แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

โรงเรียนบ้านไร่นาดี


“ โรงเรียนบ้านไร่นาดี ”

หมู่ 6 ตำบลแมดนาท่ม อำเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

หัวหน้าโครงการ
นายสุริยันต์ กวานสุพรรณ

ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านไร่นาดี

ที่อยู่ หมู่ 6 ตำบลแมดนาท่ม อำเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร จังหวัด สกลนคร

รหัสโครงการ ศรร.1312-057 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-อ.11

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2559 ถึง 30 เมษายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โรงเรียนบ้านไร่นาดี จังหวัดสกลนคร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ 6 ตำบลแมดนาท่ม อำเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนบ้านไร่นาดี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนบ้านไร่นาดี



บทคัดย่อ

โครงการ " โรงเรียนบ้านไร่นาดี " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ 6 ตำบลแมดนาท่ม อำเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร รหัสโครงการ ศรร.1312-057 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนบ้านไร่นาดี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 168 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยใน พระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณะสำคัญใน4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ จริยศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวัน สูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียนบ้านไร่นาดีได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ปีที่ 1 เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเจริญรอยตามพระยุคลบาทสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี โดยการน้อมนำรูปแบบที่ดี "ด้านการจัดการอาหารโภชนาการและสุภาพของนักเรียนอย่างครบวงจรในโครงการพระราชดำริฯ" มาปฏิบัติและพัฒนาสู่โรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใสให้เป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน ๓ หมู่บ้าน ภายในเดือน เมษายน 2560
  2. เพื่อให้นักเรียน มีภาวะโภชนาการตามวัย สมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์(ต่ำกว่าเกณฑ์ไม่เกินร้อยละ 7)
  3. เพื่อให้โรงเรียนมีผลผลิตด้านการเกษตรสนับสนุนโรงเรียนอาหารกลางวันไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 อย่างยั่งยืน
  4. เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้และมีสุขนิสัยที่ดีด้านสุขภาพอนามัย เกษตร และกิจกรรมสหกรณ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. เด็กนักเรียนมีสุขภาพดี เติบโตสมวัยมีอารมณ์สติปัญญาที่ดีขึ้น มีทักษะชีวิตสามารถนำไปใช้ได้จริง
    2. โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาทุพโภชนาการของนักเรียน
    3. พ่อแม่/ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการดูแลภาวะสุขภาพของนักเรียน จัดสิ่งแวดล้อมอาหาร
    4. เกิดกระแสตื่นตัวในชุมชน/สังคมให้ความสำคัญกับอาหาร โภชนาการ และสุขภาพของเด็กวัยเรียน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. การประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาและคณะทำงาน

    วันที่ 19 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ซื้ออาหารและอาหารว่างสำหรับผู้เข้าประชุม 20 คน ๆละ50 บาท เป็นเงิน1000 บาท

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.โรงเรียนมีอาหารว่างและอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้าประชุมครบทุกคน 2.ผู้เข้าประชุมได้รับประทานอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ

     

    215 35

    2. การประชุมเครือข่าย ศรร.ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านไร่นาดี จังหวัดสกลนคร

    วันที่ 26 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.จัดประชุมเครือข่าย ศรร.ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส (โรงเรียนบ้านไร่นาดีจังหวัดสกลนคร) 2.ฝึกปฏิบัติการหยอดวัคซีนไก่โดยปศุสัตว์จังหวัดสกลนครและปศุสัตว์อำเภอโคกศรีสุพรรณ 3.แจกพันธ์ุลูกอ๊อดกบแก่สมาชิกเครือข่าย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ศรร.ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านไร่นาดี จังหวัดสกลนคร ขยายผลการดำเนินกิจกรรมสู่ชุมชนและเครือข่าย โรงเรียนในศูนย์เครือข่ายทั้ง 8 โรงเรียน

     

    106 77

    3. การเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์

    วันที่ 16 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดซื้อพันธุ์ปลาดุก6000ตัวๆละ1บาท จัดซื้ออาหารปลาดุก จัดเวรรับผิดชอบเลี้ยงปลาดุก จัดกิจกรรมการเรียนรู้การเลี้ยงปลาดุกบูรณาการ 8 องค์ประกอบ นำปลาดุกไปขายให้โครงการอาหารกลางวันโรงเรียน โดยผ่านทางสหกรณ์และขายให้ ผู้ปกครอง ชุมชน จัดกิจกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับการทำปลาดุกแดดเดียว

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต โรงเรียนมีลูกปลาดุกจำนวน 6,000 ตัวมาเลี้ยงในบ่อซีเมนต์ปัจจุบันปลาดุกตัวโตเต็มที่พร้อมจำหน่ายให้โครงการอาหารกลางวัน แต่เนื่องจากใกล้จะปิดเทอมแล้วจึงนำผลผลิตส่วนหนึ่งมาทำปลาแดดเดียว เพราะถ้าไม่นำออกจำหน่ายก็จะมีค่าใช้จ่ายด้านอาหารปลามากขึ้น

     

    5 182

    4. การปลูกกระจี๊ยบ

    วันที่ 16 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ซื้อเมล็ดพันธุ์กระเจี๊ยบพันธุ์ซูดาน 5 กิโลกรัมๆละ 500 บาท ไถพรวนดินเตรียมหว่านเมล็ด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.โรงเรียนมี้เมล็ดพันธุ์กระเจี๊ยบ จำนวน 5 กิโลกรัม 2.โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้การปลูกกระเจี๊ยบ จำนวน 2 ไร่ 3.จัดกิจกรรมการเรียนรู้การประกอบอาหารจากกระเจี๊ยบ

     

    27 183

    5. การเลี้ยงกบในบ่อดิน

    วันที่ 16 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.เพาะพันธุ์ลูกออ๊ดจากแม่พันธ์ พ่อพันธ์ุของโครงการปีที่1
    2.จัดซื้อลูกอ๊อดเพิ่มเติมอีก4,000ตัว เพื่อจะได้พัฒนาพันธ์ุที่ดีขึ้น 3.นำลูกอ๊อดที่เพาะพันธ์ุได้แจะให้กับเครือข่ายไปเลี้ยงที่บ้านเพื่อเป็นแหล่งโปรตีนไว้รับประทานในครอบครัว

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.โรงเรียนมีลูกกบในกิจกรรมเลี้ยงกบในบ่อดินจำนวน 4,000 ตัว 2.โรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้ในการเลี้ยงกบในบ่อดิน

     

    57 184

    6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน

    วันที่ 22 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ซื้อแปรงขัดห้องน้ำด้ามยาว 6 อัน 2.ซื้อแปรงขัดห้องน้ำด้ามสั้น 4 อัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.มีอุปกรณ์ล้างห้องน้ำ้เพียงพอทุกห้อง 2. ห้องน้ำทุกห้องสะอาดถูกสุขลักษณะ น่าใช้ 3.มีการจัดการขยะโดยการแยกขยะแล้วนำขยะที่สามารถใช้ซ้ำได้อีกไปใช้ให้เกิดประโยชน์

     

    145 161

    7. การติดตามภาวะโภชนาการสมรรถภาพทางกายและสุขภาพนักเรียน

    วันที่ 22 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ซื้อแฟ้มใส่เอกสาร 12แฟ้ม สำหรับใส่เอกสารภาวะโภชนาการของเด็กทุกห้อง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.โรงเรียนมีแฟ้มใสเอกสารภาวะโภชนาการนักเรียนครบทุกห้อง 2. โรงเรียนมีแฟ้มจัดทำแผนการเรียนรู้บูรณาการกิจกรรมของศูนย์เรียนรู้กับทุกสาระการเรียนรู้และทุกชั้น

     

    147 178

    8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนการ และสุขภาพอนามัย

    วันที่ 22 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ซื้อกระดาษโปสเตอร์สองหน้า 40 แผ่น 2.ซื้อขาดกาวสองหน้า ขนาด 1 นิ้ว 5 ม้วน 3.ซื้อเทปโฟมกาวสองหน้า ขนาด5 มม. 2 ม้วน 4.ซื้อไส้แฟ้มขนาด A4 24 ห่อ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.โครงการมีวัสดุสำนักงานไว้ใช้ในการทำกิจกรรมศูนย์เรียนรู้

     

    145 176

    9. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

    วันที่ 28 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.จัดทำสมุดบันทึกการตรวจสุขภาพประจำชั้นเรียน11เล่ม 2.นักเรียนตรวจสุขภาพตนเองทุกวันก่อนเข้าเรียนโดยมีครูประจำชั้นให้คำปรึกษา 3.จัดซื้อยาสามัญประจำบ้านและอุปกรณ์ปฐมพยาบาลเบื้องต้นไว้ประจำห้องพยาบาล 4.จัดห้องพยาบาลไว้รองรับผู้เจ็บป่วยเล็กน้อย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.โรงเรียนมีสมุดบันทึกการตรวจสุภาพนักเรียนทุกห้อง 2.นักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพเบื้องต้นทุกวัน

     

