ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านโนนแฝก

รหัสโครงการ ศรร.1312-081 รหัสสัญญา 58-00-2265-อ.35 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน

มีแหล่งผลิตเกษตรปลอดสารพิษในโรงเรียน 7 ฐานการเรียนรู้ ฐานการเรียนรู้ ที่ 1 สวนครัวพอเพียง ฐานการเรียนรู้ ที่ 2 แปลงผักรักเด็ก ฐานการเรียนรู้ ที่ 3 นางสาวพันธุ์ไข่ ฐานการเรียนรู้ ที่ 4 เห็ดนางฟ้า ฐานการเรียนรู้ ที่ 5 หมูพอเพียง ฐานการเรียนรู้ ที่ 6 การเลี้ยงปลาดุก ฐานการเรียนรู้ ที่ 7 สวนผักเปรี้ยวหวาน

มีการเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์เลี้ยงหมูเพาะเห็ดนางฟ้าปลูกผักเลี้ยงไก่พันธุ์ไข่ ทำปุ๋ยหมัก โดยรับผิดชอบเป็นระดับชั้น ตั้งแต่เริ่มต้น การดูแล การเก็บผลผลิตและจำหน่ายผลผลิต จำหน่ายผ่านระบบสหกรณ์นักเรียน ส่งต่อไปยังอาหารกลางวันนักเรียน

จะทำเป็นโครงการต่อเนื่องในปีต่อๆไป

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

สหกรณ์นักเรียนมี 3 รูปแบบ สหกรณ์การผลิต ,สหกรณ์การค้า, และโรงเรียนธนาคารโดยมีนักเรียนดำเนินกิจกรรมเป็นคณะกรรมการในการทำงานอย่างเป็นระบบโดยมีครูคอยกำกับให้คำแนะนำปรึกษา

ระดมทุน สมัครสมาชิกสหกรณ์ แต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับผิดชอบ จัดกิจกรรมการเรียนรู้สหกรณ์ จัดกิจกรรมสหกรณ์ในรูปแบบร้านค้าเพื่อส่งเสริมการขายผลผลิตทางการเกษตรและจำหน่ายสินค้าคุณภาพและสินค้าที่เอื้อต่อโครงการอาหารกลางวัน

ขยายเนื้อที่ร้านค้าสหกรณ์นักเรียน ระดมทุนให้เพิ่มขึ้น เพิ่มสินค้าในร้านสหกรณ์

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

ครูรับผิดชอบอาหารกลางวันร่วมกับเด็กนักเรียนในการกำหนดเมนูอาหารกลางวันร่วมกันวางแผนจัดเมนูอาหารกลางวัน ตามมาตรฐานโภชนาการอาหารหมุนเวียนจากผลผลิตที่ได้จากการเกษตรในโรงเรียน

อบรมนักเรียนผู้รับผิดชอบในการลงข้อมูล รายการอาหารหมุนเวียนอย่างน้อย 1 เดือนตามมาตรฐานโภชนาการ (โดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch ผู้รับผิดชอบจัดทำรายการอาหารกลางวัน เสนอรายการอาหารกลางวันต่อครูผู้รับผิดชอบเพื่อครวจสอย ลงรายการอาหารหมุนเวียนอย่างน้อย 1 เดือนตามมาตรฐานโภชนาการ (โดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch)ที่สอดคล้องกับผลผลิตทางการเกษตรของโรงเรียน นำรายการวัตถุดิบที่ต้องซื้อไปให้แม่ครัว ตักอาหารตามปริมาณและสัดส่วนของโภชนาการที่เหมาะสมกับวัยโดยให้นักเรียนแต่ละชั้นรับผิดชอบในการตักอาหารเอง สำรวจความพึงพอใจ

ขยายผลการโปรแกรม Thai School Lunch ไปยังครูอื่นๆ

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

ครูและผู้นำนักเรียนแต่ละระดับชั้น ชั่งน้ำหนัก- วัดส่วนสูง ทุกๆเดือน เพื่อทราบข้อมูลนำไปเฝ้าระวังและติดตามสิ้นปีการศึกษาเด็กได้ทดสอบ สมรรถภาพทางกายโดยครูพลศึกษา

จัดทำฐานข้อมูลน้ำหนักส่วนสูงสมรรถภาพทางกาย และภาวะดูแลสุขภาพของนักเรียนทุกคนและการแปรผลภาวะโภชนาการ สมรรถภาพทางกาย และนำข้อมูลไปใช้ในการแก้ไขปัญหาโดยครอบครัวมีส่วนร่วม แก้ปัญหาเด็กอ้วนโดยกิจกรรมแรลลี่ลดพุง โดยนักเรียนกลุ่มเสี่ยงออกกำลังกาย (ตะลุย 9 ด่าน พิชิตโรค) / ควบคุมการรับประทานอาหาร โดยให้นักเรียนบันทึกรายการอาหารและขนมที่รับประทานในแต่ละวัน ส่งให้เจ้าหน้าที่และครูตรวจสอบว่าควรรับประทานหรือไม่ เพราะเหตุใด ออกเยี่ยมบ้านนักเรียนกลุ่มเสื่ยง เพื่อรู้ปัญหาพฤติกรรมของนักเรียน ขณะที่อยู่ที่บ้าน พร้อมทั้งให้ความรู้และขอความร่วมมือจากผู้ปกครองนักเรียนในการแก้ไขปัญหาสุขภาพที่เกิดขึ้นกับเด็กนักเรียนแค่ละคน ติดตามเด็กกลุ่มเสี่ยงอย่างต่อเนื่อง

ลดจำนวนนักเรียนกลุ่มเสี่ยงให้เหลือน้อยที่สุด

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

นักเรียนได้แปรงฟันวันละ 2 ครั้ง, ล้างมือ 7 ขั้นตอน, วิ่งวันละ 2 รอบสนาม, เดินวันละ 2,000 ก้าว/วัน เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพที่ดี ที่แข็งแรง

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

เด็กและครูร่วมกันลงมือปฎิบัติกิจกรรมส้วมสุขสันต์, อย.น้อย ทำให้สิ่งแวดล้อมน่าดู น่าอยู่ น่าเรียน

จัดป้ายนิเทศให้ความรู้ด้านสุขภาพกับนักเรียน พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนให้สะอาดปลอดภัย เช่น น้ำดื่มที่สะอาด / ที่ล้างมือ / ห้องส้วม / การจัดการขยะ

ดำเนินงานพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

ผู้นำนักเรียนและครู ตรวจความสะอาดของนักเรียน สัปดาห์ละ 1 ครั้ง, ตรวจเหา 1 ครั้ง/เดือน , ชั่งน้ำหนัก 1 ครั้ง/เดือน ตลอดจนจัดหาจัดทำสื่อวัสดุอุปกรณ์มาใช้ในการจัดกิจกรรม

ตรวจสุขภาพนักเรียนโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและผู้นำนักเรียน เยี่ยมบ้านนักเรียน กลุ่มเสี่ยงในชุมชน เพื่อศึกษาการบริโภค ครัวเรือนพร้อมทั้งให้ความรู้เกี่ยวกับการบริโภคแก่ผู้ปกครอง นักเรียนกลุ่มเสี่ยง จัดประชุม / อบรมให้ความรู้กับผู้ปกครองเรื่องสุขภาพดีไม่มีขายและการบริโภคผักปลอดสารพิษ ติดตามนักเรียนกลุ่มเสี่ยงเพื่อดูพัฒนาการ

นำส่งนักเรียนที่มีปัญหาด้านสุขภาพและภาวะเสี่ยงส่งต่อไปยังหน่วยงานภายนอก

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

ครูจัดประสบการณ์ให้กับนักเรียนในห้องเรียนทุกระดับชั้น เรื่องเกษตรปลอดสารพิษ , สหกรณ์ ,สุขาภิบาลอาหาร, สุขบัญญัติ, การออกกำลังกาย

จัดทำเอกสารเกี่ยวกับกิจกรรมการเรียนรู้ เช่น แผนการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับฐานการเรียนรู้แต่ละฐานการเรียนรู้และได้จัดทำแผ่นพับเรื่องเกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

ประชาสัมพันธ์เผยแพร่เอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้เรื่องฐานการเรียนรู้ และสหกรณ์นักเรียนแก่ผู้สนใจทั่วไป

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ

 

 

 

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

1.การเกษตรในโรงเรียน ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานภาคีเครือข่าย ดังนี้ - หน่วยงานต้นสังกัด ให้งบประมาณในการจัดโครงการเรียนรู้นอกห้องเรียน 2. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัยได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานภาคีเครือข่าย 5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อมีพื้นที่ และแหล่งน้ำในการทำการเกษตรที่เพียงพอความเข้มแข็งของผู้บริหาร ครู บุคลากร และชุมชนมีภาคีเครือข่ายหลายหน่วยงานที่ให้การสนับสนุนในการขับเคลื่อนโครงการ

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

มีกระบวนการสร้างวิถีชุมชนแห่งการเรียนรู้ (PLC)การบริหารจัดการโดยให้ทุกคนมีส่วนร่วมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับภาคีเครื่องข่าย และชุมชน

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

มีการประชุมครู นักเรียนและแม่ครัวทุกวันศุกร์และร่วมกันจัดกระบวนการเรียนรู้ถอดประสบการการเรียนรู้ร่วมกัน(AAR) และขยายแนวทางการดำเนินงานโครงการ โดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

มีการประชุมผู้ปกครองอย่างน้อยภาคเรียนละ 1 ครั้งจัดกระบวนการเรียนรู้ถอดประสบการการเรียนรู้ร่วมกันปีละ 1 ครั้งขยายแนวทางการดำเนินงานโครงการสู่ชุมชน โดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

 

 

 

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

มีการจัดเมนูอาหารกลางวันด้วยโปรแกรม Thai School Lunch โดยจัดแบบเมนูอาหาร 2 เดือนไม่ซ้ำรายการ

รายงานคุณค่าสารอาหารจาก Thai School Lunch รายงานปริมาณวัตถุดิบจาก Thai School Lunch

ส่งเสริมการจัดบริการอาหารกลางวันให้ได้คุณค่าโดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch อย่างเป็นระบบ โดยเน้นการให้ความรู้การรับประทานอาหารที่ถูกสุขลักษณะ แก่นักเรียน ครู บุคลากรทางการศึกษา แม่ครัว ผู้ปกครองและชุมชน และส่งเสริมให้มีการผลิตพิชผลทางการเกษตรที่สด สะอาด และปลอดภัย เพื่อนำเข้าสู่ระบบการจัดบริการอาหารกลางวันอย่างดพอเพียงและยั่งยืน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

มีการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง สรุปผลภาวะโภชนาการโดยครูอนามัยโรงเรียน ภาคเรียนละ 1 ครั้ง

รายงานภาวะโภชนาการนักเรียน ด้วยโปรแกรม Thai Growth ของมหาวิทยาลัยมหิดล

พัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อควบคุมและลดอัตรา นักเรียนที่มีภาวะโภชนาการ เกินเกณฑ์ และต่ำกว่าเกณฑ์ ให้มีคุณภาพและเป็นระบบ

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 1/22560 2/12560 2/22561 1/12561 1/22561 2/12561 2/2
เตี้ย 0.00 0.00% 0.00 0.00% 1.14 1.14% 0.00 0.00% 9.75 9.75% 8.05 8.05% 6.78 6.78% 5.93 5.93% 2.74 2.74% 4.93 4.93% 4.98 4.98% 4.98 4.98%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 1.12 1.12% 0.00 0.00% 4.94 4.94% 3.80 3.80% 18.64 18.64% 16.10 16.10% 14.83 14.83% 13.98 13.98% 8.22 8.22% 11.66 11.66% 10.41 10.41% 10.41 10.41%
ผอม 8.46 8.46% 8.46 8.46% 2.65 2.65% 0.00 0.00% 8.47 8.47% 5.51 5.51% 2.54 2.54% 1.69 1.69% 15.53 15.53% 12.11 12.11% 10.91 10.91% 10.86 10.86%
ผอม+ค่อนข้างผอม 18.08 18.08% 18.08 18.08% 7.58 7.58% 4.18 4.18% 16.95 16.95% 10.17 10.17% 11.44 11.44% 6.78 6.78% 24.20 24.20% 20.18 20.18% 18.18 18.18% 18.10 18.10%
อ้วน 1.15 1.15% 1.15 1.15% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 2.97 2.97% 2.54 2.54% 3.81 3.81% 2.54 2.54% 2.28 2.28% 2.69 2.69% 2.73 2.73% 2.71 2.71%
เริ่มอ้วน+อ้วน 2.69% 2.69% 2.69% 2.69% 0.76% 0.76% 1.14% 1.14% 4.24% 4.24% 6.36% 6.36% 6.78% 6.78% 7.20% 7.20% 5.02% 5.02% 6.73% 6.73% 8.18% 8.18% 8.60% 8.60%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

โรงเรียนมีการควบคุมกิจกกรรมการรับประทานอาหารของกลุ่มนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกินเกณฑ์ที่เข้มงวดมากขึ้น โดยส่งเสริมให้รับประทานผักผลไม้มากขึ้น ลดอาหารจำพวกแป้งและไขมัน และควบคุมปริมาณการตักอาหารและส่งเสริมการออกกำลังกายที่ถูกต้องและสม่ำเสมอ

รายงานภาวะโภชนาการนักเรียน ด้วยโปรแกรม Thai Growth ของมหาวิทยาลัยมหิดล

ร่วมมือกับชุมชนในการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมสุขภาพต่างๆ อย่างสม่ำเสมอ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

ครูให้ความรู้ในการเลือกรับประทานอาหารที่ถูกสุขลักษณะแก่นักเรียนในกลุ่มที่มีภาวะโภชนาการต่ำว่าเกณฑ์ ส่งเสริมการบริโภคผักและผลไม้ที่พอเหมาะ พอดี และเพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย เพิ่มปริมาณการตักอาหารที่มีคุณค่ามากขึ้น ส่งเสริมการออกกำลังกายที่ถูกต้องและสม่ำเสมอ

รายงานภาวะโภชนาการนักเรียน ด้วยโปรแกรม Thai Growth ของมหาวิทยาลัยมหิดล

ส่งเสริมและให้ความรู้ในการเลือกรับประทานอาหารที่ถูกสุขลักษณะแก่นักเรียน แล้้วขยายผลการดำเนินงานไปยังผู้ปกครอง และชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

ส่งเสริมให้นักเรียนได้รับสารอาหารที่มีคุณค่าในปริมาณที่พอเพียงและเหมาะสม แต่ไม่สามารถควบคุมปัจจัอื่นๆ ได้ เช่น กรรมพันธุ์ พฤติกรรมการบริโภคอาหารเมื่ออยู่ที่บ้าน และการดูแลเอาใจใส่ของพ่อแม่ผู้ปกครอง

รายงานภาวะโภชนาการนักเรียน ด้วยโปรแกรม Thai Growth ของมหาวิทยาลัยมหิดล

ขยายการส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภขที่ถูกสุขลักษณะไปยังพ่อแม่ ผู้ปกครอง และชุมชน เพื่อสร้างความตระหนักในการดูแลเอาใจใส่คุณภาพชีวิตของบุตรหลานตนเอง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

ส่งเสริมการควบคุมพฤติกรรมการรับประทานอาหารแแก่นักเรียนทุกคน และเน้นเด็กกลุ่มเสี่ยงเป็นพิเศษ

ส่งเสริมให้รับประทานผักผลไม้มากขึ้น ลดอาหารจำพวกแป้งและไขมัน แก่เด็กทุกกลุ่ม

ส่งเสริมการออกกำลังกายที่ถูกต้องและสม่ำเสมอ โดยจัดโปรแกรมการออกกำลังกายสำหรับกลุ่มเด็กอ้วน แยกออกมาจากกลุ่มเด็กปกติ

ทะเบียนนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกินเกณฑ์

ทะเบียนนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์

ทะเบียนนักเรียนที่ไม่ได้รับประทานอาหารเช้า

โปรแกรมการออกกำลังกายสำหรับนักเรียนกลุ่มปกติ กลุ่มอ้วน/ค่อนข้างอ้วน กลุ่มผอม/ค่อนข้างผอม

รายการเมนูอาหารเพื่อสุขภาพสำหรับนักเรียนกลุ่มอ้วน/ค่อนข้างอ้วน กลุ่มผอม/ค่อนข้างผอม กลุ่มเตี้ย/ค่อนข้างเตี้ย และนักเรียนกลุ่มปกติ

ส่งเสริมและพัฒนาทุกกิจกรรมให้เป็นระบบและยั่งยืน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

ผู้ปกครองรับทราบปัญหา และร่วมปริกษาหารือกับโรงเรียน เพื่อหาทางแก่ไขร่วมกัน

ผู้ปกครองและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการผลิตพืชผลทางการเกษตรที่สด สะอาด ปลอดภัย เพื่ออาหารกลางวันนักเรียน

ผลการดำเนินงานของเครือข่ายสร้างสุขภาพของชุมชนอย่างต่อเนื่อง

บันทึกการประชุมผู้ปกครองและเครือข่ายชุมชน

ภาพกิจกรรมต่างๆ

ส่งเสริมการพัฒนาและขยายเครือข่ายการผลิดพืชผลทางการเกษตรที่ สด สะอาด ปลอดภัย เพื่ออาหารกลางวันนักเรียน ในท้องถิ่นอย่างกว้างขวางและเข้มแข็ง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

1.การเกษตรในโรงเรียน ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานภาคีเครือข่าย ดังนี้ - หน่วยงานต้นสังกัด ให้งบประมาณในการจัดโครงการเรียนรู้นอกห้องเรียน 2. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัยได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานภาคีเครือข่าย 5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh