แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อลดปัญหาโภชนาการและสุขภาพนักเรียนและกำหนดแนวทางในการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : 1.ภาวะอ้วน ผอม ไม่เกิน ไม่เกิน 7 % (ทั้งนี้ดูตามเกณฑ์ของโรงเรียนเป็นหลัก) ภาวะเตี้ย ไม่เกิน 7 % 2.เด็กมีการปรับพฤติกรรมการกิน โดยกินผักและผลไม้ เฉลี่ยในมื้อกลางวันประมาณ 40-100 กรัม (อาจดูตามเกณฑ์ของแต่ละโรงเรียน ที่แยกเป็น ช่วงอนุบาล และ ช่วงปฐม) 3.มีการนำโปรแกรม Thai school lunch มาใช้ในการกำหนดเมนูอาหารกลางวัน 4.มีกระบวนการติดตาม ประเมินสุขภาวะของนักเรียน โดยเด็กและเยาวชน ครู และผู้ปกครอง ร่วมกัน

 

 

1.ภาวะอ้วน ผอม ไม่เกิน ไม่เกิน 7 % (ทั้งนี้ดูตามเกณฑ์ของโรงเรียนเป็นหลัก) ภาวะเตี้ย ไม่เกิน 7 %

2.เด็กมีการปรับพฤติกรรมการกิน โดยกินผักและผลไม้ เฉลี่ยในมื้อกลางวันประมาณ 40-100 กรัม (อาจดูตามเกณฑ์ของแต่ละโรงเรียน ที่แยกเป็น ช่วงอนุบาล และ ช่วงปฐม)

3.มีการนำโปรแกรม Thai school lunch มาใช้ในการกำหนดเมนูอาหารกลางวัน

4.มีกระบวนการติดตาม ประเมินสุขภาวะของนักเรียน โดยเด็กและเยาวชน ครู และผู้ปกครอง ร่วมกัน

2 เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ทักษะ ในด้านการเกษตร สหกรณ์ โภชณาการและสุขภาพ มีสุขภาพและพัฒนาการด้านร่างกายเติบโตสมวัย มีอารมณ์และสติปัญญาที่ดีขึ้น มีทักษะชีวิต ที่นำไปใช้ในชีวิตจริงได้
ตัวชี้วัด : 1. นักเรียน มีความรู้ ทักษะ ด้านเกษตร สหกรณ์ โภชนาการและสุขภาพ ระดับดี - ดีมาก ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 2. จัดทำรายงานการเจริญเติบโตและสมรรถภาพทางกายของนักเรียนทุกคนภาคเรียนละ 1 ครั้ง 3.เด็กมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินผักและผลไม้เพิ่มขึ้น เฉลี่ยประมาณ 40-100 กรัม ในมื้ออาหารเย็น และอาหารว่าง (ติตตามผลโดยครูและผู้ปกครอง) 4.นักเรียนประมาณ 80% มีพฤติกรรมสุขภาวะที่ดี ได้แก่ การล้างมือก่อนรับประทานอาหาร มีการแปรงฟันหลังทานอาหาร รวมทั้งแปรงฟันก่อนเข้านอน และมีการคัดแยกขยะก่อนทิ้งลงถัง 5.ทางโรงเรียนมีการจัดกิจกรรมออกกำลังกาย ก่อนเลิกเรียน (อาจจะเน้นที่เด็กมีภาวะอ้วนเป็นพิเศษ)

 

 

นักเรียน มีความรู้ ทักษะ ด้านเกษตร สหกรณ์ โภชนาการและสุขภาพ ระดับดี - ดีมาก ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

3 เพื่อขยายผลโครงการสูชุมชนและสร้างเครือข่าย โดยได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครอง ชุมชนและ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สร้างความยั่งยืนของโครงการ
ตัวชี้วัด : 1. ชุมชนมีความตระหนักมีความตื่นตัวในการจัดการด้านอาหาร โภชนาการและสุขภาพนักเรียน 2. จำนวนกิจกรรมที่มีส่วนร่วมของครู นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชนเพิ่มขึ้น 40% 3.โรงเรียนมีระดับความสำเร็จในด้านการเชื่อมโยงอาหารและสุขภาพ อยู่ในระดับ 4 4.หน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้การสนับสนุนองค์ความรู้ วัสดุอุกรณ์และกระบวนการทำงาน ทำให้โครงการเกิดความยั่งยืน

 

 

โรงเรียนได้ประชาสัมพันธ์ สร้างความตระหนักผ่านหลักสูตรสื่อมวลชนศึกษา