    150 227

    10. การปลูกกล้วยน้ำว้า

    วันที่ 28 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.จัดซื้อปุุ๋ยคอก25กระสอบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.โรงเรียนมีปุ๋ยคอก 25 กระสอบๆ ละ 30 กิโลกรัม

     

    124 240

    11. การจัดบริการอาหารนักเรียน

    วันที่ 28 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ใช้โปรแกรมThai School Lunchในการจัดเมนูอาหารหมุนเวียนรายเดือน 2.จัดทำป้ายศูนย์เรียนรู้การจัดบริการอาหาร2 ป้ายเพื่อประชาสัมพันธ์ความรู้แก่นักเรียน คณะครู แม่ครัวและผู้สนใจ 3.นำผลผลิตทางการเกษตรของโรงเรียนและชุมชนซึ่งปลอดสารพิษมาประกอบอาหารให้นักเรียน 4.ใช้เกลือไอโอดีนและน้ำปลาผสมไอโอดีนในการประกอบอาหาร 5.งดการเติมน้ำตาล พริกน้ำปลาในกับข้าว

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต 1.โรงเรียนมีป้ายความรู้เกี่ยวกับการจัดบริการอาหารในโรงเรียน 1 ป้าย 2.โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้เรื่องการจัดบริการอาหารในโรงเรียน ผลลัพธ์ 1.นักเรียน ครู ชุมชนและผู้ที่สนใจมีความรู้ความเข้าใจในการจัดบริการอาหารให้ถูกหลักโภชนาการ 2.นักเรียน ครู ชุมชนและผู้ที่สนใจสามารถนำความรู้ไปจัดบริการอาหารให้ถูกหลักโภชนาการได้ 3.นักเรียน ครู ชุมชนและผู้ที่สนใจสามารถนำความรู้ไปขยายผลแก่ผู้อื่นได้

     

    149 165

    12. การเลี้ยงไก่พันธ์ุไข่

    วันที่ 30 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.จัดซื้อพันธุ๋ไก่ไข่ จำนวน  100 ตัว  ตัวละ 145 บาท
    2.จัดซื้ออาหารไก่ไข่  จำนวน 20 กระสอบ กระสอบละ 423 บาท 3.จัดทำป้ายไวนิลแหล่งเรียนรู้ไก่พันธ์ไข่ จำนวน 1 ป้าย ป้ายละ 600 บาท

    ขั้นตอนหลังจากจัดซื้อ มีดังนี้ 1. ครูเกษตรดำเนินการให้ความรู้กับนักเรียนที่รับผิดชอบศูนย์การเรียนรู้ไก่ไข่ (ชั้นป.5-6 จำนวน 5 คน)     - วิธีการเลี้ยงไก่     - การทำความสะอาดโรงเรือน     - การให้อาหารไก่     - การเก็บไข่ 2. ครูเกษตรให้นักเรียนลงมือปฏิบัติ โดยได้ผลผลิดเป็นไข่ไก่ จำนวน 35-40 ฟอง/วัน เป็นระยะเวลา 3 เดือน ได้ผลผลิตทั้งสิ้น 3,150 ฟอง 3. นักเรียนผู้รับผิดชอบนำไข่ไก่ไปจำหน่ายที่สหกรณ์โรงเรียน (แผงละ 81 บาท) แล้วผู้รับผิดชอบสหกรณ์โรงเรียนนำไปจำหน่ายให้กับโครงการอาหารกลางวัน (แผงละ90บาท)   โดยโรงเรียนกำหนดเมนูอาหารไข่สัปดาห์ละ 2 วัน


    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต 1.โรงเรียนมีป้ายศูนย์เรียนรู้การเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่จำนวน 1ป้าย ผลลัพธ์ 1.นักเรียนและผู้สนใจได้รับความรู้เกี่ยวกับ     - วิธีการเลี้ยงไก่     - การทำความสะอาดโรงเรือน     - การให้อาหารไก่     - การเก็บไข่

     

    25 182

    13. สหกรณ์นักเรียน

    วันที่ 30 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.การจัดทำสมุดบัญชีออมทรัพย์นักเรียน จำนวน 132 เล่ม ๆ ละ 20 บาท 2.การจัดทำบัญชีออมทรัพย์ครู จำนวน 17 เล่มๆละ 20 บาท 3.การอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับระบบสหกรณ์แก่คณะกรรมการสหกรณ์นักเรียน จำนวน 15 คน จำนวน 1,500 บาท 4,การจัดทำป้ายศูนย์การเรียนรู้สหกรณ์นักเรียน จำนวน 1 ป้าย ๆ ละ 600 บาท 5.การศึกษาดูงานโรงเรียนสหกรณ์ต้นแบบของคณะกรรมการสหกรณ์นักเรียน จำนวน 2,500 บาท

    ขั้นตอนการดำเนินงาน 1.จัดพิมพ์สมุดบัญชีออมทรัพย์นักเรียนและครู จำนวน 149 เล่ม 2.การอบรมให้ความรู้กับคณะกรรมการสหกรณ์นักเรียนเกี่ยวกับระบบสหกรณ์ 3.การประชาสัมพันธ์หน้าเสาธง เชิญชวนนักเรียนและคณะครูเข้าร่วมกิจกรรม 4.คณะกรรมการสหกรณ์นักเรียนประชุมมอบหมายงาน และดำเนินการ 5.ครูผู้รับผิดชอบกิจกรรมจัดทำบัญชี/นำเงินออมฝากกับธนาคาร ุ6.ศึกษาดูงานโรงเรียนสหกรณ์ต้นแบบ 7.จัดทำป้ายศูนย์การเรียนรู้สหกรณ์นักเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.โรงเรียนมีป้ายศูนย์เรียนรู้สหกรณ์นักเรียน 1 ป้าย 2.สหกรณ์นักเรียนมีสมุดออมทรัพย์ครู สมุดออมทรัพย์นักเรียนครบทุกคนไว้ใช้ในการออมทรัพย์ 3.สหกรณ์ร้านค้าจำหน่ายผลผลิตทางการเกษตรให้โครงการอาหารกลางวันโดยคิดกำไรร้อยละ 10เพื่อนำเข้าระบบสหกรณ์เป็นเงินปันผลให้กับนักเรียน 4.ขนมและน้ำสมุนไพรที่จำหน่ายในสหกรณ์ร้านค้ามีคุณภาพปลอดภัย

     

    134 217

    14. การประชุมเชิงปฏิบัติการการทำรายงานศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใสงวดที่1และขอเบิกเงินงวดที่2

    วันที่ 20 ตุลาคม 2559 เวลา 07:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เดินทางไปประชุมที่ โรงแรมเจริญธานีขอนแก่น กิจกรรมหลักคือการรายงานข้อมูลทางระบบติดตามออนไลน์และการจัดทำเอกสารทางการเงินให้ถูกต้องเพื่อรายงานการเงินงวดที่ 1

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะครูที่เข้าประชุมสามารถจัดทำรายงานการเงินงวดที่ 1และขอเบิกงวดที่2ได้ถูกต้องสมบูรณ์

     

    5 5

    15. การปลูกผักสวนครัว

    วันที่ 14 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ไถพรวนดินเพื่อเตรียมทำแปลงผัก 2.ครูเกษตรพานักเรียนเตรียมแปลง 3.จัดซื้อปุ๋ยคอก100 กระสอบๆละ50 บาท 3.ซื้อเมล็ดผักและต้นกล้าผักที่นักเรียนชอบและต้องการรับประทาน 4.ครูเกษตรให้คำแนะนำในการปลูกและดูแลผักชนิดต่างๆ 5.เมื่อได้ผลผลิตก็นำไปขายให้อาหารกลางวันโดยผ่านทางสหกรณ์ ที่เหลือนำไปขายในหมู่บ้าน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.โรงเรียนมีศูนย์เรียนรู้กิจกรรมปลูกผักสวนครัวให้นักเรียนได้ฝึกทักษะอาชีพ 2.นักเรียน ครู และชุมชนได้รับประทานผักสด สะอาด ปลอดสารพิษ

     

    124 183

    16. การเพาะเห็ดนางฟ้า

    วันที่ 8 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.จัดตั้งคณะกรรมการรับผิดชอบกิจกรรม

    2.ประชุมวางแผนการดำเนินกิจกกรรม

    3.ปรับปรุง ซ่อมแซมโรงเพาะเห็ด

    4.จัดซื้อก้อนเชื้อเห็ด1000 ก้อน

    5.ครู นักเรียนที่รับผิดชอบกิจกรรมดูแล รดน้ำก้อนเชื้อเห็ด เมื่อเห็ดออกดอดเก็บเห็ดไปขายให้โครงการอาหารกลางวันโดยผ่านทางสหกรณ์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.โรงเรียนมีก้อนเชื้อเห็ด1000 ก้อน

    2.นักเรียนมีแหล่งเรียนรู้การเพาะเห็ดนางฟ้าเพื่อฝึกทักษะในการสร้างอาชีพ

    3.นักเรียนได้รับประทานเห็ดนางฟ้าทที่สด สะอาด ปลอดภัยไร้สารพิษ

    4.โรงเรียนมีป้ายศูนย์เรียนรู้กิจกรรมเพาะเห็ดนางฟ้า1 ป้าย

     

    7 177

    17. การเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่(2)

    วันที่ 18 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.จัดซื้อพันธ์ุไก่100 ตัว 2.จัดซื้ออาหารไก่ไข่ 20 กระสอบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.โรงเรียนมีไก่พันธุ์ไข่เพิ่มอีก100ตัว 2.โรงเรียนมีอาหารสำหรับไก่ไข่อย่างเพียงพอ 3.นักเรียนและผู้สนใจได้เรียนรู้การเลี้ยงไก้พันธุ์ไข่และสามารถอธิบายวิธีการจัดการฟาร์มไก่ได้

     

    192 196

    18. สหกรณ์นักเรียน (2)

    วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.จัดอบรมความรู้เรื่องสหกรณ์ให้กับคณะกรรมการสหกรณ์นักเรียน 15 คนโดยเชิญวิทยากรจาก ร.ร.ตำรวจตระเวนชายแดนคอกนิสไทย จัดในวันที่8 กุมภาพันธ์2560ณ หอประชุมโรงเรียนบ้านไร่นาดี 2.นำคณะกรรมการสหกรณ์นักเรียนและคณะครูจำนวน 20 คนศึกษาดูงานการดำเนินงานสหกรณ์นักเรียนที่โรงเรียน ตำรวจตระเวนชายแดนคอกนิสไทยในวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2560

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.โรงเรียนมีการดำเนินกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนได้อย่างเป็นระบบมากขึ้น 2.คณะกรรมการสหกรณ์นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจสามารถถ่ายทอดความรู้แก่รุ่นน้องและเพื่อนๆต่อได้

     

    66 42

    19. การพัฒนานิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยของนักเรียน

    วันที่ 14 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ครูประจำชั้นให้ความรู้เกี่ยวกับการรักษาสุขภาพอนามัยของนักเรียน 2.บุคลากรทางสาธารณสุขให้ความรู้เกี่ยวกับการรักษาสุขภาพอนามัยของนักเรียน - ฟัน - ตา - หู - ร่างกายทุกส่วน 2. จัดซื้อแปรงสีฟัน จำนวน 150 อัน 3. จัดซื้อผ้าขนหนู จำนวน 150 ผืน 4. แก้วน้ำแสตนเลส จำนวน 150 ใบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต 1.โรงเรียนมีแปรงสีฟันขนาดมาตรฐานให้นักเรียนทุกคน 2.โรงเรียนมีแก้วน้ำแสตนเลสให้นักเรียนทุกคน 3.โรงเรียนมีผ้าขนหนูไว้สำหรับเช็ดมือเช็ดหน้าให้นักเรียนทุกคน ผลลัพธ์ 1.นักเรียนทุคนแปรงฟันหลังรับประทานอาหารกลางวันทำให้เหงือกและฟันมีสุขภาพดี 2.นักเรียนมีสุขนิสัยที่ดีในการล้างมือก่อนและหลังรับประทานอาหาร 3.นักเรียนดื่มน้ำสะอาดไม่ใช้แก้วน้ำร่วมกับคนอื่น

     

    150 151

    20. จัดบริการสุขภาพนักเรียน(2)

    วันที่ 14 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.จัดซื้อยาสามัญประจำบ้านและอุปกรณ์ทำแผลเบื้องต้น 2.จัดซื้อเครื่องชั่งน้ำหนักแบบดิจิตอล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.โรงเรียนมียาสามัญประจำบ้านและอุปกรณ์ทำแผลเบื้องต้นไว้บริการสุขภาพนักเรียนเบื้องต้นยามเจ็บป่วยก่อนส่งต่อสถานพยาบาลได้ทันท่วงที 2.โรงเรียนมีห้องพยาบาลไว้รองรับนักเรียนที่เจ็บป่วยเล็กน้อยและทำการปฐมพยาบาลเบื้องต้น 3.โรงเรียนมีเครื่องชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูงที่เที่ยงตรงสามารถนำข้อมูลไปแปลผลภาวะโภชนาการได้อย่างถูกต้อง

     

    251 235

    21. คืนดอกเบี้ยธนาคาร

    วันที่ 20 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คืนดอกเบี้ยธนาคาร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คืนดอกเบี้ยธนาคาร 45.04 บาท

     

    4 4

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อเจริญรอยตามพระยุคลบาทสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี โดยการน้อมนำรูปแบบที่ดี "ด้านการจัดการอาหารโภชนาการและสุภาพของนักเรียนอย่างครบวงจรในโครงการพระราชดำริฯ" มาปฏิบัติและพัฒนาสู่โรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใสให้เป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน ๓ หมู่บ้าน ภายในเดือน เมษายน 2560
    ตัวชี้วัด : ความสามารถในการพัฒนาและบริการโรงเรียนให้เป็นศูนย์การเรียนรู้และการศึกษาดูงาน

    1.โรงเรียนมีเครือข่ายของโรงเรียนในศูนย์เครือข่าย ผู้ปกครอง ชุมชนนำไปขยายผลสู่ครอบครัวผลิตอาหารปลอดภัยและได้มาตรฐาน

    2.ด้านเกษตร ที่โดดเด่นโดยเฉพาะเรื่องการเลี้ยงกบที่ถือเป็นความสำเร็จระดับหนึ่ง คือ โรงเรียนสามารถผลิตลูกพันธุ์กบเองได้โดยไม่ต้องซื้อ และสามารถมอบลูกพันธ์ุกบให้กับชุมชนนำไปเลี้ยงเองเพื่อเป็นอาชีพเสริมและผลิตเป็นอาหารในครัวเรือนเกิดวิทยากรชุมชนทั้งครูและนักเรียนในการถ่ายทอดความรู้ให้กับบุตตลที่สนใจเข้ามาเรียนรู้

    2 เพื่อให้นักเรียน มีภาวะโภชนาการตามวัย สมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์(ต่ำกว่าเกณฑ์ไม่เกินร้อยละ 7)
    ตัวชี้วัด : นักเรียนมีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนไม่เกินร้อยละ 7 นักเรียนมีภาวะค่อนข้างผอมและผอมไม่เกินร้อยละ 7 นักเรียนมีภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยไม่เกินร้อยละ 7 นักเรียนมีมีสรรถภาพทางกายต่ำกว่าระดับดี ไม่เกินร้อยละ 7

    การติดตามภาวะโภชนาการ สมรรถภาพทางกายและสุขภาพนักเรียน มีการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ภาคเรียนละ 2 ครั้ง จำนวนนักเรียนทั้งหมด 131 คน เปรียบเทียบผลภาวะโภชนาการในครั้งที่1กับครั้งที่ 4ผอมร้อยละ3.08 (ลดลง ร้อยละ 11.42) ค่อนข้างผอม ร้อยละ8.46 (ลดลงร้อยละ 1.46)สมส่วนร้อยละ 78.46(เพิ่มขึ้นร้อยละ15.10) ท้วม ร้อยละ2.31(ลดลงร้อยละ 3.03) เริ่มอ้วน ร้อยละ3.85 (เพิ่มขึ้น 0.80) อ้วน ร้อยละ 3.85 (เพิ่มขึ้น 0.03)

    3 เพื่อให้โรงเรียนมีผลผลิตด้านการเกษตรสนับสนุนโรงเรียนอาหารกลางวันไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 อย่างยั่งยืน
    ตัวชี้วัด : มีผลผลิตด้านการเกษตร ด้านผักปลอดสารพิษการเลี้ยงสัตว์ การประมง สนับสนุนอาหารกลางวันได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ70

    ผลผลิตทางการเกษตรในโรงเรียนประมาณ ร้อยละ 70 และซื้อจากแหล่งผลิตปลอดสารพิษในชุมชนประมาณ ร้อยละ 30

    4 เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้และมีสุขนิสัยที่ดีด้านสุขภาพอนามัย เกษตร และกิจกรรมสหกรณ์
    ตัวชี้วัด : นักเรียนทุกระดับชั้นได้เรียนรู้เรื่องการเกษตร สุขภาพอนามัยสหกรณ์ และมีสุขนิสัยที่ดีในด้านสุขภาพ

    การจัดการเรียนรู้เกษตรสหกรณ์อาหารโภชนาการและสุขภาพอนามัย ครูมีแผนการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับองค์ประกอบทั้ง 8 องค์ประกอบ นักเรียนได้ศึกษาจากแหล่งเรียนรู้และฝึกประสบการณ์จริง มีการถอดบทเรียน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการถอดบทเรียนโดยใช้แอนิเมชั่นในวิชาคอมพิวเตอร์

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเจริญรอยตามพระยุคลบาทสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี โดยการน้อมนำรูปแบบที่ดี "ด้านการจัดการอาหารโภชนาการและสุภาพของนักเรียนอย่างครบวงจรในโครงการพระราชดำริฯ" มาปฏิบัติและพัฒนาสู่โรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใสให้เป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน ๓ หมู่บ้าน ภายในเดือน เมษายน 2560 (2) เพื่อให้นักเรียน มีภาวะโภชนาการตามวัย สมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์(ต่ำกว่าเกณฑ์ไม่เกินร้อยละ 7) (3) เพื่อให้โรงเรียนมีผลผลิตด้านการเกษตรสนับสนุนโรงเรียนอาหารกลางวันไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 อย่างยั่งยืน (4) เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้และมีสุขนิสัยที่ดีด้านสุขภาพอนามัย เกษตร และกิจกรรมสหกรณ์

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ โรงเรียนบ้านไร่นาดี

    รหัสโครงการ ศรร.1312-057 รหัสสัญญา 58-00-2265-อ.11 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2559 - 30 เมษายน 2560

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

    ระบบน้ำหมุนเวียนจากบ่อเลี้ยงกบและเลี้ยงปลาดุก ช่วยในการประหยัดน้ำได้ถึงร้อยละ 50 อีกทั้งน้ำที่ถูกปล่อยจากบ่อเลี้ยงสัตว์ ยังมีคุณสมบัติของปุ๋ยที่เกิดจากมูลกบ มูลปลา ทำให้ผักสวนครัวมีการเจริญเติบโต สมบูรณ์แข็งแรง นักเรียนได้บริโภคผักที่ปลอดภัย

    ลักษณะของบ่อเลี้ยงกบซึ่งเป็นบ่อดินจำนวน 3 บ่อ และบ่อซีเมนต์ จำนวน 1 บ่อ และบ่อเลี้ยงปลาดุกแบบบ่อซีเมนต์ 1 บ่อ และโอ่งแดง 4 โอ่ง โดยบ่อเลี้ยงสัตว์ตั้งอยู่ในพื้นที่สูงกว่า โดยจัดระบบท่อน้ำลงสู่แปลงผักของโรงเรียนบ้านนาดี จำนวน 100 แปลง ระบบหมุนเวียนการเปลี่ยนถ่ายน้ำสัปดาห์ละ 3 ครั้ง ทำให้ลดการใช้น้ำดิบในโรงเรียน น้ำที่ปล่อยออกจากบ่อเลี้ยงปลา และกบ ถูกปล่อยลงมาตามท่อ pvc ลงสู่แปลงผักสวนครัวของโรงเรียน จำนวน 100 แปลง ช่วยในการประหยัดน้ำได้ถึงร้อยละ 50 อีกทั้งน้ำที่ถูกปล่อยจากบ่อเลี้ยงสัตว์ ยังมีคุณสมบัติของปุ๋ยจากมูลกบ มูลปลา ทำให้ผักสวนครัวมีการเจริญเติบโต สมบูรณ์แข็งแรง นักเรียนได้บริโภคผักที่ปลอดภัย

    มีการวางระบบท่อส่งน้ำให้ครอบคลุมไปยังแปลงเกษตรชนิดอื่นที่อยู่ใกล้เคียง เช่น มะนาว และสวนกล้วย

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

    1.สหกรณ์อ่อนหวาน หรือลดหวานควบคุมปริมาณน้ำตาลตามเกณฑ์มาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข (5%) มีการจัดรูปแบบบริการของสหกรณ์ ดังนี้ ไม่ขายน้ำอัดลม ไอศกรีม ขนมกรุบกรอบสหกรณ์มีการจำหน่ายน้ำผลไม้และขนม จากผลผลิตการเกษตรของโรงเรียน เช่น น้ำกระเจี๊ยบ น้ำเสาวรส และขนม เช่น แซนวิช ขนมปังไส้กรอก กะหรีปั๊บ กล้วยฉาบฯลฯ วันต่อวัน สด ใหม่

    โรงเรียนมีการส่งเสริมให้มีการการปลูกกระเจี๊ยบและเสาวรสในแปลงเกษตรของโรงเรียน อีกทั้งในชั่วโมงลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ครูและนักเรียนมีการฝึกทำน้ำผลไม้และขนม และส่งเข้าขายในร้านค้าสหกรณ์โรงเรียนบ้านนาดี เพื่อไม่ให้นักเรียนดื่มน้ำอัดลมและ สามารถเรียนรู้การบริหารจัดการผลผลิตทางการเกษตร ในลักษณะการแปรรูป และการคิดต้นทุนกำไร จากการจำหน่ายผลผลิต

    1. เพิ่มปริมาณการผลิตและพัฒนาการบรรจุขวด
    2. ค้นคว้าสูตรการทำน้ำสมุนไพรที่มีในท้องถิ่นให้หลากหลายมากขึ้น
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

    1.นักโภชนาการน้อย โดยให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดทำอาหารร่วมกับแม่ครัวและการบริการอาหาร (เสริ์ฟ) อาหารให้กับนักเรียนแต่ละชั้น ซึ่งปริมาณอาหารที่จะได้รับใช้เกณฑ์มาตรฐานอาหารกลางวัน

    1.จัดเวรประจำวันผู้รับผิดชอบทำอาหารช่วยแม่ครัวในแต่ละวัน วันละ 2 คน และให้นักเรียนช่วยตักอาหารบริการเพื่อนๆโดยได้เรียนรู้การตักอาหารที่เหมาะสมถูกต้องของแต่ละช่วงวัย

    1.ใช้โปรแกรม Thai school lunch ในการจัดอาหารให้สมบูรณ์ร้อยเปอร์เซนต์และให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการเลือกเมนูอาหาร

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

    1.กิจกรรมเชิงปฏิบัติการและดูแลนักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการ โดยการอบรมให้ความรู้ การออกกำลังกาย เช่น เต้นแอโรบิค และมีการลงพื้นที่เยี่ยมบ้านโดยครูประจำชั้นเป็นรายบุคคล มีการนำผลข้อมูลที่ได้มาประชุมครู ผู้ปกครอง ให้รับรู้เพื่อนำไปสู่การแก้ไขปัญหาร่ามกัน

    1.ให้ความรู้และแนะนำการดูแลสุขภาพของตนเองให้เติบโตสมวัย ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงอย่างสม่ำเสมอภาคเรียนละ 2 ครั้ง เพื่อให้ทราบข้อมูลและดูแลนักเรียนที่มีปัญหาน้ำหนัก/ส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์ โดยการเสริมอาหารสำหรับนักเรียนค่อนข้างผอมและผอม เพิ่มนมสำหรับนักเรียนค่อนข้างเตี้ยและเตี้ย เน้นอาหารประเภทผักสำหรับนักเรียนที่อ้วน

    1.จัดอาหารให้เหมาะสมกับนักเรียนรายบุคคล/รายกลุ่ม

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

    1.หนูน้อยฟันสวย มีการใช้บทเพลงประกอบในการแปรงฟันของนักเรียน

    1.เชิญเจ้าหน้าที่สาธารณสุขมาให้ความรู้เรื่องการล้างมือและวิธีแปรงฟันที่ถูกต้อง

    2.นักเรียนฝึกแปรงฟันและล้างมือตามขั้นตอน

    3.เปิดเพลงแปรงฟันในเวลา 12.20 น.ทุกวันเพื่อให้นักเรียนแปรงฟันหลังรับประทานอาหารกลางวันเพื่อฝึกให้นักเรียนได้ปฏิบัติกิจกรรมแปรงฟันอย่างสมำ่เสมอ

    1.ให้นักเรียนปฏิบัติทุกวันและพัฒนาจนเป็นนิสัย

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

    1.ใช้เพลงประกอบการทำกิจกรรมทำความสะอาดบริเวณโรงเรียนในตอนเช้า เพื่อกระตุ้นให้เด็กนักเรียนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนา และทำความสะอาดบริเวณโรงเรียน

    2.การคัดแยกขยะ แล้วนำกลับมาใช้ใหม่ได้อย่างเหมาะสม เช่น ถุงนม นำมาทำผ้ากันเปื้อน ขยะแฟนตาซีเพื่อนำมาเป็นชิ้นงานของนักเรียน และมีการจัดประกวดในกิจกรรมของโรงเรียน เช่น งานวันเด็ก ฯ

    1.ในตอนเช้าก่อนเข้าแถวเคารพธงชาตินักเรียนจะปฏิบัติกิจกรรมทำความสะอาดบริเวณโรงเรียน ห้องน้ำห้องส้วม ห้องเรียนตามเขตรับผิดชอบ

    2.นักเรียนแยกขยะตามถังแยก เมื่อนำขยะมาคัดแยกอีกครั้งส่นที่ขายได้ก็จะประสานอบต.แมดนาท่มมารับซื้อ

    1.ประสานความร่วมมือกับทางหมู่บ้าน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลขับเคลื่อนร่วมกัน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    โรงเรียนบ้านไร่นาดี จังหวัด สกลนคร

    รหัสโครงการ ศรร.1312-057

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายสุริยันต์ กวานสุพรรณ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด