที่ 16 มิถุนายน 2559 เวลา 13.00 น. - 16.30 น. น.กิจกรรมที่ทำ
- ติอต่อประสานงานกับ เจ้าหน้าที่ รพ.สต.จำปาดง , รพ.อำเภอวานรนิวาส
- จัดเตรียมสถานที่/บุคลากร
- ลงทะเบียน
- กล่าวเปิดการอบรม
- ดำเนินการตามกระบวนการของวิทยากร
- กล่าวปิดการอบรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลที่เกิดขึ้น
1. นักเรียนแกนนำได้รับความรู้จากวิทยากรที่มีความชำนาญโดยตรง เกี่ยวกับหัวข้อดังต่อไปนี้
- การรับประทานอาหาร ครบ 5 หมู่
- ธงโภชนาการ
- ทันตสุขภาพ
- การตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร
- การล้างมือ
- การเลือกซื้ออาหารตามฉลากสินค้า
- โรคเกี่ยวกับพยาธิใบไม้ในตับ
- สารเสพติด
2. นักเรียนแกนนำอย.น้อยของโรงเรียนได้เป็นตัวแทนโรงเรียน นำความรู้ที่ได้ไปขยายผลต่อให้กับนักเรียนในห้องเรียน และโรงเรียน รวมถึงเป็นตัวแทนในสภานักเรียน เพื่อดำเนินกิจกรรมอย.น้อย
ในโรงเรียนทั้งปีการศึกษา 2559
52
109
3. จัดอบรมกิจกรรมหนูน้อยฟันดี
วันที่ 17 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
5.1เสนอโครงการเพื่ออนุมัติ
5.2ประชุมคณะครูและผู้รับผิดชอบโครงการ
5.3ประสานงาน วิทยากรผู้ฝึกสอน และผู้เข้าร่วมโครงการ
5.5ดำเนินโครงการกำหนด
5.5 สรุปผลการดำเนินงาน ปัญหาและอุปสรรคที่พบ
6.ระยะเวลาการดำเนินงาน
-อบรมแปลงฟัน วันอังคาร ที่ 14 มิถุนายน 2559
- เดือน 16พฤษภาคม 2559 – 15 มีนาคม 2560หลังรับประทานอาหารตอนเที่ยงทุกวัน
- สรุปและประเมินผล 18 – 20มีนาคม2560
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนโรงเรียนบ้านกุดเรือคำ ตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาลถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
จำนวน 663 คน ปฏิบัติกิจกรรมแปรงฟันทุกวันคิดเป็นร้อยละ 90%
2.สอนวิธีการแปรงฟันที่ถูกวิธีคิดเป็นร้อยละ 90%
- ปฏิบัติกิจกรรมการแปรงฟันหลังอาหารตอนเที่ยงทุกวันคิดเป็นร้อยละ 90%
4. เด็กนักเรียนประถมมีความรู้ ความสามารถและทักษะในการดูแลสุขภาพฟันช่องปากร้อยละ 90%
- เด็กก่อนวัยเรียน,เด็กนักเรียนแปรงฟันได้อย่างถูกวิธีร้อยละ 90%
- สุขภาพในช่องปากของเด็กดีร้อยละ 90%
66
687
4. ประชุมสัมมนาครู ผู้ปกครอง และชุมชนเกี่ยวกับเมนู Thai school Lunch
วันที่ 20 มิถุนายน 2559 เวลา 08.30 - 16.30 น. น.กิจกรรมที่ทำ
- นักเรียน ครู ผู้ปกครอง และกลุ่มเครือข่ายลงทะเบียน
- พิธีเปิดงาน โดยผู้อำนวยการโรงเรียน
- กล่าวความเป็นมาของโครงการจัดอาหารกลางวันที่มีคุณภาพโดยใช้ระบบออนไลน์ (Thai School Lunch )
- พัก/รับประทานอาหารว่าง
- หลักการจัดโภชนาการในโรงเรียน
- พักรับประทานอาหารกลางวัน
- การพัฒนาสุขนิสัย และการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน
- พัก/รับประทานอาหารว่าง
- ฝึกปฏิบัติการโช้โปรแกรม Thai School Lunch
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนได้เรียนรู้หลักการจัดโภชนาการในโรงเรียน
- นักเรียนสามารถพัฒนาสุขนิสัย และมีการส่งเสริมสุขภาพอนามัยได้อย่างถูกต้อง
- ผู้เข้าร่วมการอบรมมีทักษะในการใช้โปรแกรม Thai School Lunch
- ผู้เข้าร่วมการอบรมสามารถนำความรู้ที่ได้ไปขยายผลให้กับเครือข่ายในโรงเรียนได้
187
150
5. กิจกรรมกีฬาและนันทนาการ
วันที่ 9 กรกฎาคม 2559 เวลา 07:00-16.30 น. น.กิจกรรมที่ทำ
การจัดกิจกรรมกีฬาและนันทนาการ
1. วันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 จัดอบรมกิจกรรมแข่งขันกีฬานักเรียน กำหนดเวลา 1 วัน
เวลา 08.00 - 09.00 น. ลงทะเบียนรายงานตัว
เวลา 09.00 - 10.00 น. พิธีเปิดการอบรมจากผู้บริหารโรงเรียน
เวลา 10.00 - 12.00 น. กิจกรรมโดยวิทยากร
เวลา 12.00 - 13.00 น. พักกลางวัน
เวลา 13.00 - 16.00 น. กิจกรรมโดยวิทยากร
- ค่าตอบแทนวิทยากร 2 คน คนละ 400 รวม 1 วัน รวม 800 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน/อาหารว่าง 1 วัน ( เหมาจ่าย ) รวม 200 บาท
2. วันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 กิจกรรมเข้าค่ายฟุตบอลชาย (ไม่ค้างคืน )
เวลา 08.00 - 09.00 น. ลงทะเบียนรายงานตัว
เวลา 09.00 - 09.30 น. พิธีเปิดการเข้าค่ายจากผู้บริหารโรงเรียน
เวลา 09.30 - 10.45 น. กิจกรรมโดยวิทยากร
เวลา 10.45 - 11.00 น. พักอาหารว่าง
เวลา 11.00 - 12.00 น. กิจกรรมโดยวิทยากร
เวลา 12.00 - 13.00 น. พักกลางวัน
เวลา 13.00 - 16.00 น. กิจกรรมโดยวิทยากร
3. วันที่ 16,17,23,24 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 กิจกรรมเข้าค่ายฟุตบอลชาย (ไม่ค้างคืน )
เวลา 08.00 - 09.00 น. กิจกรรมโดยวิทยากร
เวลา 09.30 - 10.45 น. กิจกรรมโดยวิทยากร
เวลา 10.45 - 11.00 น. พักอาหารว่าง
เวลา 11.00 - 12.00 น. กิจกรรมโดยวิทยากร
เวลา 12.00 - 13.00 น. พักกลางวัน
เวลา 13.00 - 16.00 น. กิจกรรมโดยวิทยากร
เวลา 16.00 น. พิธีปิดการเข้าค่ายโดยผู้บริหาร
- ค่าตอบแทนวิทยากร 2 คน คนละ 400 x 5 วัน รวม 4,000 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน 5 วัน ( เหมาจ่าย ) รวม 5,000 บาท
-ค่าอาหารว่าง 5 วัน ( เหมาจ่าย ) รวม 2500 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กิจกรรมการอบรมกีฬาและนันทนาการภายในโรงเรียน
- นักเรียนจำนวน 657 คน ได้ร่วมกิจกรรมกีฬาร้อยละ 100 (และขยายผลนักกีฬาที่เป้นตัวแทนนักเรียนจำนวน 40 คน เข้ารับการฝึกอบรมและเข้าค่ายเตรียมความพร้อมแข่งกีฬาศูนย์เครือข่ายสถานศึกษา )
- ผู้ปกครองและเเขกผู้มีเกียรติให้การสนับสนุนและร่วมงานตามเป้าหมาย
- นักกีฬามีทักษะในการเล่นกีฬาเพิ่มขึ้น
- นักเรียนได้เรียนรู้และปฏิบัติจริงเกี่ยวกับกระบวนการออกกำลังกาย,การใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์,การทำงานเป็นทีม,การมีความสามัคคี,การรู้จักแก้ปัญหา
กิจกรรมคัดนักกีฬาฟุตบอลชายเตรียมความพร้อมแข่งขันกีฬาศูนย์เครือข่าย/กีฬาเขตพื้นที่การศึกษา
- นักฟุตบอลชายร่วมฝึกซ้อมจำนวน 40 คน
- นักกีฬามีทักษะทางด้านกีฬาฟุตบอลดีขึ้น
- นักกีฬามีความสมบูรณืทางด้านร่างกายดีขึ้น
- นักกีฬารู้จักกฎกติกามารยาทในการเล่นกีฬามากขึ้น
- นักกีฬารู้จักระเบียบวินัยมากขึ้น
- นักกีฬามีจิตสำนึกในการเล่นกีฬา รู้แพ้ รู้ชนะ รู้อภัย
930
475
6. ศึกษาแหล่งเรียนรู้การเลี้ยงไก่ดำ
วันที่ 14 กรกฎาคม 2559 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ศึกษาการเลี้ยงไก่ดำที่ศูนย์เรียนรู้การเลี้ยงไกดำบ้านคำเจริญ
- นักเรียนชั้นประถมศึกษาปี่ที 3 - 4 ได้รับการอบรมเชิงปฏิบัติการ การเลี้ยงดูและการให้วัคซีนไก่ดำและไก่พันธุ์ไข่ โดยเชิญวิทยากรมาให้ความรู้ทั้งทางทฤษฎีและการสาธิตให้นักเรียนฝึกปฏิบัติ มีนักเรียนกลุ่มเป้าหมายจากกลุ่มอาชีพกิจกรรมลดเวลาเรียน และการให้ความรู้เพิ่มเติมนักเรียนในวิชาเกษตร สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีและมีการเลี้ยงจริง
- โรงเรียนได้รับการสนุบสนุนไก่ดำจากปศุสัตว์จังหวัด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนกลุ่่มเป้าหมายได้ประสบการณ์ตรงจากการฝึกปฏิบัติ
- ชั้นประถมศึกษาปี่ที 3 - 4 ได้รับความความรู้เพิ่มเติมนักเรียนในวิชาเกษตร สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
- ผู้เรียนและคณะครูสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการดูแลเลี้ยงไก่ได้ทั้งในโรงเรียนและที่บ้าน ตลอดจนสามารแนะนำผู้สนใจได้
70
181
7. ศึกษาดูงานการเลี้ยงหมู
วันที่ 6 สิงหาคม 2559 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำ
นำนักเรียนเข้าศึกษา ฟาร์มเลี้ยงหมู และ รับฟังบรรยายจากปศุสัตว์จังหวัด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียน สามารถนำความรู้มาปรับใช้ในการเลี้ยงหมูในโรงเรียน
75
80
8. อบรมสัมมนาสหกรณ์ออมทรัพย์ผ่านระบบธนาคารโรงเรียน
วันที่ 25 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดอบรมการดำเนินการสหกรณ์ออมทรัพย์ผ่านธนาคารโรงเรียน ตามขั้นตอนดังนี้
1. คณะครูและนักเรียนลงทะเบียน
2. ผู้อำนวยการกล่าวให้โอวาท
3. วิทยากรให้ความรู้เกี่ยวกับโปรแกรมระบบธนาคาร
- ลงโปรแกรมในคอมพิวเตอร์
- สาธิตและฝึกปฏิบัติ การจัดทำบัญชีข้อมูล รับฝากถอนเงิน
การใช้งบประมาณ
- ค่าวิทยากร 2 คน x 600 บาท เวลาการอบรม 3 วัน รวม 1,200 บาท
- ค่าอาหารว่าง/เครื่องดื่ม สำหรับครู 30 คน x 15 บาท รวม 450 บาท
- ค่าอาหารว่าง/เครื่องดื่ม สำหรับนักเรียน 115 คน ( เหมาจ่าย) รวม 788 บาท
- ค่าอาหารกลางวันวิทยากร 2 คน รวม 200 บาท
- ค่าเอกสาร รวม 362 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิตที่เกิดขึ้น
1. ธนาคารโรงเรียนมีโปรแกรมคอมพิวเตอร์เก็บข้อมูลเกี่ยวกับสมาชิกในโรงเรียน
2. เจ้าหน้าที่ธนาคารได้รับความรู้และสามารถใช้คอมพิวเตอร์ในระบบเก็บข้อมูลการฝากถอนเงินได้อย่างถูกต้อง
ผลลัพธ์
ธนาคารโรงเรียนดำเนินงานได้ตามวัตถุประสงค์และมีความยั้งยืน
161
147
9. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการจัดทำธนาคารขยะ
วันที่ 26 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- จัดอบรมให้ความรู้นักเรียน เป้าหมาย 100 คน 2 วัน โครงการจัดทำธนาคารขยะรีไซเคิล ค่าอาหารว่าง เช้า-บ่าย 2วัน 4มื้อ (เหม่าจ่าย) 4750 บาท
- จัดทำป้ายอบรม 450 บาท
- ค่าวิทยากรอบรม 2 วัน งบประมาณ 800 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- การดำเนินการกิจกรรมธนาคารขยะของโรงเรียน เป็นไปด้วยความเรียบร้อย มีที่ทิ้งขยะเพื่อแยกขยะเป็นสัดส่วน สามารถดำเนินการอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
- นักเรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจ และเกิดทักษะกาในการแยกขยะที่ถูกต้องนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ และขยายผลสู่ครอบครัวและชุมชน
116
79
10. จัดอบรมสัมมนา พัฒนาบุคลากร การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการด้านการเกษตร สหกรณ์ อาหารโภชนาการและสุขภาพ
วันที่ 27 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ประชุมผู้รับผิดชอบโครงการ
- ดำเนินการจัดการอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดทำคู่มือการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ ด้านการเกษตรสหกรณ์อาหารโภชนาการและสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมให้คณะครูและบุคลากรทางการศึกษา
โรงเรียนบ้านกุดเรือคำในวันที่ 27-28เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2559 ณ ห้องประชุมอาคารใหม่โรงเรียนบ้านกุดเรือคำ
- สรุปผลการดำเนินงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
1. ได้คู่มือการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ ด้านการเกษตร สหกรณ์ อาหารโภชนาการและสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม จำนวน 4 เล่ม
2. ครูและบุคลากรทางการศึกษา ร้อยละ 100 มีความรู้ความเข้าใจในการนำกิจกรรมไปใช้ในการจัดการเรียนรู้
ผลลัพธ์
1. นักเรียนได้รับการพัฒนาการเรียนรู้และทักษะด้านการเกษตร สหกรณ์ อาหารโภชนาการและสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. ครูและบุคลากรทางการศึกษา สามารถจัดกิจกรรมไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ด้านการเกษตร สหกรณ์ อาหารโภชนาการและสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
85
45
11. ศึกษาดูงานโรงเรียนต้นแบบสหกรณ์นักเรียน
วันที่ 9 กันยายน 2559 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดกิจกรรมวันที่9ก.ย.2559( อบรมและศึกษาดูงานนักเรียน ป.5-6จำนวน87คนคณะครูและบุคลากรจำนวน8ท่าน )
กิจกรรม1.09.00 - 12.00 น.-อบรมนักเรียนจำนวน87คน โดยครูและนักเรียนแกนนำ
2.13.30- 16.00 น. -นำนักเรียนไปทัศนศึกษาณสหกรณ์การเกษตรก.ร.ป.กลางบ้านสามแยกขันอาสา ต.คูสะคาม อ.วานรนิวาสจ. สกลนคร
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมสหกรณ์ ได้เป็นอย่างดีทุกคน
- นักเรียนมีความรู้และทักษะการทำบัญชีและเอกสารที่เกี่ยวข้องกับสหกรณ์นักเรียน ได้อย่างถูกต้อง
30
96
12. จัดทำคู่มือการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
วันที่ 10 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ 4 กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมเกษตรพอเพียง, กิจกรรมสหกรณ์นักเรียน, กิจกรรมอาหาร โภชนาการและสุขภาพ , กิจกรรมอนามัยสิ่งแวดล้อม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- แผนการจัดการเรียนรู้กิจกรรมเกษตรพอเพียง ชั้นประถมศึกษ่ปีที่ 1-6 จำนวน 6 เล่ม
- แผนการจัดการเรียนรู้กิจกรรมสหกรณ์นักเรียน ชั้นประถมศึกษ่ปีที่ 1-6 จำนวน 6 เล่ม
- แผนการจัดการเรียนรู้ กิจกรรมอาหาร โภชนาการและสุขภาพ ชั้นประถมศึกษ่ปีที่ 1-6 จำนวน 6 เล่ม
- แผนการจัดการเรียนรู้กิจกรรมอนามัยสิ่งแวดล้อม ชั้นประถมศึกษ่ปีที่ 1-6 จำนวน 6 เล่ม
10
708
13. นโยบายการดำเนินงานร่วมกันตามโครงการศูนย์การเรียนรู้เด็กไทยแก้มใส ประชุมคณะทำงานบุคลากรจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระดับท้องถิ่น ชุมชน เขต และจังหวัด
วันที่ 20 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ประชุมชี้แจงคณะทำงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง
- คณะทำงานปฏิบัติงานตามปฏิทินการปฏิบัติงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ครูและบุคลากร ร้อยละ 100 เข้าใจนโยบายในการปฏิบัติงาน
- ครูและบุคลากร ร้อยละ 80 สามารถปฏิบัติงานตามนโยบายได้
714
692
14. การรณรงค์ป้องกันโรคติดต่อร้ายแรง และการดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่ได้รับบาดเจ็บ
วันที่ 31 ตุลาคม 2559 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนได้รับความรู้จากการอ่านศึกษาป้ายรณรงค์โรคติดต่อร้ายแรง และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน เพื่อให้มีสุขภาขดีและแข็งแรงห่างไกลโรคร้าย
155
150
15. จัดกิจกรรมแอโรบิคตอนเช้าและกิจกรรมบาสโลปตอนบ่าย
วันที่ 31 ตุลาคม 2559 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.) การจัดกิจกรรมแอโรบิค ได้ดำเนินการฝึกการออกกำลังกายของนักเรียนในท่า แอโรบิกมวยไทย มีท่าที่ใช้ในการออกกำลังกายดังต่อไปนี้
1.1 ท่าหมัดตรง 1.2 หมัดฮุบ 1.3 ท่าหมัดอัปคัด 1.4 ท่าศอกตัด 1.5 ท่า ศอกตี 1.6 ท่า ศอกงัด 1.7่ ท่าเข่าตรง 1.8 ท่าเขาตัด 1.9 ท่าทีบตรง 1.10 ท่าเตาะตัด รวมทั้งหมด 10 ท่า ฝึกท่าละ 16 ครั้ง
ซึ่งได้จัดให้นักเรียนได้ทำกิจกรรมในช่วงเวลาตอนเช้า ในตอนเข้าแถวหน้า เสาธง ตั้งแต่วันจัน-วันศุกร์ เวลา 08.30-09.00 น.
2.) การจัดกิจกรรมบาสโลบ ได้ดำเนินการฝึกโดยการเชิญวิทยากรจากชุมชนให้ความรุ้และนำฝึกเต้นบาสโลบ
ซึ่งได้จัดให้นักเรียนได้ทำกิจกรรมในช่วงเวลาคาบกิจกรรมลดเวลาเรียน-เพิ่มเวลารู้ ตั้งแต่วันจัน-วันศุกร์ เวลา 15.00-16.00 น. ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- มีผู้เข้ารว่มกิจกรรมแอโรบิคและกิจกรรมบาสโลบ คิดเป็นร้อยละ 90
- นักเรียนได้รับการออกกำลังทุกคน คิดเป็นร้อยละ 95
- นักเรียนมีสมรรถภาพทางกายดีขึ้นคิดเป็นเป็นร้อยละ 95
- ผุ้เรียนได้ปฏิบัติการออกกำลังเป็นประจำสม่ำเสมอคิดเป็นเป็นร้อยละ 95
330
320
16. ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดการบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมและเพียงพอ
วันที่ 31 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- จัดประชุมอบรมเชิงปฏิบัติการ การคัดแยกขยะและการดูแลสภาพแวดล้อมในโรงเรียน
- นำเศษวัสดุ หญ้าแห้งและใบไม้ไปทำปุ๋ยหมัก
- จัดระบบให้นักเรียนรับผิดชอบทำความสะอาดดูแลสภาพแวดล้อมในโรงเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนและบุคลากร ร้อยละ 100 เข้าใจการคัดแยกขยะและการดูแลสภาพแวดล้อมในโรงเรียน
- นักเรียนและบุคลากร ร้อยละ 80 สามารถคัดแยกขยะและการดูแลสถาพแวดล้อมในโรงเรียน
159
145
17. การทำน้ำหมักชีวภาพอเนกประสงค์
วันที่ 14 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดอบรมเชิงฏิบัติการ ที่ศูนย์เรียนรู้
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ นักเรียนสามารถฏิบัติจริงได้
100
71
18. การตรวจสุขภาพนักเรียน
วันที่ 15 พฤศจิกายน 2559 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนทุกคนได้รับการตรวจสุขภาพร่างกาย
ทดสอบสายตาและการได้ยิน
นักเรียนที่มีปัญหาด้านสายตาได้รับการช่วยเหลือแก้ไข
70
130
19. การต่อยอดจากการศึกษาดูงาน นำมาปฏิบัติจริงในโรงเรียน
วันที่ 15 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
นำนักเรียน ปลูกผัก และเลี้ยงสัตว์ ภายในโรงเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนสามารถปลูกผัก และเลี้ยงสัตว์โดยใช้อุปกรณ์จริง
0
260
20. อบรมให้ความรู้ สัมมนา ด้านการเกษตร
วันที่ 5 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
อบรมให้ความรู้ สัมมนา วิธีการด้านการปลูกผักปลอดสารโดยการใช้น้ำหมักชีวภาพและปุ๋ยชีวภาพจากไส้เดือน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนร้อยละ 80 สามารถเพาะพันธุ์ผักปลอดสารได้
- นักเรียนร้อยละ 80 สามารถทำอาหารจากผักปลอดสารนำจำหน่ายในชุมชนได้
80
65
21. โรงเรียนมีการจัดกิจกรรมตามกระบวนสหกรณ์และธนาคารโรงเรียนเต็มรูปแบบ
วันที่ 22 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
อบรมชี้แจงการดำเนินงานของสหกรณ์
การส่งสินค้าเข้าร่วมจำหน่ายให้สหกรณ์
เพื่อส่งโครงการอาหารกลางวัน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมีความเข้าใจพร้อมส่งสินค้าเข้าร่วมจำหน่าย
44
7
22. ประชุมเชิงปฏิบัติการการฝึกสุขนิสัยตามหลักสุขบัญญัติแห่งชาติ
วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ขออนุมัติจัดประชุมการฝึกสุขบัญญัติแห่งชาติให้แก่นักเรียน โดยปฏิบัติตามปฏิทินการปฏิบัติงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจต่อการปฏิบัติตามสุขบัญญัติแห่งชาติได้
- นักเรียนสามารถถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติตามสุขบัญญัติแห่งชาติได้
97
135
23. ศึกษาดูงานการเลี้ยงปลา อำเภอพังโคน
วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำ
นำนักเรียนเข้าอบรม ศึกษาดูงาน ที่ ฟาร์มไม้เงินปลาทอง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนได้รับความรู้ในการเลี้ยงปลา สามารถนำมาใช้ในการดูแลปลาในโรงเรียนได้
70
34
24. จัดนิทรรศการแสดงผลงาน
วันที่ 9 มีนาคม 2560 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดนิทรรศการแสดงผลงาน ขยายผลสู่ผู้ปกครอง ชุมชนและเครือข่าย
1. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมชมวีดีทัศน์ ณ ห้องปรพชุมโรงเรียนบ้านกุดเรือคำ
2. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมชมบูธนิทรรศการ
3. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเยี่ยมชมสถานที่จริงในการปฏิบัติงานตามโครงการ
4. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมร่วมกันสรุป แนะนำเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมตามโครงการเด็กไทยแก้มใส
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนร้อยละ 100 ได้เข้าร่วมกิจกรรมตามโครงการเด็กไทยแก้มใส
- คณะครู บุลากร ร้อยละ 100 ได้เข้าร่วมกิจกรรมตามโครงการเด็กไทยแก้มใส
- ผู้ปกครอง ชุมชน มีส่วมร่วมในการจัดกิจกรรมตามโครงการเด็กไทยแก้มใส
275
200
25. คืนดอกเบี้ยปิดโครงการ
วันที่ 20 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
คืนดอกเบี้ยปิดโครงการโดยถอนเป็นเงินสดให้ทาง สอส.
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
สอส.ได้รับดอกเบีย
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อสร้างความตระหนักและเสริมสร้างเครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส ชุมชนและหน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้องทั้งระบบ
ตัวชี้วัด : 1. นักเรียน ครู บุคลากรที่เกี่ยวข้อง ผู้ปกครอง ชุมชนและภาคเครือข่ายเข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใส อย่างน้อยร้อยละ 80
2. ขยายเครือข่ายสู่โรงเรียนในศูนย์เครือข่ายสถานศึกษาและโรงเรียนอื่นๆในสพป.สกลนคร เขต 3 อย่างน้อย 5 โรงเรียน
2
เพื่อส่งเสริมปัจจัยในการผลิตทางด้านการเกษตรปลอดสารทั้งในและนอกโรงเรียน
ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนร้อยละ 80 มีคะแนนการทดสอบความรู้ด้านการเกษตรตั้งแต่ระดับดี–ดีมาก
2. นักเรียนและ บุคลากรเข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ 80
3. ภาคี/ เครือข่าย/ชุมชนและผู้ปกครองได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้
3
เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้กิจกรรมสหกรณ์ในโรงเรียน ให้บรรลุเป้าหมายการจัดกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน
ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนร้อยละ80 มีคะแนนการทดสอบความรู้ด้านสหกรณ์ตั้งแต่ระดับดี –ดีมาก
2. นักเรียนและ บุคลากรเข้าร่วมกิจกรรมอย่างน้อยร้อยละ 80
3. ภาคี/ เครือข่าย/ชุมชนและผู้ปกครอง
ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้
4
เพื่อส่งเสริม ให้นักเรียน ครู ผู้ปกครองและชุมชน มีความรู้ด้านโภชนาการและสุขภาวะที่ดี
ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนร้อยละ 80 มีคะแนนการทดสอบความรู้ด้านภาวะโภชนาการและสุขภาพ ตั้งแต่ระดับดี – ดีมาก
2.จัดรายการอาหารหมุนเวียน1 เดือน ตามมาตรฐานโภชนาการ(ใช้Thai SchoolLunch Progam)
3. ตัวแทนนักเรียน อย.น้อยตรวจคุณภาพอาหารอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง
4. นักเรียนร้อยละ 100 ได้รับการคัดกรอง และร่วมกิจกรรมส่งเสริมสมรรถภาพทางร่างกายและการแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการ
5. นักเรียนที่มีภาวะเริ่มอ้วน และอ้วน ลดลง อย่างน้อยร้อยละ 7
6. นักเรียนร้อยละ80 มีน้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐานมากกว่าหรือเท่ากับ+2 S.D.ขึ้นไป
7. นักเรียนแกนนำจัดกิจกรรมพัฒนาสุขนิสัยและส่งเสริมสุขภาพได้ครอบคลุมสุขนิสัยด้านต่าง ๆ ครบถ้วน
5
เพื่อพัฒนาอนามัย สิ่งแวดล้อมทั้งในและนอกโรงเรียนให้ถูกสุขอนามัย
ตัวชี้วัด : 1.โรงเรียนมีน้ำบริโภคผ่านเกณฑ์มาตรฐานและเพียงพอ 2. โรงเรียนจัดบริการสุขาภิบาลอนามัย สิ่งแวดล้อมโรงเรียน และมาตรฐานคุณภาพ
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
โรงเรียนบ้านกุดเรือคำ จังหวัด สกลนคร
รหัสโครงการ ศรร.1313-056
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายเกษม ทัศวงษา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โรงเรียนบ้านกุดเรือคำ
“ โรงเรียนบ้านกุดเรือคำ ”
149 หมู่ 1 ตำบลกุดเรือคำ อำเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนครหัวหน้าโครงการ
นายเกษม ทัศวงษา
ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านกุดเรือคำ
ที่อยู่ 149 หมู่ 1 ตำบลกุดเรือคำ อำเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร จังหวัด สกลนคร
รหัสโครงการ ศรร.1313-056 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-อ.10
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โรงเรียนบ้านกุดเรือคำ จังหวัดสกลนคร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 149 หมู่ 1 ตำบลกุดเรือคำ อำเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านกุดเรือคำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านกุดเรือคำ
บทคัดย่อ
โครงการ " โรงเรียนบ้านกุดเรือคำ " ดำเนินการในพื้นที่ 149 หมู่ 1 ตำบลกุดเรือคำ อำเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร รหัสโครงการ ศรร.1313-056 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 120,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านกุดเรือคำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 699 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น
จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียน บ้านกุดเรือคำจึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นซึ่งในปีที่ 1 ได้ดำเนินการดังต่อไปนี้
(สรุปผลการดำเนินงาน ของโครงการฯ ปีที่ 1 พร้อมสถานการณ์ด้านอาหารและโภชนาการของเด็กนักเรียน ก่อน-หลัง
เข้าร่วมโครงการ และกิจกรรมที่ประสบความสำเร็จที่เห็นผลผลิต ผลลัพธ์ หรือนวัตกรรม อย่างเป็นรูปธรรม ตามข้อมูลในใบสมัครส่วนที่3)
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสร้างความตระหนักและเสริมสร้างเครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส ชุมชนและหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องทั้งระบบ
- เพื่อส่งเสริมปัจจัยในการผลิตทางด้านการเกษตรปลอดสารทั้งในและนอกโรงเรียน
- เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้กิจกรรมสหกรณ์ในโรงเรียน ให้บรรลุเป้าหมายการจัดกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน
- เพื่อส่งเสริม ให้นักเรียน ครู ผู้ปกครองและชุมชน มีความรู้ด้านโภชนาการและสุขภาวะที่ดี
- เพื่อพัฒนาอนามัย สิ่งแวดล้อมทั้งในและนอกโรงเรียนให้ถูกสุขอนามัย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- โรงเรียนสามารถจัดกิจกรรมการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันที่ใช้เป็นวัตถุดิบในการประกอบอาหารกลางวัน
- โรงเรียนจัดกิจกรรมสหกรณ์ในโรงเรียนโดยการมีส่วนร่วมอย่างเหมาะสม
- นักเรียนบริโภคอาหารที่ถูกหลักโภชนาการและอาหารปลอดภัย
- นักเรียนแกนนำสามารถจัดกิจกรรมพัฒนาสุขนิสัยและนักเรียนสามารถประเมินภาวะโภชนาการสมรรถภาพทางกายและสุขภาพได้ด้วยตนเองตลอดจนนักเรียนกลุ่มเสี่ยงได้รับความช่วยเหลือ แก้ไขอย่างเหมาะสมตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
- โรงเรียนสามารถบริการสุขภาพนักเรียนและอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมและเพียงพอ
- ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการโดย ใช้สื่อ นวัตกรรม ชุดความรู้และการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นจากชุมชน มาสนับสนุนการจัดกิจกรรม ด้านเกษตร โภชนาการ และสุขภาพ
- โรงเรียนมีการบริหารจัดการ ขยายผลการดำเนินงานศูนย์การเรียนรู้โรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใสได้อย่างยั่งยืน
- นักเรียนมีทักษะชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการออกกำลังกาย การบริหารร่างกายนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการและการบริโภคอาหาร |
||
วันที่ 7 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
167 | 180 |
2. จัดอบรม ตัวแทนนักเรียนแกน อย.น้อย |
||
วันที่ 16 มิถุนายน 2559 เวลา 13.00 น. - 16.30 น. น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้น 1. นักเรียนแกนนำได้รับความรู้จากวิทยากรที่มีความชำนาญโดยตรง เกี่ยวกับหัวข้อดังต่อไปนี้ - การรับประทานอาหาร ครบ 5 หมู่ - ธงโภชนาการ - ทันตสุขภาพ - การตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร - การล้างมือ - การเลือกซื้ออาหารตามฉลากสินค้า - โรคเกี่ยวกับพยาธิใบไม้ในตับ - สารเสพติด 2. นักเรียนแกนนำอย.น้อยของโรงเรียนได้เป็นตัวแทนโรงเรียน นำความรู้ที่ได้ไปขยายผลต่อให้กับนักเรียนในห้องเรียน และโรงเรียน รวมถึงเป็นตัวแทนในสภานักเรียน เพื่อดำเนินกิจกรรมอย.น้อย ในโรงเรียนทั้งปีการศึกษา 2559
|
52 | 109 |
3. จัดอบรมกิจกรรมหนูน้อยฟันดี |
||
วันที่ 17 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ5.1เสนอโครงการเพื่ออนุมัติ 5.2ประชุมคณะครูและผู้รับผิดชอบโครงการ 5.3ประสานงาน วิทยากรผู้ฝึกสอน และผู้เข้าร่วมโครงการ 5.5ดำเนินโครงการกำหนด 5.5 สรุปผลการดำเนินงาน ปัญหาและอุปสรรคที่พบ 6.ระยะเวลาการดำเนินงาน -อบรมแปลงฟัน วันอังคาร ที่ 14 มิถุนายน 2559 - เดือน 16พฤษภาคม 2559 – 15 มีนาคม 2560หลังรับประทานอาหารตอนเที่ยงทุกวัน - สรุปและประเมินผล 18 – 20มีนาคม2560 ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
66 | 687 |
4. ประชุมสัมมนาครู ผู้ปกครอง และชุมชนเกี่ยวกับเมนู Thai school Lunch |
||
วันที่ 20 มิถุนายน 2559 เวลา 08.30 - 16.30 น. น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
187 | 150 |
5. กิจกรรมกีฬาและนันทนาการ |
||
วันที่ 9 กรกฎาคม 2559 เวลา 07:00-16.30 น. น.กิจกรรมที่ทำการจัดกิจกรรมกีฬาและนันทนาการ 1. วันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 จัดอบรมกิจกรรมแข่งขันกีฬานักเรียน กำหนดเวลา 1 วัน เวลา 08.00 - 09.00 น. ลงทะเบียนรายงานตัว เวลา 09.00 - 10.00 น. พิธีเปิดการอบรมจากผู้บริหารโรงเรียน เวลา 10.00 - 12.00 น. กิจกรรมโดยวิทยากร เวลา 12.00 - 13.00 น. พักกลางวัน เวลา 13.00 - 16.00 น. กิจกรรมโดยวิทยากร - ค่าตอบแทนวิทยากร 2 คน คนละ 400 รวม 1 วัน รวม 800 บาท - ค่าอาหารกลางวัน/อาหารว่าง 1 วัน ( เหมาจ่าย ) รวม 200 บาท 2. วันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 กิจกรรมเข้าค่ายฟุตบอลชาย (ไม่ค้างคืน ) เวลา 08.00 - 09.00 น. ลงทะเบียนรายงานตัว เวลา 09.00 - 09.30 น. พิธีเปิดการเข้าค่ายจากผู้บริหารโรงเรียน เวลา 09.30 - 10.45 น. กิจกรรมโดยวิทยากร เวลา 10.45 - 11.00 น. พักอาหารว่าง เวลา 11.00 - 12.00 น. กิจกรรมโดยวิทยากร เวลา 12.00 - 13.00 น. พักกลางวัน เวลา 13.00 - 16.00 น. กิจกรรมโดยวิทยากร 3. วันที่ 16,17,23,24 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 กิจกรรมเข้าค่ายฟุตบอลชาย (ไม่ค้างคืน ) เวลา 08.00 - 09.00 น. กิจกรรมโดยวิทยากร เวลา 09.30 - 10.45 น. กิจกรรมโดยวิทยากร เวลา 10.45 - 11.00 น. พักอาหารว่าง เวลา 11.00 - 12.00 น. กิจกรรมโดยวิทยากร เวลา 12.00 - 13.00 น. พักกลางวัน เวลา 13.00 - 16.00 น. กิจกรรมโดยวิทยากร เวลา 16.00 น. พิธีปิดการเข้าค่ายโดยผู้บริหาร - ค่าตอบแทนวิทยากร 2 คน คนละ 400 x 5 วัน รวม 4,000 บาท - ค่าอาหารกลางวัน 5 วัน ( เหมาจ่าย ) รวม 5,000 บาท -ค่าอาหารว่าง 5 วัน ( เหมาจ่าย ) รวม 2500 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกิจกรรมการอบรมกีฬาและนันทนาการภายในโรงเรียน - นักเรียนจำนวน 657 คน ได้ร่วมกิจกรรมกีฬาร้อยละ 100 (และขยายผลนักกีฬาที่เป้นตัวแทนนักเรียนจำนวน 40 คน เข้ารับการฝึกอบรมและเข้าค่ายเตรียมความพร้อมแข่งกีฬาศูนย์เครือข่ายสถานศึกษา ) - ผู้ปกครองและเเขกผู้มีเกียรติให้การสนับสนุนและร่วมงานตามเป้าหมาย - นักกีฬามีทักษะในการเล่นกีฬาเพิ่มขึ้น - นักเรียนได้เรียนรู้และปฏิบัติจริงเกี่ยวกับกระบวนการออกกำลังกาย,การใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์,การทำงานเป็นทีม,การมีความสามัคคี,การรู้จักแก้ปัญหา กิจกรรมคัดนักกีฬาฟุตบอลชายเตรียมความพร้อมแข่งขันกีฬาศูนย์เครือข่าย/กีฬาเขตพื้นที่การศึกษา - นักฟุตบอลชายร่วมฝึกซ้อมจำนวน 40 คน - นักกีฬามีทักษะทางด้านกีฬาฟุตบอลดีขึ้น - นักกีฬามีความสมบูรณืทางด้านร่างกายดีขึ้น - นักกีฬารู้จักกฎกติกามารยาทในการเล่นกีฬามากขึ้น - นักกีฬารู้จักระเบียบวินัยมากขึ้น - นักกีฬามีจิตสำนึกในการเล่นกีฬา รู้แพ้ รู้ชนะ รู้อภัย
|
930 | 475 |
6. ศึกษาแหล่งเรียนรู้การเลี้ยงไก่ดำ |
||
วันที่ 14 กรกฎาคม 2559 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
70 | 181 |
7. ศึกษาดูงานการเลี้ยงหมู |
||
วันที่ 6 สิงหาคม 2559 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำนำนักเรียนเข้าศึกษา ฟาร์มเลี้ยงหมู และ รับฟังบรรยายจากปศุสัตว์จังหวัด ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียน สามารถนำความรู้มาปรับใช้ในการเลี้ยงหมูในโรงเรียน
|
75 | 80 |
8. อบรมสัมมนาสหกรณ์ออมทรัพย์ผ่านระบบธนาคารโรงเรียน |
||
วันที่ 25 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดอบรมการดำเนินการสหกรณ์ออมทรัพย์ผ่านธนาคารโรงเรียน ตามขั้นตอนดังนี้ 1. คณะครูและนักเรียนลงทะเบียน 2. ผู้อำนวยการกล่าวให้โอวาท 3. วิทยากรให้ความรู้เกี่ยวกับโปรแกรมระบบธนาคาร - ลงโปรแกรมในคอมพิวเตอร์ - สาธิตและฝึกปฏิบัติ การจัดทำบัญชีข้อมูล รับฝากถอนเงิน การใช้งบประมาณ - ค่าวิทยากร 2 คน x 600 บาท เวลาการอบรม 3 วัน รวม 1,200 บาท - ค่าอาหารว่าง/เครื่องดื่ม สำหรับครู 30 คน x 15 บาท รวม 450 บาท - ค่าอาหารว่าง/เครื่องดื่ม สำหรับนักเรียน 115 คน ( เหมาจ่าย) รวม 788 บาท - ค่าอาหารกลางวันวิทยากร 2 คน รวม 200 บาท - ค่าเอกสาร รวม 362 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิตที่เกิดขึ้น 1. ธนาคารโรงเรียนมีโปรแกรมคอมพิวเตอร์เก็บข้อมูลเกี่ยวกับสมาชิกในโรงเรียน 2. เจ้าหน้าที่ธนาคารได้รับความรู้และสามารถใช้คอมพิวเตอร์ในระบบเก็บข้อมูลการฝากถอนเงินได้อย่างถูกต้อง ผลลัพธ์ ธนาคารโรงเรียนดำเนินงานได้ตามวัตถุประสงค์และมีความยั้งยืน
|
161 | 147 |
9. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการจัดทำธนาคารขยะ |
||
วันที่ 26 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ- จัดอบรมให้ความรู้นักเรียน เป้าหมาย 100 คน 2 วัน โครงการจัดทำธนาคารขยะรีไซเคิล ค่าอาหารว่าง เช้า-บ่าย 2วัน 4มื้อ (เหม่าจ่าย) 4750 บาท - จัดทำป้ายอบรม 450 บาท - ค่าวิทยากรอบรม 2 วัน งบประมาณ 800 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
116 | 79 |
10. จัดอบรมสัมมนา พัฒนาบุคลากร การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการด้านการเกษตร สหกรณ์ อาหารโภชนาการและสุขภาพ |
||
วันที่ 27 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต 1. ได้คู่มือการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ ด้านการเกษตร สหกรณ์ อาหารโภชนาการและสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม จำนวน 4 เล่ม 2. ครูและบุคลากรทางการศึกษา ร้อยละ 100 มีความรู้ความเข้าใจในการนำกิจกรรมไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ ผลลัพธ์ 1. นักเรียนได้รับการพัฒนาการเรียนรู้และทักษะด้านการเกษตร สหกรณ์ อาหารโภชนาการและสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. ครูและบุคลากรทางการศึกษา สามารถจัดกิจกรรมไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ด้านการเกษตร สหกรณ์ อาหารโภชนาการและสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
|
85 | 45 |
11. ศึกษาดูงานโรงเรียนต้นแบบสหกรณ์นักเรียน |
||
วันที่ 9 กันยายน 2559 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดกิจกรรมวันที่9ก.ย.2559( อบรมและศึกษาดูงานนักเรียน ป.5-6จำนวน87คนคณะครูและบุคลากรจำนวน8ท่าน ) กิจกรรม1.09.00 - 12.00 น.-อบรมนักเรียนจำนวน87คน โดยครูและนักเรียนแกนนำ 2.13.30- 16.00 น. -นำนักเรียนไปทัศนศึกษาณสหกรณ์การเกษตรก.ร.ป.กลางบ้านสามแยกขันอาสา ต.คูสะคาม อ.วานรนิวาสจ. สกลนคร ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
30 | 96 |
12. จัดทำคู่มือการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ |
||
วันที่ 10 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ 4 กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมเกษตรพอเพียง, กิจกรรมสหกรณ์นักเรียน, กิจกรรมอาหาร โภชนาการและสุขภาพ , กิจกรรมอนามัยสิ่งแวดล้อม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
10 | 708 |
13. นโยบายการดำเนินงานร่วมกันตามโครงการศูนย์การเรียนรู้เด็กไทยแก้มใส ประชุมคณะทำงานบุคลากรจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระดับท้องถิ่น ชุมชน เขต และจังหวัด |
||
วันที่ 20 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
714 | 692 |
14. การรณรงค์ป้องกันโรคติดต่อร้ายแรง และการดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่ได้รับบาดเจ็บ |
||
วันที่ 31 ตุลาคม 2559 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนได้รับความรู้จากการอ่านศึกษาป้ายรณรงค์โรคติดต่อร้ายแรง และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน เพื่อให้มีสุขภาขดีและแข็งแรงห่างไกลโรคร้าย
|
155 | 150 |
15. จัดกิจกรรมแอโรบิคตอนเช้าและกิจกรรมบาสโลปตอนบ่าย |
||
วันที่ 31 ตุลาคม 2559 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.) การจัดกิจกรรมแอโรบิค ได้ดำเนินการฝึกการออกกำลังกายของนักเรียนในท่า แอโรบิกมวยไทย มีท่าที่ใช้ในการออกกำลังกายดังต่อไปนี้
1.1 ท่าหมัดตรง 1.2 หมัดฮุบ 1.3 ท่าหมัดอัปคัด 1.4 ท่าศอกตัด 1.5 ท่า ศอกตี 1.6 ท่า ศอกงัด 1.7่ ท่าเข่าตรง 1.8 ท่าเขาตัด 1.9 ท่าทีบตรง 1.10 ท่าเตาะตัด รวมทั้งหมด 10 ท่า ฝึกท่าละ 16 ครั้ง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
330 | 320 |
16. ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดการบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมและเพียงพอ |
||
วันที่ 31 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
159 | 145 |
17. การทำน้ำหมักชีวภาพอเนกประสงค์ |
||
วันที่ 14 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดอบรมเชิงฏิบัติการ ที่ศูนย์เรียนรู้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ นักเรียนสามารถฏิบัติจริงได้
|
100 | 71 |
18. การตรวจสุขภาพนักเรียน |
||
วันที่ 15 พฤศจิกายน 2559 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนทุกคนได้รับการตรวจสุขภาพร่างกาย ทดสอบสายตาและการได้ยิน นักเรียนที่มีปัญหาด้านสายตาได้รับการช่วยเหลือแก้ไข
|
70 | 130 |
19. การต่อยอดจากการศึกษาดูงาน นำมาปฏิบัติจริงในโรงเรียน |
||
วันที่ 15 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำนำนักเรียน ปลูกผัก และเลี้ยงสัตว์ ภายในโรงเรียน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนสามารถปลูกผัก และเลี้ยงสัตว์โดยใช้อุปกรณ์จริง
|
0 | 260 |
20. อบรมให้ความรู้ สัมมนา ด้านการเกษตร |
||
วันที่ 5 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำอบรมให้ความรู้ สัมมนา วิธีการด้านการปลูกผักปลอดสารโดยการใช้น้ำหมักชีวภาพและปุ๋ยชีวภาพจากไส้เดือน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
80 | 65 |
21. โรงเรียนมีการจัดกิจกรรมตามกระบวนสหกรณ์และธนาคารโรงเรียนเต็มรูปแบบ |
||
วันที่ 22 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำอบรมชี้แจงการดำเนินงานของสหกรณ์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมีความเข้าใจพร้อมส่งสินค้าเข้าร่วมจำหน่าย
|
44 | 7 |
22. ประชุมเชิงปฏิบัติการการฝึกสุขนิสัยตามหลักสุขบัญญัติแห่งชาติ |
||
วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำขออนุมัติจัดประชุมการฝึกสุขบัญญัติแห่งชาติให้แก่นักเรียน โดยปฏิบัติตามปฏิทินการปฏิบัติงาน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
97 | 135 |
23. ศึกษาดูงานการเลี้ยงปลา อำเภอพังโคน |
||
วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำนำนักเรียนเข้าอบรม ศึกษาดูงาน ที่ ฟาร์มไม้เงินปลาทอง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนได้รับความรู้ในการเลี้ยงปลา สามารถนำมาใช้ในการดูแลปลาในโรงเรียนได้
|
70 | 34 |
24. จัดนิทรรศการแสดงผลงาน |
||
วันที่ 9 มีนาคม 2560 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดนิทรรศการแสดงผลงาน ขยายผลสู่ผู้ปกครอง ชุมชนและเครือข่าย 1. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมชมวีดีทัศน์ ณ ห้องปรพชุมโรงเรียนบ้านกุดเรือคำ 2. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมชมบูธนิทรรศการ 3. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเยี่ยมชมสถานที่จริงในการปฏิบัติงานตามโครงการ 4. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมร่วมกันสรุป แนะนำเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมตามโครงการเด็กไทยแก้มใส ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
275 | 200 |
25. คืนดอกเบี้ยปิดโครงการ |
||
วันที่ 20 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำคืนดอกเบี้ยปิดโครงการโดยถอนเป็นเงินสดให้ทาง สอส. ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นสอส.ได้รับดอกเบีย
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อสร้างความตระหนักและเสริมสร้างเครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส ชุมชนและหน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้องทั้งระบบ ตัวชี้วัด : 1. นักเรียน ครู บุคลากรที่เกี่ยวข้อง ผู้ปกครอง ชุมชนและภาคเครือข่ายเข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใส อย่างน้อยร้อยละ 80 2. ขยายเครือข่ายสู่โรงเรียนในศูนย์เครือข่ายสถานศึกษาและโรงเรียนอื่นๆในสพป.สกลนคร เขต 3 อย่างน้อย 5 โรงเรียน |
||||
2 | เพื่อส่งเสริมปัจจัยในการผลิตทางด้านการเกษตรปลอดสารทั้งในและนอกโรงเรียน ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนร้อยละ 80 มีคะแนนการทดสอบความรู้ด้านการเกษตรตั้งแต่ระดับดี–ดีมาก 2. นักเรียนและ บุคลากรเข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ 80 3. ภาคี/ เครือข่าย/ชุมชนและผู้ปกครองได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ |
||||
3 | เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้กิจกรรมสหกรณ์ในโรงเรียน ให้บรรลุเป้าหมายการจัดกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนร้อยละ80 มีคะแนนการทดสอบความรู้ด้านสหกรณ์ตั้งแต่ระดับดี –ดีมาก 2. นักเรียนและ บุคลากรเข้าร่วมกิจกรรมอย่างน้อยร้อยละ 80 3. ภาคี/ เครือข่าย/ชุมชนและผู้ปกครอง ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ |
||||
4 | เพื่อส่งเสริม ให้นักเรียน ครู ผู้ปกครองและชุมชน มีความรู้ด้านโภชนาการและสุขภาวะที่ดี ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนร้อยละ 80 มีคะแนนการทดสอบความรู้ด้านภาวะโภชนาการและสุขภาพ ตั้งแต่ระดับดี – ดีมาก 2.จัดรายการอาหารหมุนเวียน1 เดือน ตามมาตรฐานโภชนาการ(ใช้Thai SchoolLunch Progam) 3. ตัวแทนนักเรียน อย.น้อยตรวจคุณภาพอาหารอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง 4. นักเรียนร้อยละ 100 ได้รับการคัดกรอง และร่วมกิจกรรมส่งเสริมสมรรถภาพทางร่างกายและการแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการ 5. นักเรียนที่มีภาวะเริ่มอ้วน และอ้วน ลดลง อย่างน้อยร้อยละ 7 6. นักเรียนร้อยละ80 มีน้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐานมากกว่าหรือเท่ากับ+2 S.D.ขึ้นไป 7. นักเรียนแกนนำจัดกิจกรรมพัฒนาสุขนิสัยและส่งเสริมสุขภาพได้ครอบคลุมสุขนิสัยด้านต่าง ๆ ครบถ้วน |
||||
5 | เพื่อพัฒนาอนามัย สิ่งแวดล้อมทั้งในและนอกโรงเรียนให้ถูกสุขอนามัย ตัวชี้วัด : 1.โรงเรียนมีน้ำบริโภคผ่านเกณฑ์มาตรฐานและเพียงพอ 2. โรงเรียนจัดบริการสุขาภิบาลอนามัย สิ่งแวดล้อมโรงเรียน และมาตรฐานคุณภาพ |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
โรงเรียนบ้านกุดเรือคำ จังหวัด สกลนคร
รหัสโครงการ ศรร.1313-056
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายเกษม ทัศวงษา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......