ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

โรงเรียนชุมชนแก้งคำวิทยา


“ โรงเรียนชุมชนแก้งคำวิทยา ”

หมู่1 ตำบลนิคม อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์

หัวหน้าโครงการ
นายทวิทชัย ราวะรินทร์

ชื่อโครงการ โรงเรียนชุมชนแก้งคำวิทยา

ที่อยู่ หมู่1 ตำบลนิคม อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ จังหวัด กาฬสินธุ์

รหัสโครงการ ศรร.1312-047 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-อ.1

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2016 ถึง 30 เมษายน 2017


กิตติกรรมประกาศ

"โรงเรียนชุมชนแก้งคำวิทยา จังหวัดกาฬสินธุ์" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่1 ตำบลนิคม อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนชุมชนแก้งคำวิทยา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนชุมชนแก้งคำวิทยา



บทคัดย่อ

โครงการ " โรงเรียนชุมชนแก้งคำวิทยา " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่1 ตำบลนิคม อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ รหัสโครงการ ศรร.1312-047 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนชุมชนแก้งคำวิทยา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 394 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน ๘ องค์ประกอบคือ ๑) การเกษตรในโรงเรียน ๒) สหกรณ์นักเรียน ๓) การจัดการบริหารของโรงเรียน ๔) การติดตามภาวะโภชนาการ ๕) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน ๖) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ ๗) การจัดบริการสุขภาพ และ๘) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณสำคัญใน ๔ ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธิศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและ พละศึกษา มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ ๑ (พ.ศ.๒๕๕๗-๒๕๕๘) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น ๕๔๔ โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ ๖-๑๒ ปี จำนวน ๑,๔๙๒,๐๘๙ คน ใน ๗๖ จังหวัด ของกรมอนามัย ปี ๒๕๕๕ พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ ๑๒.๕ เตี้ยร้อยละ ๑๖.๘ และระบุว่านักเรียนอายุ ๖-๑๒ ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ ๕๑.๖ ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี ๒๕๔๔พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน ๑.๒ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน ๒๒๓,๒๘๘ คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน ๕๙๐,๐๘๗ คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน ๒๕๘,๑๔๙ คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ๑) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ ๖๐ กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ ๔๐๐ กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ ๖๗.๔ นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย ๕-๗ ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย ๓ ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง ๑๐ ช้อนชา และ๒) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น ++++++++++++++(แทรก) จากสถานการณ์ของโรงเรียนชุมชนแก้งคำวิทยา ในช่วงปีการศึกษา ๒๕๕๘ พบว่า มีนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเสี่ยงได้แก่ ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน ร้อยละ.......ภาวะผอม ร้อยละ........และ ภาวะเตี้ย ร้อยละ............ และยังมีการผลิตการเกษตรเพื่อเป็นอาหารกลางวันได้เพียง .............................รวมทั้งกิจกรรมการจัดบริการอาหารกลางวันยังไม่ได้สัดส่วนที่เหมาะสมตามมาตรฐานโภชนาการของแต่ละกลุ่มวัย
+++++++++++++++ ทั้งนี้ การเรียนรู้ในการดำเนินงานโครงการเด็กไทยแก้มใส จากปีที่ ๑ เมื่อปี ๒๕๕๘ โรงเรียนชุมชนแก้งคำวิทยา ได้มีการดำเนินงานที่มีผลสำเร็จมาระดับหนึ่งในด้าน .............................จึงมีความตั้งใจที่จะได้เข้าร่วมการพัฒนาให้โรงเรียนเป็นศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ ขึ้น เป็นปีที่ ๒ เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อแก้ปัญหาให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดีขึ้น มีสุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ขยายผลต่อเนื่องไปยังโรงเรียนข้างเคียงและ กระตุ้นให้ชุมชนมีส่วนร่วม ในระยะยาว

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานผักผลไม้ที่ปลอดภัย และหลากหลายเพิ่มขึ้นในมื้อกลางวัน ที่เหมาะสมตามวัย โดยใช้เมนู Thai School Lunch
  2. เพื่อพัฒนาภาวะโภชนาการของนักเรียนให้มีการเจริญเติบโตสมวัย โดยมี - ภาวะเริ่มอ้วน และอ้วน ไม่เกิน ๓ % - ภาวะค่อนข้างผอมและผอม ไม่เกิน ๒ % - ภาวะค่อนข้างเตี้ย และเตี้ย ไม่เกิน ๒ %
  3. เพื่อพัฒนาโรงเรียนเป็นศูนย์เรียนรู้ของชุมชนและโรงเรียนเครือข่ายด้านพัฒนาทักษะชีวิตทั้งในและนอกห้องเรียน โดยการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้องในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.นักเรียนมีภาวะโภชนาการสมวัย 2.โรงเรียนมีรูปแบบลดปัญหาภาวะทุพโภชนาการ 3.ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการจัดอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ และดูแลสุขภาพของเด็ก 4.ชุมชนมีส่วนร่วมในการส่งผลผลิตเกษตรสู่อาหารกลางวันโรงเรียน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. การจัดบริการอาหารกลางวัน

    วันที่ 16 พฤษภาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -จัดเมนูอาหารในโปรแกรม Thai School Lunch -จัดหาซื้อวัตถุดิบในการทำอาหารบริการแก่นักเรียน -จัดทำอาหารบริการให้แก่นักเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. นักเรียนโรงเรียนชุมชนแก้งคำวิทยามีภาวะโภชนาการที่ดี
    2. นักเรียนโรงเรียนชุมชนแก้งคำวิทยารู้วิธีเลือกอาหารที่ดีและมีประโยชน์ต่อสุขภาพ

     

    178 189

    2. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการและสมรรถภาพทางกายนักเรียน

    วันที่ 16 พฤษภาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.เฝ้าระวังภาวะโภชนาการทางกายนักเรียน ชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูง 2.เฝ้าระวังภาวะสุขภาพนักเรียน 3.บริการส่งเสริมทันตสุขภาพให้แก่นักเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต : 1. นักเรียนร้อยละ 100 ได้รับการคัดกรอง และร่วมกิจกรรมส่งเสริมสมรรถภาพทางกายและการแก้ปัญหาภาวะภาวะโภชนาการ             2. นักเรียนที่มีภาวะเริ่มอ้วน และอ้วน ลดลง  นักเรียนร้อยละ 78 มีน้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน             3. นักเรียนได้รับบริการส่งเสริมทันตสุขภาพให้แก่นักเรียน

    ผลลัพธ์ : 1. โรงเรียนมีระบบตรวจสอบ คัดกรองด้านการเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการและสมรรถภาพทางกายนักเรียน
                2. นักเรียนได้รับการส่งเสริมและแก้ปัญหาเด็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์             3. นักเรียนได้รับการส่งเสริมและแก้ปัญหาทันตสุขภาพให้แก่นักเรียน             4. นักเรียนมีสมรรถภาพทางกายที่สมบูรณ์แข็งแรง

     

    178 364

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานผักผลไม้ที่ปลอดภัย และหลากหลายเพิ่มขึ้นในมื้อกลางวัน ที่เหมาะสมตามวัย โดยใช้เมนู Thai School Lunch
    ตัวชี้วัด : นักเรียน ร้อยละ 100 ได้รับประทานผักผลไม้ที่ปลอดภัย และหลากหลายเพิ่มขึ้น ในมื้อกลางวัน

     

    2 เพื่อพัฒนาภาวะโภชนาการของนักเรียนให้มีการเจริญเติบโตสมวัย โดยมี - ภาวะเริ่มอ้วน และอ้วน ไม่เกิน ๓ % - ภาวะค่อนข้างผอมและผอม ไม่เกิน ๒ % - ภาวะค่อนข้างเตี้ย และเตี้ย ไม่เกิน ๒ %
    ตัวชี้วัด : นักเรียนมีภาวะโภชนาการเจริญเติบโตสมวัย มี - ภาวะเริ่มอ้วน และอ้วน ไม่เกิน ๓ % - ภาวะค่อนข้างผอมและผอม ไม่เกิน ๒ % - ภาวะค่อนข้างเตี้ย และเตี้ย ไม่เกิน ๒ %

     

    3 เพื่อพัฒนาโรงเรียนเป็นศูนย์เรียนรู้ของชุมชนและโรงเรียนเครือข่ายด้านพัฒนาทักษะชีวิตทั้งในและนอกห้องเรียน โดยการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้องในชุมชน
    ตัวชี้วัด : นักเรียน/บุคลากร/ภาคี/ เครือข่าย/ชุมชนและผู้ปกครองร้อยละ ๘๐ ได้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านพัฒนาทักษะชีวิตของศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานผักผลไม้ที่ปลอดภัย และหลากหลายเพิ่มขึ้นในมื้อกลางวัน ที่เหมาะสมตามวัย โดยใช้เมนู Thai School Lunch (2) เพื่อพัฒนาภาวะโภชนาการของนักเรียนให้มีการเจริญเติบโตสมวัย โดยมี - ภาวะเริ่มอ้วน และอ้วน ไม่เกิน ๓ %
    - ภาวะค่อนข้างผอมและผอม ไม่เกิน ๒ % - ภาวะค่อนข้างเตี้ย และเตี้ย ไม่เกิน ๒ % (3) เพื่อพัฒนาโรงเรียนเป็นศูนย์เรียนรู้ของชุมชนและโรงเรียนเครือข่ายด้านพัฒนาทักษะชีวิตทั้งในและนอกห้องเรียน โดยการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้องในชุมชน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โรงเรียนชุมชนแก้งคำวิทยา จังหวัด กาฬสินธุ์

    รหัสโครงการ ศรร.1312-047

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายทวิทชัย ราวะรินทร์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด