ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านโคกหัวช้าง

รหัสโครงการ ศรร.1311-068 รหัสสัญญา 58-00-2265-อ.22 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน

แปลงเกษตรปลอดสารพิษ ตามแนวพระราชดำริ

เกษตรผสมผสาน หรือไร่นาสวนผสม ไม่มีคำจำกัดความ เพราะสามารถแตกแขนงออกได้หลายแบบ ไม่มีการเจาะจงชนิดของพืชที่สามารถปลูก แต่การทำการเกษตรแบบผสมผสานนี้นั้น ภายในแปลงปลูกควรมีพืชพันธ์นานาชนิด มีความร่มรื่น เย็นสบาย เพื่อให้พืชหลายชนิดมีการเอื้อเฟื้อต่อกันได้มากที่สุด โดยส่วนใหญ่แล้วพืชพันธุ์ที่พบภายในสวน มีทั้งไม้ผล ไม้ยืนต้น พืชผักสมุนไพร ผักพื้นบ้าน ผักป่า ผักสวนครัว และอื่นๆ ที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้ทุกอย่าง รวมทั้ง แปลงดอกไม้ แปลงข้าว การเลี้ยงปลาในนาข้าว การเพาะพันธ์ปลาในบ่อปลา เรียกได้ว่าเป็นการผสมผสานทุกสิ่งทุกอย่าง ในพื้นที่จำกัด 1-2 ไร่ได้อย่างลงตัว และที่สำคัญ สามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืนก่อนอื่นต้องดูสภาพดินก่อน ว่ามีลักษณะเป็นอย่างไร สภาพดินเหมาะกับการปลูกพืชอะไรได้บ้างการเลี้ยงสัตว์ต่างๆ เมื่อรู้แล้วว่าจะปลูกพืชอะไร ก็ดูว่า สัตว์ที่จะเลี้ยงนั้น เอื้อประโยชน์กับพืชที่ปลูกอย่างไรบ้าง ใช้เป็นอาหารหรือใช้ประโยชน์อะไรจากพืชและสัตว์ มีการเอื้อประโยชน์ต่อกันอย่างไร

  • มีความร่มรื่น เย็นสบาย เพื่อให้พืชหลายชนิดมีการเอื้อเฟื้อต่อกันได้มากที่สุดมีการปลูกผักตามฤดูกาล
  • ภาพถ่าย สถานที่จริง สัมภาษณ์

ขยายพื้นที่และปลูกผักผลไม้หลากหลายชนิด

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

สหกรณ์การเกษตร เพื่ออาหารกลางวัน

สอนแนะนำระบบบัญชีให้กับครู และนักเรียนที่ดูแลโครงการส่งเสริมสหกรณ์และโครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันให้สามารถจัดทำบัญชีและถ่ายทอดความรู้ให้กับนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมได้และเป็นการสร้างเครือข่ายเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ ให้ช่วยดูแลให้คำแนะนำด้านการบัญชี โดยมีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กนักเรียนเกิดการเรียนรู้ด้านการจดบันทึกบัญชี และการจำหน่ายสู่อาหารกลางวันของโรงเรียนต่อไป

  • สามารถจัดทำบัญชีและถ่ายทอดความรู้ให้กับนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมได้และเป็นการสร้างเครือข่ายเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ ให้ช่วยดูแลให้คำแนะนำด้านการบัญชี โดยมีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กนักเรียนเกิดการเรียนรู้ด้านการจดบันทึกบัญชี และการจำหน่ายสู่อาหารกลางวันของโรงเรียนต่อไป
  • ภาพถ่าย ห้องสหกรณ์สัมภาษณ์

ขยายองค์ความรู้กระจายสู่นักเรียนให้มากที่สุด

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

จัดทำเมนูอาหารกลางวันตามโปรแกรม thaischool lunch ตลอดปีการศึกษา

โรงเรียนสามารถจัดทำอาหารตามเมนูอาหาร เพื่อให้ได้สารอาหารอย่างครบถ้วนและมีคุณภาพ โดยเป็นเมนูที่โรงเรียนกำหนด และสามารถคิดสร้างเมนูขึ้นมาโดยเลือกวัตถุดิบในการปรุงและคำนวณออกมาเป็น คะแนนคุณทางโภชนาการได้

  • จัดทำอาหารตามเมนูอาหาร เพื่อให้ได้สารอาหารอย่างครบถ้วนและมีคุณภาพ โดยเป็นเมนูที่โรงเรียนกำหนด และสามารถคิดสร้างเมนูขึ้นมาโดยเลือกวัตถุดิบในการปรุงและคำนวณออกมาเป็น คะแนนคุณทางโภชนาการ
  • ภาพถ่าย สมุดเมนูอาหาร

ขยายองค์ความรู้กระจายสู่ครูและนักเรียนให้มากที่สุด

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

ตรวจสุข และสมรรถภาพนักเรียนประจำภาคเรียน

ตรวจสุขภาพตนเองช่วงต้นภาคเรียน ภาคเรียนละ 1 ครั้ง. แล้วบันทึกผลการตรวจลงในแบบบันทึก เมื่อนักเรียนตรวจสุขภาพตนเอง และลงบันทึกเรียบร้อยแล้วผลการตรวจสุขภาพของนักเรียนที่พบความผิดปกติให้ครูประจำชั้น หรือครูพยาบาลนำไปบันทึกลงในแบบตรวจสุขภาพ อร.14และมีการทดสอบสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพตามช่วงวัย

  • นักเรียนสามารถตรวจสุขภาพตนเองและทดสอบสมรรถภาพประจำปีได้ด้วยความเข้าใจ
  • ภาพถ่ายสัมภาษณ์

ขยายองค์ความรู้กระจายสู่ครูและนักเรียนให้มากที่สุด

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

กิจกรรมแปรงฟันหลังอาหาร กิจกรรมล้างมือกิจกรรมกีฬา

เป็นกิจกรรมที่นักเรียนดูแลเพื่อนและน้อง ๆ ในการแปรงฟันหลังอาหารกลางวันให้ถูกวิธีและสะอาดล้างมือด้วยสบู่อนามัยเป็นกิจกรรมประกอบเพลง ซึ่งมีท่าทางการเต้นที่น่ารักสมวัย และยังมีกิจกรรมกีฬาทุกสัปดาห์และจัดตั้งชุมนุมกีฬาอีกด้วย

ขยายองค์ความรู้กระจายสู่ครูและนักเรียนให้มากที่สุด

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

จัดสร้างโรงประกอบอาหาร อาคารน้ำดื่มสะอาด พัฒนาบริบทโรงเรียน

โรงอาหาร และน้ำดื่มสะอาดและทางโรงเรียนได้ทำการปรับปรุงภูมิทัศน์เพื่อให้สอดคล้องกับโครงการเพื่อส่งเสริมสุขภาพนักเรียน

  • โรงเรียนมีสถานที่ถูกสุขลักษณะ เหมาะสมกับโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
  • ภาพถ่าย

ขยายองค์ความรู้กระจายสู่ครูและนักเรียนให้มากที่สุด

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

อาหารเช้า อาหารกลาง นมโรงเรียน

เพื่อแก้ปัญหาการขาดสารอาหารในเด็กวัยเรียน และสนับสนุนอุตสาหกรรมโคนมไทยโดยใช้น้ำนมดิบจากเกษตรกรในประเทศ นมโรงเรียนเป็นส่วนสำคัญของตลาดนมไทย

  • นักเรียนได้รับสารอาหารครบถ้วน ถูกหลักอนามัย
  • ภาพถ่าย สัมภาษณ์

จัดสรรงบประมาณเพิ่มเติม เพื่อรองรับกับจำนวนนักเรียน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

ประชุมชี้แจงจัดการเรียนการสอนให้ความรู้ ด้านเกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

จัดประชุมชี้แจงทําความเข้าใจ ประสานความร่วมมือ และวางแผนร่วมกัน ให้มีความสามารถบริหารจัดการอาหาร โภชนาการ และสุขภาพ ในโครงการตามพระราชดําริ การจัดการเรียนรู้เกษตร โภชนาการและสุขภาพอนามัย มีความรู้ด้านเกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการ และสุขภาพ

  • มีการประชุมวางแผนการดำเนินงานที่ถูกต้องชัดเจน และได้ความรู้จากการจัดกิจกรรมอย่างหลากหลาย และสามารถปฏิบัติจริงได้อย่างเข้าใจ
  • ภาพถ่าย สัมภาษณ์

พัฒนากระบวนการเรียนรู้ เพื่อให้สอดคล้องกับการพัฒนาของโลก

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ

โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับทอง ประจำปี 2557 โรงเรียน อย.น้อย ระดับดีเยี่ยม ประจำปี พ.ศ.2558

  1. มีการแต่งตั้งคณะกรรมการส่งเสริมสุขภาพของโรงเรียนหรือคณะทำงานที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพของโรงเรียน อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร ซึ่งประกอบด้วยครู นักเรียน ผู้ปกครอง เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และผู้แทนองค์กรในชุมชน
  2. โรงเรียนมีนโยบายส่งเสริมสุขภาพที่ครอบคลุมประเด็น ดังต่อไปนี้ การส่งเสริมสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาสุขภาพนักเรียน การเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาสุขภาพ การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพตามสุขบัญญัติแห่งชาติ การคุ้มครองผู้บริโภคในโรงเรียน การส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพแก่นักเรียน บุคลากรของโรงเรียนและชุมชนโดยมีโรงเรียนเป็นศูนย์กลาง การส่งเสริมสุขภาพจิตและเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยง การพัฒนาระบบการเรียนรู้ด้านสุขภาพโดยมีผู้เรียนเป็นสำคัญ การส่งเสริมสุขภาพบุคลากรในโรงเรียน ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาสุขภาพนักเรียนบุคลากรในโรงเรียนและชุมชน
  3. มีแผนงาน / โครงการ/กิจกรรม รองรับนโยบายส่งเสริมสุขภาพ
  4. บุคลากรในโรงเรียนทราบนโยบายที่เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ
  5. ผู้ปกครองทราบนโยบายหรือกิจกรรมที่เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ
  6. นักเรียนทราบนโยบายหรือกิจกรรมที่เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ มีการจัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพอย่างเป็นระบบ 1. มีคณะทำงานรับผิดชอบในแต่ละโครงการ ส่งเสริมสุขภาพประกอบด้วยครู นักเรียน และผู้ปกครอง / เจ้าหน้าที่สาธารณสุข / องค์กรในชุมชนมีผู้นำนักเรียนส่งเสริมสุขภาพหรือผู้นำเยาวชนสาธารณสุขในโรงเรียนหรือแกนนำนักเรียนด้านสุขภาพปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ การนิเทศ / ติดตามโครงการส่งเสริมสุขภาพ มีการนิเทศ/ ติดตาม โดยระบบของโรงเรียน อย่างต่อเนื่อง มีสรุปผลการนิเทศ และมีการนำผลการนิเทศไปใช้พัฒนางานมีการประเมินโครงการส่งเสริมสุขภาพ

ขยายองค์ความรู้กระจายสู่ครูและนักเรียนให้มากที่สุด

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

ครูผู้ปกครอง ผู้นำท้องถิ่น ชุมชนวัด องค์กรเอกชน รพ.สต รพ.บร สาธารณสุขจังหวัด

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

มีบริเวณจัดสรรเพื่อการเกษตรอย่างพอดพียงจำนวน 8 ไร่ แบ่งเป็นนาข้าว จำนวน 6 ไร่ แปลงเกษตรทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดำริ จำนวน 2 ไร่

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงาน และองค์กรชุมชน เข้าร่วมคณะทีมทำงาน

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

จัดการเรัียนการสอนแบบบูรณาการ และจัดกิจกรรมเสริมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้จัดทำแผนการเรียนรู้ตามกำหนดการสอน

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

ประชาสัมพันธ์ หนังสือขอความร่วมมือ การบริจาค การลงแรง และสนับสนุนเงินทุน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

ผักที่ปลูกไม่ค่อยขึ้น ดินไม่่เหมาะสมในการเพาะปลูก กำลังผลิตปุ๋ยหมักเพื่อใช้ในการเพิ่มอินทรีย์ในดิน พื้้นที่ไม่เพียงพอ จำนวนนักเรียนน้อย ไม่สามารถผลิตป้อนอาหารกลางวันได้ทุกวัน

ภาพถ่าย สัมภาษณ์สถานที่จริง

ขยายองค์ความรู้กระจายสู่ครูและนักเรียนให้มากที่สุด

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

โรงเรียนได้เลี้ยงปลาในกระชังและเลี้ยงปลาในนาข้าว สามารถส่งผลผลิตเพื่ออาหารกลางวันแต่ยังไม่เพียงพอ

ภาพถ่าย สัมภาษณ์สถานที่จริง

ขยายองค์ความรู้กระจายสู่ครูและนักเรียนให้มากที่สุด

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

เลี้ยงปลาดุก ปลาไน

ภาพถ่าย สัมภาษณ์สถานที่จริง

ขยายองค์ความรู้กระจายสู่ครูและนักเรียนให้มากที่สุด

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

โรงเรียนได้รับงบประมาณจากเอกชนเพื่อประกอบอาหารเช้าสำหรับนักเรียนทุกคน ทุกวัน

ภาพถ่าย สัมภาษณ์สถานที่จริง

ขยายองค์ความรู้กระจายสู่ครูและนักเรียนให้มากที่สุด

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

โรงเรียนได้ให้ความสนใจและตระหนักในเรื่องนี้เป็นพิเศษ โดยใช้โปรแกรม thaischool luncnh ในการคำนวณคุณค่าทางอาหารที่สำหรับนักเรียนเป็นรายสัปดาห์ รายเดือน

ภาพถ่าย สัมภาษณ์สถานที่จริง

ขยายองค์ความรู้กระจายสู่ครูและนักเรียนให้มากที่สุด

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

โรงเรียนได้ให้ความสนใจและตระหนักในเรื่องนี้เป็นพิเศษ โดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch ในการคำนวณคุณค่าทางอาหารที่สำหรับนักเรียนเป็นรายสัปดาห์ รายเดือน

ภาพถ่าย สัมภาษณ์สถานที่จริง

ขยายองค์ความรู้กระจายสู่ครูและนักเรียนให้มากที่สุด

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

โครงการอาหารเช้าอาหารกลางวัน

ภาพถ่าย สัมภาษณ์สถานที่จริง

ขยายองค์ความรู้กระจายสู่ครูและนักเรียนให้มากที่สุด

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

มีเครือข่ายความร่วมมือจากผู้ปกครองและเครือข่ายโรงเรียนและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ มาให้ความร่วมในการให้ความรู้และประสบการณ์

ภาพถ่าย สัมภาษณ์สถานที่จริง

ขยายองค์ความรู้กระจายสู่ครูและนักเรียนให้มากที่สุด

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

น้ำดื่มสะอาด ผ่านการฆ่าเชื้อโรค ด้วยรังษีอุลตร้าไวโอเลต

ภาพถ่าย สัมภาษณ์สถานที่จริง

ขยายองค์ความรู้กระจายสู่ครูและนักเรียนให้มากที่สุด

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

โรงเรียนได้ใช้ โปรแกรม Thai School Lunch ในการจัดอาหารกลางวันอย่างจริงจัง และดำเนินการล่วงหน้ารายสัปดาห์ รายเดือน

ภาพถ่าย สัมภาษณ์สถานที่จริง

ขยายองค์ความรู้กระจายสู่ครูและนักเรียนให้มากที่สุด

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

โรงเรียนดำเนินการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ โดยคุณครูทุกคน และคุณครูผูรับผิดชอบ

ภาพถ่าย สัมภาษณ์สถานที่จริง

ขยายองค์ความรู้กระจายสู่ครูและนักเรียนให้มากที่สุด

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 1/12558 1/22558 2/12558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 1/22560 2/12561 1/12561 1/22561 2/12561 2/2
เตี้ย 6.25 6.25% 4.12 4.12% 4.17 4.17% 4.17 4.17% 2.30 2.30% 3.45 3.45% 3.45 3.45% 6.90 6.90% 1.87 1.87% 4.67 4.67% 3.67 3.67% 5.45 5.45% 3.60 3.60% 3.57 3.57% 3.54 3.54%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 13.54 13.54% 9.28 9.28% 8.33 8.33% 7.29 7.29% 6.90 6.90% 14.94 14.94% 10.34 10.34% 12.64 12.64% 13.08 13.08% 13.08 13.08% 11.01 11.01% 23.64 23.64% 11.71 11.71% 14.29 14.29% 8.85 8.85%
ผอม 1.04 1.04% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 1.15 1.15% 0.00 0.00% 1.15 1.15% 4.60 4.60% 0.93 0.93% 0.93 0.93% 0.92 0.92% 0.91 0.91% 0.90 0.90% 1.80 1.80% 2.65 2.65%
ผอม+ค่อนข้างผอม 7.29 7.29% 2.06 2.06% 6.25 6.25% 3.13 3.13% 10.34 10.34% 3.45 3.45% 2.30 2.30% 5.75 5.75% 7.48 7.48% 9.35 9.35% 7.34 7.34% 4.55 4.55% 6.31 6.31% 5.41 5.41% 6.19 6.19%
อ้วน 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 1.15 1.15% 0.00 0.00% 2.30 2.30% 1.15 1.15% 3.74 3.74% 3.74 3.74% 3.67 3.67% 4.55 4.55% 4.50 4.50% 6.31 6.31% 5.31 5.31%
เริ่มอ้วน+อ้วน 3.13% 3.13% 2.06% 2.06% 2.08% 2.08% 2.08% 2.08% 4.60% 4.60% 5.75% 5.75% 8.05% 8.05% 9.20% 9.20% 9.35% 9.35% 9.35% 9.35% 11.93% 11.93% 13.64% 13.64% 12.61% 12.61% 13.51% 13.51% 15.93% 15.93%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

มีภาวะเริ่มอ้วนเพิ่มขึ้นเล็กน้อย เนื่องจากเด็กยังรับประทานขนมกรุมกรอบ

ภาพถ่าย สัมภาษณ์สถานที่จริง

ขยายองค์ความรู้กระจายสู่ครูและนักเรียนให้มากที่สุด

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

เด็กนักเรียนได้รับประทานอาหารที่มีคุณภาพและเพียงพอกับความต้องการของนักเรียน

ภาพถ่าย สัมภาษณ์สถานที่จริง

ขยายองค์ความรู้กระจายสู่ครูและนักเรียนให้มากที่สุด

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

เด็กนักเรียนได้รับประทานอาหารที่มีคุณภาพและเพียงพอกับความต้องการของนักเรียน

ภาพถ่าย สัมภาษณ์สถานที่จริง

ขยายองค์ความรู้กระจายสู่ครูและนักเรียนให้มากที่สุด

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

จัดบริการอาหารเช้าและจัดหาทุนการศึกษาเพื่อช่วยค่าจัดซื้ออาหารรับประทานที่บ้านด้วย

ภาพถ่าย สัมภาษณ์สถานที่จริง

ขยายองค์ความรู้กระจายสู่ครูและนักเรียนให้มากที่สุด

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

ผู้้ปกครองรับทราบข้อบกพร่องของนักเรียนและร่วมมือในการให้ความช่วยเหลือแนะนำนักเรียนที่เป็นบุตรหลานของตนเองด้วยในการปรับกิจกรรม

ภาพถ่าย สัมภาษณ์สถานที่จริง

ขยายองค์ความรู้กระจายสู่ครูและนักเรียนให้มากที่สุด

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

กาาการจัดบริการอาหารเช้านักเรียนทุกคนทุกวันและจัดหาทุนช่วยเหลือนักเรียนที่ขัดสนในครอบครัวหรือมีสมาชิกในครอบครัวมากและผู้ปกครองที่อาชีพรับจ้างที่มีรายได้ไม่แน่นอน

ภาพถ่าย สัมภาษณ์สถานที่จริง

ขยายองค์ความรู้กระจายสู่ครูและนักเรียนให้มากที่สุด

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

ครูผู้ปกครอง ผู้นำท้องถิ่น ชุมชนวัด องค์กรเอกชน รพ.สต รพ.บร สาธารณสุขจังหวัด

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh