ชื่อโรงเรียน | โรงเรียนบ้านโคกหัวช้าง |
สังกัด | ?? |
หน่วยงานต้นสังกัด | ?? |
ที่อยู่โรงเรียน | 204 หมู่ที่ 10 ตำบลเสม็ด อำเภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์ |
จำนวนนักเรียน | 87 คน |
ช่วงชั้น | อนุบาล,ประถม |
ผู้อำนวยการ | นายสมกิจ อาจจุฬา |
ครูผู้รับผิดชอบ | นางจุุฑาภรณ์ สิบทัศน์ |
คืนดอกเบี้ยจำนวน 25.04 บาท
ยอดเงินในบัญชีเป็น 0 บาท และคืนดอกเบี้ยให้กับสสส. 25.04 บาท
โรงเรียนจัดทำเอกสารแจกให้นักเรียน จำนวน 80 เล่ม และจัดทำป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ ให้ชุมชน ผู้ปกครอง และบุคคลทั่วไปได้รับทราบ จัดทำแผ่นพับ ประชาสัมพันธ์กิจกรรมของโรงเรียน
- ชุมชนรอบข้าง ในเขตบริการของโรงเรียน เกิดความพึงพอใจ
- เกิดความร่วมมือระหว่าง ชุมชน ผู้ปกครอง และโรงเรียน
- ชุมชนทราบความเคลื่อนไหวการดำเนินงานของโรงเรียน
คำนึงถึงลำดับความจำเป็นแห่งภาวะทุพโภชนาการของเด็กนักเรียนในแต่ละโรงเรียนและ พัฒนางานระบบสุขาภิบาลอาหารที่ดีและน้ำดื่มสะอาดในโรงเรียนให้เพียงพอต่อความต้องการของนักเรียน ดังนั้นการพัฒนาระบบน้ำดื่มในโรงเรียนให้สะอาด เพียงพอ จึงเป็นอีกภารกิจหนึ่งที่จำเป็นต้องดำเนินการเพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขภาพอนามัยที่แข็งแรง สมบูรณ์ สมวัย โดยเฉพาะการช่วยเหลือ สนับสนุนการบริหารจัดการด้านวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการจัดหาน้ำดื่มสะอาดในโรงเรียนให้สามารถให้บริการแก่นักเรียนอย่างเพียงพอในการอุปโภคบริโภคซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นและมีความสำคัญ เพราะน้ำเป็นปัจจัยพื้นฐานที่จำเป็นในการดำรงชีวิต การเจ็บป่วยด้วยโรคต่าง ๆ ที่มีสาเหตุจากน้ำเป็นสื่อ (Water-borne Disease) การบริโภคน้ำดื่มที่มีการปนเปื้อนมักเกิดขึ้นและก่อให้เกิดความเสียหายต่อสุขภาพของผู้เรียน อันส่งผลกระทบต่อการจัดการเรียนการสอน ดังนั้น หากโรงเรียนได้รับการช่วยเหลือในเรื่องของการจัดหาน้ำดื่มที่สะอาดให้สามารถบริการแก่นักเรียนได้อย่างเพียงพอ จะสามารถสนับสนุนส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขภาพอนามัยที่สมบูรณ์แข็งแรงเพิ่มขึ้น โรงเรียนบ้านโคกหัวช้างจึงพัฒนาระบบน้ำดื่มสะอาดให้นักเรียนได้ดื่ม และบริการชุมชน โดยการก่อสร้างอาคารน้ำดื่ม ถังกักเก็บน้ำสะอาด แลเดินท่อระบบน้ำดื่มสะอาดภายในโรงเรียน อย่างจริงจัง และถูกสุขอนามัย
- พัฒนาปรับปรุงระบบการจัดและให้บริการน้ำดื่มสะอาดในโรงเรียนให้มีคุณภาพ สะอาด ปลอดภัย ถูกสุขลักษณะและเพียงพอต่อความต้องการของนักเรียน
- สนับสนุนด้านวัสดุอุปกรณ์ และการให้บริการน้ำดื่มแก่นักเรียนในโรงเรียน และชุมชน
การเลือกสถานที่ บริเวณที่จะทำการเลี้ยงปลาในกระชังจะต้องมีคุณภาพสิ่งแวดล้อมอยู่ในเกณฑ์ดี เนื่องจากการเลี้ยงปลาในกระชังเป็นการเลี้ยงแบบพัฒนา(intensive) เน้นการจัดการเลี้ยงโดยใช้อาหารเป็นหลัก คุณภาพน้ำจึงเป็นเรื่องสำคัญสำหรับการเลี้ยงปลาในกระชัง โดยปกติแหล่งน้ำที่นำมาเลี้ยงปลาในกระชังควรเป็นแหล่งน้ำที่มีความสมบูรณ์ กล่าวคือ จะต้องมีปริมาณธาตุอาหารต่ำ หรือกล่าวอย่างง่ายๆ คือ น้ำจะต้องใสสะอาด มีคุณภาพดีการเลี้ยงปลาในกระชังสามารถทำได้ทั้งในบ่อขนาดใหญ่ที่ไม่สามารถถ่ายน้ำได้หมด หรือในอ่างเก็บน้ำ แม่น้ำ ลำคลอง หนอง บึงทั่วไป รวมถึงบริเวณชายฝั่งทะเล เป็นต้น โดยมีหลักในการพิจารณาถึงทำเลที่เหมาะสม ดังนี้ การถ่ายเทของกระแสน้ำ ปกติการเลี้ยงปลาในกระชังจะอาศัยการถ่ายเทน้ำผ่านกระชังเพื่อพัดเอาน้ำดีเข้ามาและไล่เอาของเสียออกไปนอกกระชัง เสมือนมีการเปลี่ยนน้ำใหม่เพื่อให้น้ำมีคุณภาพตลอดเวลา ดังนั้น บริเวณที่เลี้ยงปลาในกระชังจึงควรมีกระแสน้ำและลม เพื่อช่วยให้การหมุนเวียนของน้ำ ภายในกระชังเป็นไปด้วยดีแต่ต้องไม่รุนแรงนัก โดยเฉพาะสำหรับการเลี้ยงปลาในกระชังในอ่างเก็บน้ำหรือบ่อขนาดใหญ่ กระแสลมจะเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดการหมุนเวียนของกระแสน้ำในกระชัง บริเวณที่แขวนกระชังจึงควรเป็นบริเวณที่โล่งแจ้ง ห่างไกลจากร่มไม้และไม่ควรมีพรรณไม้น้ำ เนื่องจากต้นไม้และพรรณไม้น้ำมักจะบังกระแสลมและกระแสน้ำ ซึ่งจะมีผลต่อการหมุนเวียนถ่ายเทน้ำในกระชัง ความลึกของแหล่งน้ำแหล่งน้ำควรมีความลึกพอประมาณ เมื่อกางกระชังแล้วระดับพื้นกระชังควรสูงจากพื้นก้นบ่อหรือพื้นน้ำไม่น้อยกว่า 50 เซนติเมตร เพื่อให้น้ำถ่ายเทได้ดีตลอด ห่างไกลจากสิ่งรบกวนบริเวณที่ลอยกระชังควรห่างจากแหล่งชุมชน เพื่อป้องกันการรบกวนจากการพลุกพล่าน ซึ่งจะทำให้เกิดความเครียดกระวนกระวาย ได้รับบาดเจ็บจากการว่ายชนกระชังทำให้ปลาไม่กินอาหาร ทั้งหมดนี้จะเป็นอุปสรรคต่อการเจริญเติบโตตามปกติของปลาที่เลี้ยงหรือเป็นโรคติดเชื้อจากบาดแผลที่เกิดขึ้นได้ ชนิดปลาที่จะเลี้ยงและอัตราปล่อย ดังได้กล่าวแล้วว่ารูปแบบการเลี้ยงในกระชังมีความเหมาะสมต่อการเลี้ยงปลาดุกรัสเซียเป็นอย่างยิ่ง เนื่องจากปลาดุกรัสเซียเป็นปลาที่เลี้ยงง่าย มีความอดทน มีตลาดรองรับ โดยเฉพาะปลาดุกรัสเซียแปลงเพศ ซึ่งเป็นปลาเพศผู้ล้วน จะทำให้ได้ผลผลิตสูงกว่าเพศเมีย อีกทั้งจะได้ปลาที่มีขนาดใหญ่และปลาแต่ละตัวมีขนาดไม่แตกต่างกันมาก อีกทั้งจะได้ปลาที่เลี้ยงจะเป็นรุ่นเดียวกันซึ่งต่างจากการเลี้ยงปลาดุกรัสเซียรวมเพศที่มีการผสมพันธุ์วางไข่ ทำให้มีปลาหลายรุ่น และมีจำนวนแน่นบ่อ เกิดการแย่งอาหาร และพื้นที่ไม่เพียงพอ สำหรับอัตราการปล่อยนั้นขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายประการ เช่น ขนาดที่เริ่มปล่อย ระยะเวลาการเลี้ยง และขนาดที่ตลาดต้องการ อาหาร การให้อาหาร และการจัดการระหว่างการเลี้ยง การเลี้ยงปลาในกระชังเป็นรูปแบบการเลี้ยงปลาแบบพัฒนา (intensive) หรือกึ่งพัฒนา (semi - intensive) เน้นการให้อาหารเพื่อเร่งผลผลิตและการเจริญเติบโต จึงควรจะใช้อาหารที่มีคุณค่าทางโปรตีนค่อนข้างสูงและเหมาะสมกับความต้องการของปลาแต่ละขนาด ปัจจัยที่สำคัญควรนำมาประกอบการพิจารณาเกี่ยวกับการให้อาหารปลาในกระชัง ได้แก่ ระดับโปรตีนในอาหาร ปริมาณโปรตีนที่เหมาะสมสำหรับการเจริญเติบโตของปลาดุกรัสเซียที่มีอายุต่างกันจะแตกต่างกัน สำหรับลูกปลาวัยอ่อน (Juvenile) และลูกปลานิ้ว (Fingerling) จะต้องการอาหารทีมีระดับโปรตีนประมาณ 30 - 40 % แต่ในปลาใหญ่จะต้องการอาหารที่มีโปรตีนประมาณ 25 - 30 % เวลาในการให้อาหาร เนื่องจากปลาดุกรัสเซียจะกินอาหารได้ดี เมื่อมีปริมาณออกซิเจนละลายในน้ำสูงจะเป็นช่วงเวลากลางวัน ดังนั้นส่วนใหญ่จึงควรให้อาหารในช่วงเวลาดังกล่าว ความถี่ในการให้อาหาร ปลาดุกรัสเซียเป็นปลาที่ไม่มีกระเพาะอาหารจริงจึงสามารถกินอาหารได้ทีละน้อยและมีการย่อยอาหารที่ค่อนข้างช้า การให้อาหารครั้งละมากๆ จะทำให้สูญเสียอาหารและก่อให้เกิดสภาวะน้ำเสียได้ ดังนั้น เพื่อให้สามารถใช้ประโยชน์จากอาหารเม็ดสูงสุดจึงควรให้อาหารแต่น้อย แต่ให้บ่อยๆ โดยความถี่ที่เหมาะสมคือ ปริมาร 4 - 5 ครั้งต่อวัน จะช่วยเร่งการเจริญเติบโตและทำให้ผลตอบแทนในเชิงเศรษฐศาสตร์สูงสุด อัตราการให้อาหาร ปริมาณอาหารที่ให้ปลากินจะขึ้นอยู่กับขนาดของปลาและอุณหภูมิ หากอุณหภูมิของน้ำสูงขึ้นจะทำให้อัตราการกินอาหารของปลาสูงขึ้นตามไปด้วย อุณหภูมิน้ำที่เหมาะสมประมาณ 25 - 30 องศาเซลเซียล ควรให้อาหาร 20 % ของน้ำหนักปลา สำหรับปลาขนาดเล็กในปลารุ่นอัตราการให้อาหารจะลดลงเหลือ ประมาณ 6 - 8 % และสำหรับปลาใหญ่ อัตราการให้อาหารจะเหลือเพียง ประมาณ 3 - 4 % การจัดการระหว่างการเลี้ยง ควรมีการตรวจสอบกระชังเพื่อซ่อมแซมส่วนที่ชำรุดทุกๆ สัปดาห์ รวมทั้งสุ่มปลามาตรวจสอบน้ำหนักเพื่อปรับปริมาณอาหารที่ให้ได้อย่างเหมาะสม การเก็บเกี่ยวผลผลิต การเก็บเกี่ยวผลผลิตเป็นข้อควรคำนึงอีกประการหนึ่งสำหรับการจัดการการเก็บเกี่ยวผลผลิต จากการเลี้ยงในกระชังควรคำนึงถึงขนาดของปลาและปริมาณที่ตลาดต้องการ การสร้างกระชัง รูปร่างและขนาดของกระชัง กระชังที่ใช้เลี้ยงปลาดุกรัสเซียมีรูปทรงต่างๆ เช่น รูปสี่เหลี่ยมจตุรัส รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า และรูปกลม เป็นต้น รูปร่างของกระชังจะมีผลต่อการไหลผ่านของกระแสน้ำที่ถ่ายเทเข้าไปในกระชัง เมื่อเปรียบเทียบปริมาณเท่ากันๆ กระชังรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสจะมีพื้นที่ผิวที่ให้กระแสน้ำไหลผ่านได้มากกว่ากระชังรูปแบบอื่นๆ ขนาดกระชัง ที่ใช้เลี้ยงจะแตกต่างกันไป ซึ่งขึ้นอยู่กับความต้องการของเกษตรกร ขนาดพื้นที่ที่แขวนกระชัง ตลอดจนปัจจัยต่างๆ ดังกล่าวข้างต้น ขนาดกระชังที่นิยมใช้โดยทั่วไป คือ กระชังสี่เหลี่ยม ขนาด 1.2 x 1.2 x 2.5 หรือ 2 x 2 x 2.5 เมตร กระชังสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาด 4 x 2 x 2.5 เมตร สำหรับต้นทุนค่าสร้างกระชัง ต้นทุนต่อปริมาตรจะลดลงเมื่อขนาดของกระชังใหญ่ขึ้นแต่ผลผลิตต่อปริมาตรก็จะลดลงด้วย เนื่องจากกระชังใหญ่กระแสน้ำไม่สามารถหมุนเวียนได้ทั่วถึง ความลึกของกระชังส่วนใหญ่ที่ใช้จะมีความลึก 2.5 เมตร เมื่อลอยกระชังจะให้กระชังจมอยู่ในน้ำเพียง 2.2 เมตร โดยมีส่วนที่โผล่พ้นน้ำประมาณ 20 - 25 เซนติเมตร ความลึกของกระชังมีผลต่อการเจริญเติบโตของปลาเช่นกัน ปกติระดับออกซิเจนทีละลายในน้ำจะสูงบริเวณผิวน้ำ ที่ระดับความลึกประมาณ 2 เมตร ปริมาณออกศิเจนที่ละลายในน้ำเพียง 50 - 70 % ของปริมาณออกซิเจนที่ผิวน้ำเท่านั้น ดังนั้น การสร้างกระชังไม่ควรให้ลึกเกินไป เนื่องจากปลาจะหนีลงไปอยู่ในส่วนที่ลึกซึ่งมีปริมาณออกซิเจนต่ำ และจะส่งผลให้ปลากินอาหารน้อยมีอัตราการเจริญเติบโตต่ำ ดังนั้นขนาดกระชังขึ้นอยู่กับปัจจัยเป็นองค์ประกอบของการเลี้ยงซึ่งผู้เลี้ยงต้องตัดสินใจโดยพิจารณาถึงจำนวนปลาที่ปล่อย กระชังขนาดเล็กที่ปล่อยหนาแน่น ให้ผลผลิตต่อปริมาตรสูง ดูแลจัดการง่าย แต่ผลผลิตรวมอาจต่ำกว่ากระชังขนาดใหญ่ดังกล่าวข้างต้น นอกจากนี้บริเวณผนังกระชังด้านบน ควรใช้มุ้งเขียวขนาดความกว้างประมาณ 90 เซนติเมตร ขึงทับไว้เพื่อป้องกันมิให้อาหารหลุดออกนอกกระชังในระหว่างการให้อาหาร การแขงนกระชัง ควรแขวนให้กระชังห่างกันไม่น้อยกว่า 3 เมตร เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดมุมอับระหว่างกระชังเป็นการลดสภาวะการขาดออกซิเจน หากจำเป็นควรใช้เครื่องตีน้ำหรือเครื่องสูบน้ำช่วยให้เกิดการหมุนเวียนถ่ายเทน้ำภายในกระชังและเป็นการเพิ่มปริมาณออกซิเจนในน้ำอีกด้วย ขนาดตาอวนที่ใช้ทำกระชัง จะต้องเหมาะสมกับขนาดปลาที่เลี้ยงเพื่อป้องกันไม่ให้ปลาหนีลอดไปได้ อีกทั้งจะต้องให้กระแสน้ำไหลผ่านได้สะดวกและป้องกันไม่ให้ปลาขนาดเล็กภายนอกเข้ามารบกวนและแย่งอาหารปลาในกระชัง ขนาดตาอวนที่ใช้ไม่ควรมีขนาดเล็กกว่า 1.5 x 1.5 เซนติเมตร เพื่อไม่ให้ขัดขวางการหมุนเวียนของน้ำผ่านกระชัง กระชังควรมีฝาปิดซึ่งอาจทำจากเนื้ออวนชนิดเดียวกับที่ใช้กระชังหรือวัสดุที่เหมาะสม ทั้งนี้เพื่อป้องกันปลาที่เลี้ยงหนีออกและปลาจากภายนอกกระโดดเข้ากระชัง รวมทั้งป้องกันไม่ให้นกมากินปลาที่เลี้ยง
เพื่อศึกษา สัมภาษณ์ การเลี้ยงปลาดุกต่าง ๆ จากชาวบ้านหมู่บ้านใกล้เคียง และจากอินเทอร์เน็ต นักเรียน มีความรู้เรื่องการเลี้ยงปลาดุกต่าง ๆนักเรียนรู้จักความพอเพียงในการดารงชีวิตประจาวัน นักเรียนในโรงเรียนมีอาหารไว้รับประทาน ได้ลงมือปฏิบัติจริง ได้รวบรวมข้อมูล เรื่องการเลี้ยงปลาดุกต่าง ๆ จัดทาขึ้นเป็นโครงงานการงานอาชีพ ทำให้ทราบเรื่อง การเลี้ยงปลาดุกต่าง ๆ ตามแนวพระราชดำรัส รู้เรื่องเกษตรต่าง ๆ มากมาย และมีความ รักในแผนเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียน และปฏิบัติตามโครงการเด็กไทยแก้มใส อย่างมีความสุขสนุกสนาน
วิธีการผลิตผักปลอดภัยจากสารพิษ ในการปลูกผักปลอดภัยจากสารพิษนั้น จะใช้หลักการปลูกพืชผักโดยการใช้สารเคมีในการผลิต ให้น้อยที่สุด หรือใช้ตามความจำ เป็นและจะใช้หลัก การป้องกันและกำจัดศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน หรือไอพีเอ็มแทนแต่การที่จะป้องกันและกำ จัดศัตรูพืชให้ได้ผลนั้นจะต้องเลือกวิธีที่ประหยัดเหมาะสม และมีประสิทธิภาพ ซึ่งผู้ปลูกจะต้องเข้าใจเรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
การเตรียมแปลงปลูก เนื่องจากเมล็ดพืชผักส่วนใหญ่มีขนาดเล็ก มีระบบรากละเอียดอ่อน ถ้าเกษตรกรเตรียมดินไม่ดี ก็อาจมีผลกระทบต่อการงอกของเมล็ดและการเจริญเติบโตของพืชผักได้ ดังนั้น ก่อนการปลูกพืชควรมี การปรับสภาพดินให้เหมาะสมเสียก่อน โดยเฉพาะในพื้นที่ที่เคยมีการปลูกผักหรือพืชชนิดอื่นโดยการ ปล่อยนํ้าให้ท่วมแปลงแล้วสูบออก เพื่อให้นํ้าชะล้างสารเคมีและกำ จัดแมลงต่างๆ ที่อาศัยอยู่ในดิน แล้ว จึงทำการไถพลิกหน้าดินตากแดดไว้ เพื่อทำ ลายเชื้อโรคและแมลงศัตรูที่อาศัยอยู่ในดินอีกครั้ง จากนั้น เกษตรกรควรจะปรับสภาพความเป็นกรดเป็นด่างของดินให้อยู่ในสภาพที่เป็นกลาง โดยใช้ปูนขาว ปูนมาร์ล หรือ แร่โดโลไมท์ อัตรา 200-300 กิโลกรัม/ไร่ แล้วรดนํ้าตามหลังจากการใส่ปูนขาวเพื่อ ปรับสภาพดินที่เป็นกรดให้เป็นกลางนอกจากนี้ควรเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดินด้วยการใส่ปุ๋ยอินทรีย์ เช่น ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก ในอัตรา 1,000-2,000 กิโลกรัม/ไร่ ซึ่งจะช่วยให้ต้นพืชผักมีความแข็งแรงสามารถต้านทานต่อการเข้าทำ ลายของโรคและแมลงได้โรยปูนขาวเพื่อปรับสภาพดินการปลูกผักปลอดภัยจากสารพิษ
การเตรียมเมล็ดพันธุ์ ก่อนนำ เมล็ดพันธุ์ผักไปปลูกในแปลงปลูกหรือแปลงกล้าเกษตรกรควรทำ ความสะอาดเมล็ด พันธุ์ก่อน ตามขั้นตอนดังนี้ 1. คัดแยกเมล็ดพันธุ์ โดยการคัดเมล็ดที่เสีย เมล็ดวัชพืชที่มีอยู่ปะปน และสิ่งเจือปนต่างๆออก 2. แช่เมล็ดพันธุ์ในนํ้าอนุ่ ที่อุณหภูมิ 50-55 องศาเซลเซยี สเปน็ เวลา 15-30 นาที จะช่วยลดปริมาณเชื้อโรคที่ติดมากับเมล็ดพันธุ์และยังกระตุ้นการงอกของเมล็ดอีกด้วย 3. ในพื้นที่ที่มีการระบาดของโรครานํ้าค้าง และโรคใบจุดควรคลุกเมล็ดพันธุ์ด้วยสารเคมี เช่น เมทาแล็กซิน 35 เปอร์เซ็นต์ SD (เอพรอน) และไอโปรไดโอน (รอฟรัล) อัตรา 10 กรัม / เมล็ด พันธุ์ 1 กิโลกรัม
การปลูกและการดูแล การเลือกวิธีการปลูก ระยะปลูกเป็นเท่าใดนั้นจะขึ้นอยู่กับชนิดของพืชผักที่เกษตรกรเลือกปลูก แต่มีข้อแนะนำ คือ เกษตรกรควรปลูกผักให้มีระยะห่างพอสมควร อย่าให้แน่นจนเกินไป เพื่อให้มีการ ระบายอากาศที่ดี เป็นการปรับสภาพแวดล้อมไม่ให้เหมาะสมต่อการระบาดของโรค นอกจากนี้ควรหมั่น ตรวจแปลงอยู่เสมอ โดยอาจเลือกสำรวจเป็นจุดๆ ประมาณ 10-20 จุด/ไร่ ถ้าพบว่ามีการระบาดของ โรคและแมลงในระดับที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่พืชผักนั้น ก็ควรดำ เนินการกำ จัดโรคและแมลงที่พบ ทันที การใช้สารสกัดจากพืช พืชที่นิยมนำ มาใช้สกัดเป็นสารควบคุมโรคและแมลง คือ สะเดา เนื่องจากในสะเดามีสาร อะซาดิแรคติน (Azadirachtin) ซึ่งมีคุณสมบัติช่วยในการป้องกันและกำ จัดแมลงได้โดย • สามารถใช้ฆ่าแมลงได้บางชนิด • ใช้เป็นสารไล่แมลง • ทำ ให้แมลงไม่กินอาหาร • ทำ ให้การเจริญเติบโตของแมลงผิดปกติ • ยับยั้งการเจริญเติบโตของแมลง • ยับยั้งการวางไข่และการลอกคราบของแมลง • เป็นพิษต่อไข่ของแมลง ทำ ให้ไข่ไม่ฟัก • ยับยั้งการสร้างเอนไซม์ในระบบย่อยอาหารของแมลง วิธีการใช้ คือ นำ เอาผลสะเดาหรือสะเดาที่บดแล้ว 1 กิโลกรัม แช่ในนํ้า 20 ลิตร ทิ้งค้างคืนไว้ 1 คืน แต่ถ้าเกษตรกรมีเครื่องกวนส่วนผสมดังกล่าว ก็จะลดเวลาเหลือเพียง 3-4 ชั่วโมง ข้อควรระวัง พืชบางชนิดเมื่อได้รับสารนี้แล้วอาจเกิดอาการใบไหม้เหี่ยวย่นหรือต้นแคระแกร็น ดังนี้เมื่อพบอาการต่างๆ เหล่านี้ ก็ควรจะงดใช้สารสกัดจากสะเดาทันทีชนิดของแมลงที่สามารถกำจัดได้ด้วยสะเดา 1. ชนิดที่ใช้แล้วได้ผลดี ได้แก่ หนอนใยผัก หนอนหนังเหนียว หนอนกระทู้ชนิดต่างๆ หนอน กัดกินใบ หนอนเจาะยอด หนอนชอนใบ หนอนม้วนใบ หนอนหัวกระโหลก 2. ชนิดที่ใช้แล้วได้ผลปานกลาง ได้แก่ เพลี้ยจักจั่น หนอนเจาะ สมอฝ้าย หนอนต้นกล้าถั่ว แมลงหวี่ขาว แมลงวันทอง เพลี้ยไก่แจ้ เพลี้ยอ่อน 3. ชนิดที่ใช้แล้วได้ผลน้อย ได้แก่ หนอนเจาะฝักถั่ว เพลี้ยไฟ ไรแดง มวนและด้วงชนิดต่างๆ พืชผักที่ใช้สารสกัดจากสะเดาได้ผล ได้แก่ ผักคะน้า กวาง ผักกาดหอมกะหลํ่าดอกแตงกวา มะเขือเทศ มะเขือยาว ข้าวโพดอ่อน พริกขี้หนู ตำลึง มะนาว มะกรูด การใช้สารแคมีป้องกันและกำจัดศัตรูพืช จากข้อมูลที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้น ในการปฏิบัติจริงของเกษตรกรนั้น เกษตรกรต้องหมั่นตรวจแปลงปลูกพืชของตนอย่างสมํ่าเสมอ เพื่อเป็นการพยากรณ์สถานการณ์ของศัตรูพืชในแปลงของตน เมื่อทราบสถานการณ์แล้วจึงพิจารณาเลือกใช้วิธีการป้องกันและกำจัดที่เหมาะสม แต่ในกรณีที่ไม่สามารถควบคุมหรือไม่มีวิธีการควบคุมใดที่ใช้ได้ผลแล้ว เกษตรกรอาจใช้สารเคมีในการควบคุมศัตรูพืชนั้นๆ คือ 1. เป็นสารเ คมีที่เหมาะสมกับศัตรูพืชชนิดนั้น 2. สารเคมีนั้นสลายตัวได้เร็ว 3. ใช้ในอัตราที่เหมาะสมตามคำ แนะนำ 4. เว้นระยะการเก็บเกี่ยวผลผลิตตามคำ แนะนำ ทั้งนี้เพื่อไม่ก่อให้เกิดอันตราย หรือมีสารพิษตกค้างในพืชผักนั้น และมีความปลอดภัยต่อผู้บริโภคอีกด้วย
ปลูกพืชผักสวนครัวที่นำใช้เป็นอาหารกลางวันและการทำนา โดยวางแผนให้สอดคล้องกับเมนู Thaischool Lunch
วิธีการผลิตผักปลอกภัยจากสารพิษ
ในการปลูกผักปลอดภัยจากสารพิษนั้น จะใช้หลักการปลูกพืชผักโดยการใช้สารเคมีในการผลิต
ให้น้อยที่สุด หรือใช้ตามความจำ เป็นและจะใช้หลัก การป้องกันและกำจัดศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน
หรือไอพีเอ็มแทนแต่การที่จะป้องกันและกำ จัดศัตรูพืชให้ได้ผลนั้นจะต้องเลือกวิธีที่ประหยัดเหมาะสม
และมีประสิทธิภาพ ซึ่งผู้ปลูกจะต้องเข้าใจเรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
การเตรียมแปลงปลูก
เนื่องจากเมล็ดพืชผักส่วนใหญ่มีขนาดเล็ก มีระบบรากละเอียดอ่อน ถ้าเกษตรกรเตรียมดินไม่ดี
ก็อาจมีผลกระทบต่อการงอกของเมล็ดและการเจริญเติบโตของพืชผักได้ ดังนั้น ก่อนการปลูกพืชควรมี
การปรับสภาพดินให้เหมาะสมเสียก่อน โดยเฉพาะในพื้นที่ที่เคยมีการปลูกผักหรือพืชชนิดอื่นโดยการ
ปล่อยนํ้าให้ท่วมแปลงแล้วสูบออก เพื่อให้นํ้าชะล้างสารเคมีและกำ จัดแมลงต่างๆ ที่อาศัยอยู่ในดิน แล้ว
จึงทำการไถพลิกหน้าดินตากแดดไว้ เพื่อทำ ลายเชื้อโรคและแมลงศัตรูที่อาศัยอยู่ในดินอีกครั้ง จากนั้น
เกษตรกรควรจะปรับสภาพความเป็นกรดเป็นด่างของดินให้อยู่ในสภาพที่เป็นกลาง โดยใช้ปูนขาว
ปูนมาร์ล หรือ แร่โดโลไมท์ อัตรา 200-300 กิโลกรัม/ไร่ แล้วรดนํ้าตามหลังจากการใส่ปูนขาวเพื่อ
ปรับสภาพดินที่เป็นกรดให้เป็นกลางนอกจากนี้ควรเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดินด้วยการใส่ปุ๋ยอินทรีย์
เช่น ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก ในอัตรา 1,000-2,000 กิโลกรัม/ไร่ ซึ่งจะช่วยให้ต้นพืชผักมีความแข็งแรงสามารถต้านทานต่อการเข้าทำ ลายของโรคและแมลงได้โรยปูนขาวเพื่อปรับสภาพดินการปลูกผักปลอดภัยจากสารพิษ
การเตรียมเมล็ดพันธุ์ ก่อนนำ เมล็ดพันธุ์ผักไปปลูกในแปลงปลูกหรือแปลงกล้าเกษตรกรควรทำ ความสะอาดเมล็ด พันธุ์ก่อน ตามขั้นตอนดังนี้ 1. คัดแยกเมล็ดพันธุ์ โดยการคัดเมล็ดที่เสีย เมล็ดวัชพืชที่มีอยู่ปะปน และสิ่งเจือปนต่างๆออก 2. แช่เมล็ดพันธุ์ในนํ้าอนุ่ ที่อุณหภูมิ 50-55 องศาเซลเซยี สเปน็ เวลา 15-30 นาที จะช่วยลดปริมาณเชื้อโรคที่ติดมากับเมล็ดพันธุ์และยังกระตุ้นการงอกของเมล็ดอีกด้วย 3. ในพื้นที่ที่มีการระบาดของโรครานํ้าค้าง และโรคใบจุดควรคลุกเมล็ดพันธุ์ด้วยสารเคมี เช่น เมทาแล็กซิน 35 เปอร์เซ็นต์ SD (เอพรอน) และไอโปรไดโอน (รอฟรัล) อัตรา 10 กรัม / เมล็ด พันธุ์ 1 กิโลกรัม
การปลูกและการดูแล การเลือกวิธีการปลูก ระยะปลูกเป็นเท่าใดนั้นจะขึ้นอยู่กับชนิดของพืชผักที่เกษตรกรเลือกปลูก แต่มีข้อแนะนำ คือ เกษตรกรควรปลูกผักให้มีระยะห่างพอสมควร อย่าให้แน่นจนเกินไป เพื่อให้มีการ ระบายอากาศที่ดี เป็นการปรับสภาพแวดล้อมไม่ให้เหมาะสมต่อการระบาดของโรค นอกจากนี้ควรหมั่น ตรวจแปลงอยู่เสมอ โดยอาจเลือกสำรวจเป็นจุดๆ ประมาณ 10-20 จุด/ไร่ ถ้าพบว่ามีการระบาดของ โรคและแมลงในระดับที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่พืชผักนั้น ก็ควรดำ เนินการกำ จัดโรคและแมลงที่พบ ทันที การใช้สารสกัดจากพืช พืชที่นิยมนำ มาใช้สกัดเป็นสารควบคุมโรคและแมลง คือ สะเดา เนื่องจากในสะเดามีสาร อะซาดิแรคติน (Azadirachtin) ซึ่งมีคุณสมบัติช่วยในการป้องกันและกำ จัดแมลงได้โดย • สามารถใช้ฆ่าแมลงได้บางชนิด • ใช้เป็นสารไล่แมลง • ทำ ให้แมลงไม่กินอาหาร • ทำ ให้การเจริญเติบโตของแมลงผิดปกติ • ยับยั้งการเจริญเติบโตของแมลง • ยับยั้งการวางไข่และการลอกคราบของแมลง • เป็นพิษต่อไข่ของแมลง ทำ ให้ไข่ไม่ฟัก • ยับยั้งการสร้างเอนไซม์ในระบบย่อยอาหารของแมลง วิธีการใช้ คือ นำ เอาผลสะเดาหรือสะเดาที่บดแล้ว 1 กิโลกรัม แช่ในนํ้า 20 ลิตร ทิ้งค้างคืนไว้ 1 คืน แต่ถ้าเกษตรกรมีเครื่องกวนส่วนผสมดังกล่าว ก็จะลดเวลาเหลือเพียง 3-4 ชั่วโมง ข้อควรระวัง พืชบางชนิดเมื่อได้รับสารนี้แล้วอาจเกิดอาการใบไหม้เหี่ยวย่นหรือต้นแคระแกร็น ดังนี้เมื่อพบอาการต่างๆ เหล่านี้ ก็ควรจะงดใช้สารสกัดจากสะเดาทันทีชนิดของแมลงที่สามารถกำจัดได้ด้วยสะเดา 1. ชนิดที่ใช้แล้วได้ผลดี ได้แก่ หนอนใยผัก หนอนหนังเหนียว หนอนกระทู้ชนิดต่างๆ หนอน กัดกินใบ หนอนเจาะยอด หนอนชอนใบ หนอนม้วนใบ หนอนหัวกระโหลก 2. ชนิดที่ใช้แล้วได้ผลปานกลาง ได้แก่ เพลี้ยจักจั่น หนอนเจาะ สมอฝ้าย หนอนต้นกล้าถั่ว แมลงหวี่ขาว แมลงวันทอง เพลี้ยไก่แจ้ เพลี้ยอ่อน 3. ชนิดที่ใช้แล้วได้ผลน้อย ได้แก่ หนอนเจาะฝักถั่ว เพลี้ยไฟ ไรแดง มวนและด้วงชนิดต่างๆ พืชผักที่ใช้สารสกัดจากสะเดาได้ผล ได้แก่ ผักคะน้า กวาง ผักกาดหอมกะหลํ่าดอกแตงกวา มะเขือเทศ มะเขือยาว ข้าวโพดอ่อน พริกขี้หนู ตำลึง มะนาว มะกรูด การใช้สารแคมีป้องกันและกำจัดศัตรูพืช จากข้อมูลที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้น ในการปฏิบัติจริงของเกษตรกรนั้น เกษตรกรต้องหมั่นตรวจแปลงปลูกพืชของตนอย่างสมํ่าเสมอ เพื่อเป็นการพยากรณ์สถานการณ์ของศัตรูพืชในแปลงของตน เมื่อทราบสถานการณ์แล้วจึงพิจารณาเลือกใช้วิธีการป้องกันและกำจัดที่เหมาะสม แต่ในกรณีที่ไม่สามารถควบคุมหรือไม่มีวิธีการควบคุมใดที่ใช้ได้ผลแล้ว เกษตรกรอาจใช้สารเคมีในการควบคุมศัตรูพืชนั้นๆ คือ 1. เป็นสารเ คมีที่เหมาะสมกับศัตรูพืชชนิดนั้น 2. สารเคมีนั้นสลายตัวได้เร็ว 3. ใช้ในอัตราที่เหมาะสมตามคำ แนะนำ 4. เว้นระยะการเก็บเกี่ยวผลผลิตตามคำ แนะนำ ทั้งนี้เพื่อไม่ก่อให้เกิดอันตราย หรือมีสารพิษตกค้างในพืชผักนั้น และมีความปลอดภัยต่อผู้บริโภคอีกด้วย
- นักเรียนได้ทานอาหารที่สะอาดปลอดภัย
- นักเรียนได้เรียนรู้และได้ประสบการณ์และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
- นักเรียนมีสุขภาพแข็งแรง
- การเลือกพื้นที่ปลูก : เราเลือกพื้นที่ที่มีขนาดใหญ่ติดต่อกัน และมีความอุดมสมบูรณ์ของดินโดยธรรมชาติค่อนข้างสูง จำนวนพื้นที่ 6 ไร่ ตั้งอยู่ ณ หมู่ 10 ต.เสม็ด อ.เมืองบุรีรัมย์ จ.บุรีรัมย์
เป็นโรงเรียนปลอดมลพิษทางอากาศอย่างสิ้นเขิง ทั้งแปลงนาล้อมรอบด้วยพืชกันชนและคลองเก็บน้ำในแปลง เพื่อให้เป็นพื้นที่บริสุทธิ์ในการผลิตข้าวอินทรีย์สมบูรณ์แบบ - การเลือกใช้พันธุ์ข้าว : เราเลือกพันธุ์ข้าวที่ดีที่สุดในโลกพันธุ์หนึ่งก็คือข้าวไรซ์เบอร์รี่ โดยใช้เมล็ดพันธุ์ที่ได้รับการอนุญาตจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กำแพงแสนเป็นการเฉพาะ
นำมาปลูกหมุนเวียนตลอดมาโดยไม่ใช้พันธุ์ซ้ำ ช้าวไรซ์เบอร์รี่ จากแปลงของเราจึงสะอาด บริสุทธิ์ ปราศจากพันธุ์ปนอย่างแท้จริง - การเตรียมดิน : การเตรียมดินเพื่อปลูกข้าวอินทรีย์ไรซ์เบอร์รี่ย์ ถือเป็นหัวใจหลักของการผลิต เพราะถ้าเตรียมไม่ดีพอ จะส่งผลเสียมหาศาลในการผลิตคราวนั้นๆและคราวต่อๆไป เราจึงต้องปรับสภาพดินให้เหมาะสมที่สุด ต่อการปลูกและการเจริญเติบโตของข้าว โดยการหมักดินด้วยจุลินทรีย์ที่เราผลิตเองตามคำแนะนำของกรมการพัฒนาที่ดิน เพื่อให้ช่วยควบคุมวัชพืช โรค แมลงและสัตว์ศัตรูข้าวบางชนิด จากนั้นจึงไถดะ ไถแปร คราด และทำเทือก
- วิธีปลูก : การปลูกข้าวอินทรีย์ไรซ์เบอร์รี่ ใช้วิธีปักดำ ซึ่งเป็นวิธีที่เหมาะสมที่สุดในการผลิตข้าวอินทรีย์ เพราะการเตรียมดิน ทำเทือก การควบคุมระดับน้ำในนาจะช่วยลดปริมาณวัชพืชได้ และการปลูกกล้าข้าวลงดิน
จะช่วยให้ข้าวสามารถแข่งขันกับวัชพืชได้ ต้นกล้าที่ใช้ปักดำ มีอายุประมาณ 20 วัน เป็นต้นกล้าที่เจริญเติบโตแข็งแรงดี ปราศจากโรคและแมลงทำลาย
- การจัดการความอุดมสมบูรณ์ของดิน
1) การจัดการดินเพื่อรักษาความอุดมสมบูรณ์ของดินให้เหมาะสมกับการใช้ปลูกข้าวอินทรีย์ไรซ์เบอร์รี่
- เราไม่เผาตอซัง ฟางข้าว และเศษวัสดุอินทรีย์ในแปลงนา เพราะเป็นการทำลายอินทรียวัตถุและ จุลินทรีย์ดินที่มีประโยชน์
- เราเพิ่มอินทรียวัตถุให้กับดินโดยการปลูกพืชโดยเฉพาะพืชตระกูลถั่วในที่ว่างในบริเวณพื้นที่นาตามความเหมาะสม แล้วใช้อินทรียวัตถุที่เกิดจากการเลี้ยงไส้เดือน ทั้งมูลและน้ำเลี้ยง บำรุงทั่วแปลงนาอย่างต่อเนื่อง
ทั่วทั้งแปลงจึงอุดมสมบูรณ์ สังเกตได้จากมูลไส้เดือนกระจายตัวอยู่ทั่วไป
2. น้ำหมักชีวภาพ หรือน้ำสกัดชีวภาพ (Bio Extract) เราทำใช้เองจากวัสดุเหลือใช้ในไร่นา ในครัวเรือน นำมาหมักร่วมกับกากน้ำตาล (Mollass) ละลายน้ำ
น้ำสกัดจากพืช ผลไม้ได้แก่ผักต่างๆ ใบสะเดา ตะไคร้หอม พืชสมุนไพรต่างๆ มะม่วง สับปะรด กล้วย มะละกอ ฟักทอง น้ำสกัดจากสัตว์ ได้แก่ ไส้ปลา หอยเชอรี่ เป็นต้น
วิธีใช้น้ำหมักในนาข้าวอินทรีย์ไรซ์เบอร์รี่
ครั้งที่ 1 หลังทำเทือก ใช้น้ำหมักพืชที่ทำขึ้น อัตรา 5 ลิตรต่อไร่ ผสมน้ำเปล่า 10 เท่า ราดให้ทั่ว ก่อนการปักดำข้าว ครั้งที่ 2 ระยะข้าวแตกกอหรือหลังจากปักดำข้าวไปแล้ว 30 วัน ใช้น้ำหมักจากเนื้อ อัตรา 5 ลิตรต่อไร่ผสมน้ำเปล่าเท่ากันกับครั้งที่ 1 ราดให้ทั่ว ครั้งที่ 3 ระยะข้าวเริ่มตั้งท้องใช้น้ำหมักผลไม้ อัตรา 250 ซีซีต่อไร่ ผสมน้ำเปล่า 50 เท่าพ่นทั่วแปลง ครั้งที่ 4 และ 5 ฉีดพ่นด้วยน้ำหมักจากผลไม้ หลังจากครั้งที่ 3 เป็นเวลา 15 และ 30 วัน
3) การใช้อินทรียวัตถุบางอย่างทดแทนปุ๋ยเคมี เราใช้แหนแดงหว่านทั่วแปลงเพื่อเพิ่มธาตุอาหารในดินตลอดเวลา
การกำจัดวัชพืชโดยการถอนด้วยมือ
ระบบน้ำสะอาดภายในแปลงนา
การบรรจุเพื่อการจำหน่าย
ข้าวอินทรีย์ไรซ์เบอร์รี่บรรจุอยู่ในถุงขนาดเล็กตั้งแต่ 1 กิโลกรัม ถึง 2 กิโลกรัม โดยบรรจุในสภาพสูญญากาศ ไม่มีการเติมแก๊สหรือสารใดๆ เพราะในสภาพสุญญากาศ จะเป็นการหยุดศัตรูเมล็ดข้าวได้ดีที่สุด
สนใจเที่ยวชมแปลงนาข้าวอินทรีย์ไรซ์เบอร์รี่ หรือสั่งซื้อสินค้า โทร. 082-6017807
นักเรียนได้้เรียนรู้การทำนา และนำประสบการณ์ในการทำนา นักเรียนมีสุขภาพแข็งแรง
การเลือกสถานที่ บริเวณที่จะทำการเลี้ยงปลาในกระชังจะต้องมีคุณภาพสิ่งแวดล้อมอยู่ในเกณฑ์ดี เนื่องจากการเลี้ยงปลาในกระชังเป็นการเลี้ยงแบบพัฒนา(intensive) เน้นการจัดการเลี้ยงโดยใช้อาหารเป็นหลัก คุณภาพน้ำจึงเป็นเรื่องสำคัญสำหรับการเลี้ยงปลาในกระชัง โดยปกติแหล่งน้ำที่นำมาเลี้ยงปลาในกระชังควรเป็นแหล่งน้ำที่มีความสมบูรณ์ กล่าวคือ จะต้องมีปริมาณธาตุอาหารต่ำ หรือกล่าวอย่างง่ายๆ คือ น้ำจะต้องใสสะอาด มีคุณภาพดีการเลี้ยงปลาในกระชังสามารถทำได้ทั้งในบ่อขนาดใหญ่ที่ไม่สามารถถ่ายน้ำได้หมด หรือในอ่างเก็บน้ำ แม่น้ำ ลำคลอง หนอง บึงทั่วไป รวมถึงบริเวณชายฝั่งทะเล เป็นต้น โดยมีหลักในการพิจารณาถึงทำเลที่เหมาะสม ดังนี้ การถ่ายเทของกระแสน้ำ ปกติการเลี้ยงปลาในกระชังจะอาศัยการถ่ายเทน้ำผ่านกระชังเพื่อพัดเอาน้ำดีเข้ามาและไล่เอาของเสียออกไปนอกกระชัง เสมือนมีการเปลี่ยนน้ำใหม่เพื่อให้น้ำมีคุณภาพตลอดเวลา ดังนั้น บริเวณที่เลี้ยงปลาในกระชังจึงควรมีกระแสน้ำและลม เพื่อช่วยให้การหมุนเวียนของน้ำ ภายในกระชังเป็นไปด้วยดีแต่ต้องไม่รุนแรงนัก โดยเฉพาะสำหรับการเลี้ยงปลาในกระชังในอ่างเก็บน้ำหรือบ่อขนาดใหญ่ กระแสลมจะเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดการหมุนเวียนของกระแสน้ำในกระชัง บริเวณที่แขวนกระชังจึงควรเป็นบริเวณที่โล่งแจ้ง ห่างไกลจากร่มไม้และไม่ควรมีพรรณไม้น้ำ เนื่องจากต้นไม้และพรรณไม้น้ำมักจะบังกระแสลมและกระแสน้ำ ซึ่งจะมีผลต่อการหมุนเวียนถ่ายเทน้ำในกระชัง ความลึกของแหล่งน้ำแหล่งน้ำควรมีความลึกพอประมาณ เมื่อกางกระชังแล้วระดับพื้นกระชังควรสูงจากพื้นก้นบ่อหรือพื้นน้ำไม่น้อยกว่า 50 เซนติเมตร เพื่อให้น้ำถ่ายเทได้ดีตลอด ห่างไกลจากสิ่งรบกวนบริเวณที่ลอยกระชังควรห่างจากแหล่งชุมชน เพื่อป้องกันการรบกวนจากการพลุกพล่าน ซึ่งจะทำให้เกิดความเครียดกระวนกระวาย ได้รับบาดเจ็บจากการว่ายชนกระชังทำให้ปลาไม่กินอาหาร ทั้งหมดนี้จะเป็นอุปสรรคต่อการเจริญเติบโตตามปกติของปลาที่เลี้ยงหรือเป็นโรคติดเชื้อจากบาดแผลที่เกิดขึ้นได้ ชนิดปลาที่จะเลี้ยงและอัตราปล่อย ดังได้กล่าวแล้วว่ารูปแบบการเลี้ยงในกระชังมีความเหมาะสมต่อการเลี้ยงปลาดุกรัสเซียเป็นอย่างยิ่ง เนื่องจากปลาดุกรัสเซียเป็นปลาที่เลี้ยงง่าย มีความอดทน มีตลาดรองรับ โดยเฉพาะปลาดุกรัสเซียแปลงเพศ ซึ่งเป็นปลาเพศผู้ล้วน จะทำให้ได้ผลผลิตสูงกว่าเพศเมีย อีกทั้งจะได้ปลาที่มีขนาดใหญ่และปลาแต่ละตัวมีขนาดไม่แตกต่างกันมาก อีกทั้งจะได้ปลาที่เลี้ยงจะเป็นรุ่นเดียวกันซึ่งต่างจากการเลี้ยงปลาดุกรัสเซียรวมเพศที่มีการผสมพันธุ์วางไข่ ทำให้มีปลาหลายรุ่น และมีจำนวนแน่นบ่อ เกิดการแย่งอาหาร และพื้นที่ไม่เพียงพอ สำหรับอัตราการปล่อยนั้นขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายประการ เช่น ขนาดที่เริ่มปล่อย ระยะเวลาการเลี้ยง และขนาดที่ตลาดต้องการ อาหาร การให้อาหาร และการจัดการระหว่างการเลี้ยง การเลี้ยงปลาในกระชังเป็นรูปแบบการเลี้ยงปลาแบบพัฒนา (intensive) หรือกึ่งพัฒนา (semi - intensive) เน้นการให้อาหารเพื่อเร่งผลผลิตและการเจริญเติบโต จึงควรจะใช้อาหารที่มีคุณค่าทางโปรตีนค่อนข้างสูงและเหมาะสมกับความต้องการของปลาแต่ละขนาด ปัจจัยที่สำคัญควรนำมาประกอบการพิจารณาเกี่ยวกับการให้อาหารปลาในกระชัง ได้แก่ ระดับโปรตีนในอาหาร ปริมาณโปรตีนที่เหมาะสมสำหรับการเจริญเติบโตของปลาดุกรัสเซียที่มีอายุต่างกันจะแตกต่างกัน สำหรับลูกปลาวัยอ่อน (Juvenile) และลูกปลานิ้ว (Fingerling) จะต้องการอาหารทีมีระดับโปรตีนประมาณ 30 - 40 % แต่ในปลาใหญ่จะต้องการอาหารที่มีโปรตีนประมาณ 25 - 30 % เวลาในการให้อาหาร เนื่องจากปลาดุกรัสเซียจะกินอาหารได้ดี เมื่อมีปริมาณออกซิเจนละลายในน้ำสูงจะเป็นช่วงเวลากลางวัน ดังนั้นส่วนใหญ่จึงควรให้อาหารในช่วงเวลาดังกล่าว ความถี่ในการให้อาหาร ปลาดุกรัสเซียเป็นปลาที่ไม่มีกระเพาะอาหารจริงจึงสามารถกินอาหารได้ทีละน้อยและมีการย่อยอาหารที่ค่อนข้างช้า การให้อาหารครั้งละมากๆ จะทำให้สูญเสียอาหารและก่อให้เกิดสภาวะน้ำเสียได้ ดังนั้น เพื่อให้สามารถใช้ประโยชน์จากอาหารเม็ดสูงสุดจึงควรให้อาหารแต่น้อย แต่ให้บ่อยๆ โดยความถี่ที่เหมาะสมคือ ปริมาร 4 - 5 ครั้งต่อวัน จะช่วยเร่งการเจริญเติบโตและทำให้ผลตอบแทนในเชิงเศรษฐศาสตร์สูงสุด อัตราการให้อาหาร ปริมาณอาหารที่ให้ปลากินจะขึ้นอยู่กับขนาดของปลาและอุณหภูมิ หากอุณหภูมิของน้ำสูงขึ้นจะทำให้อัตราการกินอาหารของปลาสูงขึ้นตามไปด้วย อุณหภูมิน้ำที่เหมาะสมประมาณ 25 - 30 องศาเซลเซียล ควรให้อาหาร 20 % ของน้ำหนักปลา สำหรับปลาขนาดเล็กในปลารุ่นอัตราการให้อาหารจะลดลงเหลือ ประมาณ 6 - 8 % และสำหรับปลาใหญ่ อัตราการให้อาหารจะเหลือเพียง ประมาณ 3 - 4 % การจัดการระหว่างการเลี้ยง ควรมีการตรวจสอบกระชังเพื่อซ่อมแซมส่วนที่ชำรุดทุกๆ สัปดาห์ รวมทั้งสุ่มปลามาตรวจสอบน้ำหนักเพื่อปรับปริมาณอาหารที่ให้ได้อย่างเหมาะสม การเก็บเกี่ยวผลผลิต การเก็บเกี่ยวผลผลิตเป็นข้อควรคำนึงอีกประการหนึ่งสำหรับการจัดการการเก็บเกี่ยวผลผลิต จากการเลี้ยงในกระชังควรคำนึงถึงขนาดของปลาและปริมาณที่ตลาดต้องการ การสร้างกระชัง รูปร่างและขนาดของกระชัง กระชังที่ใช้เลี้ยงปลาดุกรัสเซียมีรูปทรงต่างๆ เช่น รูปสี่เหลี่ยมจตุรัส รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า และรูปกลม เป็นต้น รูปร่างของกระชังจะมีผลต่อการไหลผ่านของกระแสน้ำที่ถ่ายเทเข้าไปในกระชัง เมื่อเปรียบเทียบปริมาณเท่ากันๆ กระชังรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสจะมีพื้นที่ผิวที่ให้กระแสน้ำไหลผ่านได้มากกว่ากระชังรูปแบบอื่นๆ ขนาดกระชัง ที่ใช้เลี้ยงจะแตกต่างกันไป ซึ่งขึ้นอยู่กับความต้องการของเกษตรกร ขนาดพื้นที่ที่แขวนกระชัง ตลอดจนปัจจัยต่างๆ ดังกล่าวข้างต้น ขนาดกระชังที่นิยมใช้โดยทั่วไป คือ กระชังสี่เหลี่ยม ขนาด 1.2 x 1.2 x 2.5 หรือ 2 x 2 x 2.5 เมตร กระชังสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาด 4 x 2 x 2.5 เมตร สำหรับต้นทุนค่าสร้างกระชัง ต้นทุนต่อปริมาตรจะลดลงเมื่อขนาดของกระชังใหญ่ขึ้นแต่ผลผลิตต่อปริมาตรก็จะลดลงด้วย เนื่องจากกระชังใหญ่กระแสน้ำไม่สามารถหมุนเวียนได้ทั่วถึง ความลึกของกระชังส่วนใหญ่ที่ใช้จะมีความลึก 2.5 เมตร เมื่อลอยกระชังจะให้กระชังจมอยู่ในน้ำเพียง 2.2 เมตร โดยมีส่วนที่โผล่พ้นน้ำประมาณ 20 - 25 เซนติเมตร ความลึกของกระชังมีผลต่อการเจริญเติบโตของปลาเช่นกัน ปกติระดับออกซิเจนทีละลายในน้ำจะสูงบริเวณผิวน้ำ ที่ระดับความลึกประมาณ 2 เมตร ปริมาณออกศิเจนที่ละลายในน้ำเพียง 50 - 70 % ของปริมาณออกซิเจนที่ผิวน้ำเท่านั้น ดังนั้น การสร้างกระชังไม่ควรให้ลึกเกินไป เนื่องจากปลาจะหนีลงไปอยู่ในส่วนที่ลึกซึ่งมีปริมาณออกซิเจนต่ำ และจะส่งผลให้ปลากินอาหารน้อยมีอัตราการเจริญเติบโตต่ำ ดังนั้นขนาดกระชังขึ้นอยู่กับปัจจัยเป็นองค์ประกอบของการเลี้ยงซึ่งผู้เลี้ยงต้องตัดสินใจโดยพิจารณาถึงจำนวนปลาที่ปล่อย กระชังขนาดเล็กที่ปล่อยหนาแน่น ให้ผลผลิตต่อปริมาตรสูง ดูแลจัดการง่าย แต่ผลผลิตรวมอาจต่ำกว่ากระชังขนาดใหญ่ดังกล่าวข้างต้น นอกจากนี้บริเวณผนังกระชังด้านบน ควรใช้มุ้งเขียวขนาดความกว้างประมาณ 90 เซนติเมตร ขึงทับไว้เพื่อป้องกันมิให้อาหารหลุดออกนอกกระชังในระหว่างการให้อาหาร การแขงนกระชัง ควรแขวนให้กระชังห่างกันไม่น้อยกว่า 3 เมตร เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดมุมอับระหว่างกระชังเป็นการลดสภาวะการขาดออกซิเจน หากจำเป็นควรใช้เครื่องตีน้ำหรือเครื่องสูบน้ำช่วยให้เกิดการหมุนเวียนถ่ายเทน้ำภายในกระชังและเป็นการเพิ่มปริมาณออกซิเจนในน้ำอีกด้วย ขนาดตาอวนที่ใช้ทำกระชัง จะต้องเหมาะสมกับขนาดปลาที่เลี้ยงเพื่อป้องกันไม่ให้ปลาหนีลอดไปได้ อีกทั้งจะต้องให้กระแสน้ำไหลผ่านได้สะดวกและป้องกันไม่ให้ปลาขนาดเล็กภายนอกเข้ามารบกวนและแย่งอาหารปลาในกระชัง ขนาดตาอวนที่ใช้ไม่ควรมีขนาดเล็กกว่า 1.5 x 1.5 เซนติเมตร เพื่อไม่ให้ขัดขวางการหมุนเวียนของน้ำผ่านกระชัง กระชังควรมีฝาปิดซึ่งอาจทำจากเนื้ออวนชนิดเดียวกับที่ใช้กระชังหรือวัสดุที่เหมาะสม ทั้งนี้เพื่อป้องกันปลาที่เลี้ยงหนีออกและปลาจากภายนอกกระโดดเข้ากระชัง รวมทั้งป้องกันไม่ให้นกมากินปลาที่เลี้ยง
เพื่อศึกษา สัมภาษณ์ การเลี้ยงปลาดุกต่าง ๆ จากชาวบ้านหมู่บ้านใกล้เคียง และจากอินเทอร์เน็ต นักเรียน มีความรู้เรื่องการเลี้ยงปลาดุกต่าง ๆนักเรียนรู้จักความพอเพียงในการดารงชีวิตประจาวัน นักเรียนในโรงเรียนมีอาหารไว้รับประทาน ได้ลงมือปฏิบัติจริง ได้รวบรวมข้อมูล เรื่องการเลี้ยงปลาดุกต่าง ๆ จัดทาขึ้นเป็นโครงงานการงานอาชีพ ทำให้ทราบเรื่อง การเลี้ยงปลาดุกต่าง ๆ ตามแนวพระราชดำรัส รู้เรื่องเกษตรต่าง ๆ มากมาย และมีความ รักในแผนเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียน และปฏิบัติตามโครงการเด็กไทยแก้มใส อย่างมีความสุขสนุกสนาน
สหกรณ์นักเรียนจึงเป็นกิจกรรมของนักเรียน จัดตั้งขึ้นและดำเนินการโดยนักเรียน และมีนักเรียนเป็นสมาชิก ในการจัดสหกรณ์นักเรียน จะมีครูที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์เพื่อช่วยเหลือ ให้คำแนะนำเด็กนักเรียนในการดำเนินงาน ตามขั้นตอนตังนี้
ขั้นตอนที่ 1 รับสมัครเป็นสมาชิก ด้วยความสมัครใจ และเปิดกว้างสำหรับนักเรียนทุกคนการสมัครสมาชิกสหกรณ์นักเรียน จะเก็บค่าหุ้น
ขั้นตอนที่ 2 ประชุมใหญ่สามัญประจำปี เพื่อเลือกตั้งคณะกรรมการสหกรณ์นักเรียนมาดำเนินกิจการสหกรณ์ คณะกรรมการสหกรณ์นักเรียนมีวาระในการทำงาน 1 ปีการศึกษา หรือบางแห่งอาจทำได้บ่อยขึ้นเป็น 1 ภาคการศึกษา
ขั้นตอนที่ 3 ประชุมคณะกรรมการสหกรณ์นักเรียน เดือนละครั้งเพื่อวางแผนการปฏิบัติงาน การซื้อ-ขาย การตลาด ฯลฯ
ขั้นตอนที่ 4 ดำเนินการ มีกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนให้นักเรียนทดลองปฏิบัติ 3 กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมร้านค้า กิจกรรมออมทรัพย์และกิจกรรมส่งเสริมการผลิต
ขั้นตอนที่ 5 การทำบัญชีประจำวัน มีทั้งบัญชีรับ – จ่าย บัญชีสินค้า บัญชีสมาชิก ฯลฯ สรุปบัญชี ผลกำไร/ขาดทุน และนำข้อมูลมาวางแผนต่อไป
ขั้นตอนที่ 6 สรุปผลการดำเนินงานตามวาระของคณะกรรมการสหกรณ์นักเรียน จัดสรรผลกำไร เป็นเงินปันผลให้แก่สมาชิก บางส่วนสะสมไว้เป็นเงินทุนของสหกรณ์และเป็นเงินบริจาคสำหรับทำกิจกรรมสาธารณประโยชน์
สหกรณ์นักเรียน นักเรียนมีพัฒนาการดังนี้ 1. เพื่อปลูกฝังอุดมการณ์ คุณธรรมในการดำรงชีวิตร่วมกันในสังคม โดยกระบวนการสหกรณ์ 2. ฝึกฝนนักเรียน ให้มีความรู้และทักษะที่จำเป็นในการทำงานสหกรณ์ เช่น การทำงานร่วมกัน การประชุม การทำบัญชี การค้าขาย เป็นต้น นอกจากนี้กิจกรรมสหกรณ์นักเรียนยังเป็นประโยชน์ในการเชื่อมโยงกับการพัฒนาใน ด้านอื่นๆ ทำให้เกิดการบูรณาการกิจกรมต่างๆ สมบูรณ์ขึ้น เพื่อสนองโครงการเด็กไทยแก้มใส
กำหนดวันเก็บเกี่ยว เมื่อข้าวเริ่มออกดอก หมั่นเดินสำรวจแปลงนา ถ้าข้าวทั้งแปลงออกดอกประมาณ 80% ถือเป็นวันออกดอก นับจากวันออกดอกไปอีก 28-30 วัน เป็นกำหนดวันเก็บเกี่ยวข้าวที่เหมาะสม
ระบายน้ำออกจากแปลง ก่อนถึงกำหนดเก็บเกี่ยว 7-10 วัน ควรระบายน้ำออกจากแปลงนา เพื่อให้ข้าวสุกแก่สม่ำเสมอ แปลงนาแห้งสะดวกในการเก็บเกี่ยวด้วยคนหรือเครื่องเกี่ยวข้าวไม่สกปรก และเปียกน้ำ
เก็บเกี่ยวข้าว เมื่อถึงระยะสุกแก่เหมาะสมคือ 28-30 วันหลังออกดอก ให้ทำการเก็บเกี่ยวความชื้นเมล็ดไม่ควรต่ำกว่า 20% การเก็บเกี่ยวข้าวก่อนหรือหลังจากระยะนี้จะทำให้ข้าวสูญเสียน้ำหนักและคุณภาพมากยิ่งขึ้น
โดยโรงเรียนบ้านโคกหัวช้างได้ใช้รถเกี่ยวข้างขนาดเล็ก เกี่ยวข้าวของโรงเรียน จำนวน 6 ไร่
1 เกิดความร่วมมือระหว่างโรงเรียน ชุมชน ผู้ปกครอง 2. เกิดการเรียนรู้จริง ปฏิบัติจริง 3. ลดระยะเวลาในการเก็บเกี่ยว
จัดทำหลักสูตร • ทำ Swot ชุมชนสุขภาพ • การจัดความรู้ด้านสุขภาพ/และการป้องกัน “ลดหวาน มัน เค็ม อัดลม” • การจัดทำเกณฑ์มาตรฐานครูแก้มใสต้นแบบ
-ครู ผู้ปกครอง ชุมชนและหน่วยงานรับทราบแนวทางปฏิบัติของโครงการเด็กไทยแก้มใส
-ครู ผู้ปกครอง ชุมชน และหน่วยงานร่วมจัดทำหลักสูตร จำนวน ๙๐ คน
-หน่วยงานสนับสนุน
-ครู ผู้ปกครอง ชุมชน และหน่วยงานเข้าใจนโยบายและร่วมจัดทำแผนปฏิบัติงานโครงการเด็กไทยแก้มใส
-ครู ผู้ปกครอง ชุมชน และหน่วยงาน ร่วมจัดทำหลักสูตรแก้มใสใส่ใจลูก และทำ SWOT ชุมชนสุขภาพ
สร้างเครือข่ายชุมชนแก้มใส