ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 26 (บ้านหนองหิน)


“ โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 26 (บ้านหนองหิน) ”

เลขที่ 100 หมู่ที 4 ตำบลถาวร อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดบุรีรัมย์

หัวหน้าโครงการ
นายสนอง แก้วอำไพ

ชื่อโครงการ โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 26 (บ้านหนองหิน)

ที่อยู่ เลขที่ 100 หมู่ที 4 ตำบลถาวร อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัด บุรีรัมย์

รหัสโครงการ ศรร.1312-065 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2265-อ.19

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2016 ถึง 30 เมษายน 2017


กิตติกรรมประกาศ

"โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 26 (บ้านหนองหิน) จังหวัดบุรีรัมย์" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน เลขที่ 100 หมู่ที 4 ตำบลถาวร อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดบุรีรัมย์

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 26 (บ้านหนองหิน) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 26 (บ้านหนองหิน)



บทคัดย่อ

โครงการ " โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 26 (บ้านหนองหิน) " ดำเนินการในพื้นที่ เลขที่ 100 หมู่ที 4 ตำบลถาวร อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดบุรีรัมย์ รหัสโครงการ ศรร.1312-065 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 26 (บ้านหนองหิน) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 255 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เกิดจากความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานภาคี ได้แก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ กระทรวงมหาดไทย ภายใต้การสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนโรงเรียนในการน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ การบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปปฏิบัติในการพัฒนาด้านเกษตร อาหาร โภชนาการและสุขภาพเด็กในโรงเรียน โดยน้อมนำกรอบแนวคิดและองค์ประกอบของการพัฒนาจากบทเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดำริใน 8 องค์ประกอบคือ 1) การเกษตรในโรงเรียน 2) สหกรณ์นักเรียน 3) การจัดการบริหารของโรงเรียน 4) การติดตามภาวะโภชนาการ 5) การพัฒนาสุขนิสัยของนักเรียน 6) การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ 7) การจัดบริการสุขภาพ และ8) การจัดการเรียนรู้ : เกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เด็กนักเรียนเกิดคุณลักษณะสำคัญใน 4 ประการตามแนวพระราชดำริ คือ มีพุทธศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและมีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งเป็นการพัฒนาที่มีเด็กเป็นศูนย์กลาง โดยเน้นให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง (Learning by doing) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะและคุณลักษณะที่เหมาะสม สามารถนำไปใช้ได้ในชีวิตจริงและพึ่งตนเองได้ โดยโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ ต้องมีการบริหารจัดการแผนงานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ บริบทของชุมชน และวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการในปีที่ 1 (พ.ศ.2557-2558) มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 544 โรงเรียนจากทั่วประเทศ
สถานการณ์ภาวะทุพโภชนาการของประเทศไทยจากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-12 ปี จำนวน 1,492,089 คน ใน 76 จังหวัด ของกรมอนามัย ปี 2555 พบว่านักเรียนมีภาวะอ้วน ร้อยละ 12.5 เตี้ยร้อยละ 16.8 และระบุว่านักเรียนอายุ 6-12 ปี ที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน มีเพียง ร้อยละ 51.6 ซึ่งสอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ปี 2544 พบว่า เด็กไทยสัดส่วนไม่ได้มาตรฐาน จำนวน 1.2ล้านคน จำแนกเป็นน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 223,288 คน น้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 590,087 คน และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 258,149 คนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและคุณภาพชีวิตของเด็กไทยหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ1) การพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมตามวัย โดยเฉพาะการบริโภคผักน้อยกว่าปริมาณที่แนะนำ คือเฉลี่ยวันละ 60 กรัม (ปริมาณที่แนะนำวันละ 400 กรัม) กินขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มรสหวานจัดเกือบทุกวันหรือทุกวันสูงถึงร้อยละ 67.4 นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กไทยในช่วงวัยประถมศึกษาจะได้รับน้ำตาลจากเครื่องดื่มเฉลี่ย 5-7 ช้อนชา/วัน และน้ำตาลจากขนมกรุบกรอบเฉลี่ย 3 ช้อนชา/วันซึ่งปริมาณรวมในการบริโภคน้ำตาลของเด็กมากถึง 10 ช้อนชา และ2) สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อสุขภาพผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เป็นไปตามศักยภาพที่ควรจะเป็น จากสถานการณ์ดังกล่าว โรงเรียน ไทยรัฐวิทยา 26 (บ้านหนองหิน) จึงได้เข้าร่วม1 โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ เพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ จากการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจรของโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีมาปฏิบัติในการพัฒนาโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรง ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้นักเรียน ชุมชน ผู้ปกครอง มีความรู้ความเข้าใจและปฎิบัติตนตามหลักโภชนาการและสุขาภิบาลได้
  2. 2. เพื่อพัฒนานักเรียนให้มีความรู้ทักษะและทัศนคติที่ดีในการทำเกษตรในโรงเรียน ไว้ใช้สำหรับโครงการอาหารกลางวันหมุนเวียนและเป็นพื้นฐานในการดำรงชีวิตในอนาคต
  3. 3. เพื่อให้โรงเรียนเป็นศูนย์การเรียนรู้แก่นักเรียนและชุมชนในด้านการเกษตรและโภชนาการ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชมและผู้เกี่ยวข้อง
  4. 4. เพื่อให้นักเรียนทุกคนมีสุขภาพอนามัยแข็งแรงสมบูรณ์ มีภาวะโภชนาการตามวัย สมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.นักเรียนมีพืชผักสวนครัว ผลไม้ ปลอดสารพิษรับประทานอย่างพอเพียง สะอาด ปลอดภัยตามหลักโภชนาการ 2. โรงเรียนมีระบบสุขาภิบาลอาหารที่ถูกสุขลักษณะและการบริการอาหารกลางวันที่เพียงพอตามหลักโภชนาการ 3. นักเรียนมีสุขภาพกาย ใจ สมบูรณ์แข็งแรง มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูงขึ้น
    4. โรงเรียนเป็นศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. เฝ้าระวังการเจริญเติบโตและสมรรถภาพทางกายของนักเรียน

    วันที่ 2 พฤษภาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นักเรียนได้ชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูงภาคเรียนละ 2 ครั้งและมีการวัดสมรรถภาพทางภาคเรียนละ 1 ครั้ง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีจำนวนนักเรียนมีน้ำหนักส่วนสูง อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานเพิ่มขึ้น

     

    240 0

    2. ประชุมผู้ปกครอง

    วันที่ 9 พฤษภาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมชี้แจงผู้ปกครองให้ทราบแนวทางในการจัดทำโครงการศูนย์การเรียนรู้เด็กไทยแก้มใส และขอความร่วมมือในการสนับสนุนให้โครงการนี้ประสบความสำเร็จ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้ปกครองทราบแนวทางในการทำโครงการศูนย์การเรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

     

    200 190

    3. ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง

    วันที่ 10 พฤษภาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ได้ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้องให้ทราบถึงโครงการศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทุกฝ่ายรับทราบแนวทางในการทำโครงการ

     

    50 39

    4. อบรมเกี่ยวกับโภชนาการและสุขาภิบาล

    วันที่ 1 มิถุนายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโภชนาการและสุขาภิบาลในโรงเรียน ให้กับนักเรียนและผู้ปกครองนักเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนและผู้ปกครองนักเรียนมีความรู้เรื่องโภชนาการและสุขาภิบาลในโรงเรียน

     

    140 137

    5. อบรมเรียนรู้เมนูผัก

    วันที่ 1 มิถุนายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ได้จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการทำอาหารเมนูผักให้กับนักเรียนโดยนักเรียนได้ฝึกปฎิบัติจริง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนได้รับความรู้เกี่ยวกับการประกอบอาหารเมนูผัก สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

     

    150 135

    6. ป้ายนิเทศให้ความรู้

    วันที่ 1 มิถุนายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำป้ายนิเทศให้ความรู้เกี่ยวกับโภชนาการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดทำป้ายนิเทศให้ความรู้เกี่ยวกับโภชนาการ

     

    265 0

    7. การจัดทำเมนูอาหารกลางวัน ด้วยโปรแกรม Thai School Lunch

    วันที่ 1 มิถุนายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    การจัดทำเมนูอาหารกลางวัน ด้วยโปรแกรม School Lunch

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนได้กินอาหารกลางวัน ที่จัดด้วยโปรแกรม School Lunch  ทำให้ได้สารอาหารครบถ้วน ส่งผลให้มีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์

     

    260 0

    8. การปลูกกล้วย

    วันที่ 22 กันยายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ได้ปลูกกล้วยน้ำว้า พันธุ์ปากช่อง จำนวน 150 ต้น เพื่อเป็นอาหารกลางวันให้กับนักเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้กล้วยน้ำว้า สำหรับเป็นอาหารกลางวันให้กับนักเรียน

     

    310 135

    9. จัดการระบบสหกรณ์นักเรียน

    วันที่ 29 กันยายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำระบบสหกรณ์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีระบบสหกรณ์

     

    255 247

    10. การประชุมการจัดทำรายงานศูนย์การเรียนรู้ งวดที่ 1

    วันที่ 25 ตุลาคม 2016 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ได้ประชุมจัดทำรายงานการเงินโครงการศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้จัดทำรายงานการเงินโครงการศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบเด็กไทยแก้มใส

     

    2 0

    11. จัดระบบสุขาภิบาลและการบริการอาหารกลางวัน สะอาด ปลอดภัย ถูกหลักโภชนาการ

    วันที่ 2 พฤศจิกายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ได้ซื้อแก้วน้ำสำหรับนักเรียน  และอปกรณ์ทำความสะอาดโรงครัวและโรงอาหาร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    โรงครัวและโรงอาหารมีอุปกรณ์ทำความสะอาดเพียงพอ  นักเรียนมีแก้วน้ำใช้ส่วนตัวทุกคน

     

    257 0

    12. จัดบริการสุขภาพแก่นักเรียน

    วันที่ 2 พฤศจิกายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ซื้อวัสดุประดับตกแต่งห้องพยาบาล  ซื้อตาชั่งที่ได้มาตรฐาน และ จัดบริการสุขภาพนักเรียน โดยมีเจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาลมาให้บริการเทอมละ 2-3 ครั้ง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนมีสุขภาพกายสุขภาพจิตที่ดี

     

    240 0

    13. เรียนรู้ระบบสหกรณ์

    วันที่ 2 พฤศจิกายน 2016 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับระบบสหกรณ์ให้กับนักเรียน จำนวน 139 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับการจัดทำระบบสหกรณ์โรงเรียน

     

    130 149

    14. การปลูกพืชผักสวนครัว

    วันที่ 21 ธันวาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นักเรียนปลูกผักสวนครัวที่โรงเรียน ได้แก่ ผักบุ้ง ผักชี  ผักกาด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนได้บริโภคผักที่ปลูกเอง เป็นผักปลอดสารพิษ  สดๆจากแปลง

     

    307 0

    15. การปลูกมะละกอ

    วันที่ 21 ธันวาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ได้ปลูกมะละกอ จำนวน 50 ต้น พร้อมติดตั้งระบบให้น้ำ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มะละกอ จำนวน 50 ต้น

     

    260 255

    16. การเลี้ยงปลาดุก

    วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ได้เลี้ยงปลาดุก เพื่อใช้ทำอาหารกลางวันให้กับนักเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีปลาดุกไว้ทำอาหารกลางวันให้กับนักเรียน

     

    255 255

    17. การเลี้ยงไก่ไข่

    วันที่ 7 มีนาคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ได้เลี้ยงไก่ไข่จำนวน 50 ตัว

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    โรงเรียนมีไข่ไก่ไว้สำหรับทำอาหารกลางวันให้กับนักเรียน

     

    255 0

    18. ตลาดนัดแก้มใส

    วันที่ 15 มีนาคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ได้จัดแสดงผลงาน ผลผลิตของนักเรียนจากการทำโครงการศูนย์การเรียนรู้เด็กไทยแก้มใส มีการจำหน่ายผลผลิตของนักเรียน และของชุมชุมชน มีการเล่นเกม "แข่งกินผัก" และเกมตอบปัญหาชิงรางวัล
    มีการบริการให้ตำส้มตำกินฟรี  และให้เผยแพร่ความรู้ สรุปผลงานจากการทำโครงการศูนย์การเรียนรู้เด็กไทยแก้มใสแ่ผู้มาร่วมงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนได้จำหน่ายผลผลิตและอาหารที่ตนเป็นผู้จัดทำ  ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน

     

    445 345

    19. จัดทำเอกสาร ข้อมูลสารสนเทศเพื่อการรายงานและสรุปผลโครงการ

    วันที่ 16 มีนาคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สรุปรายงานผลการดำเนินงานให้นักเรียน  ผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้อง ได้รับทราบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    รายงานผลการทำโครงการ

     

    255 255

    20. คืนเงินดอกเบี้ยเพื่อปิดโครงการ

    วันที่ 23 มีนาคม 2017 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คืนเงินดอกเบี้ยเพื่อปิดโครงการ

     

    2 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้นักเรียน ชุมชน ผู้ปกครอง มีความรู้ความเข้าใจและปฎิบัติตนตามหลักโภชนาการและสุขาภิบาลได้
    ตัวชี้วัด : นักเรียน ผู้ปกครอง นำความรู้ไปปฏิบัติ และ มีสุขภาพแข็งแรง มีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์

    1.ภาวะอ้วน ผอมไม่เกิน 7 %ภาวะเตี้ย ไม่เกิน 7 %

    2.เด็กมีการปรับพฤติกรรมการกิน โดยกินผักและผลไม้ เฉลี่ยในมื้อกลางวันประมาณ 40-100 กรัม (อาจดูตามเกณฑ์ของแต่ละโรงเรียน ที่แยกเป็น ช่วงอนุบาล และ ช่วงปฐม)

    3.มีการนำโปรแกรม Thai school lunch มาใช้ในการกำหนดเมนูอาหารกลางวัน

    4.มีกระบวนการติดตาม ประเมินสุขภาวะของนักเรียน โดยเด็กและเยาวชน ครู และผู้ปกครอง ร่วมกัน

    2 2. เพื่อพัฒนานักเรียนให้มีความรู้ทักษะและทัศนคติที่ดีในการทำเกษตรในโรงเรียน ไว้ใช้สำหรับโครงการอาหารกลางวันหมุนเวียนและเป็นพื้นฐานในการดำรงชีวิตในอนาคต
    ตัวชี้วัด : โรงเรียนมีผลผลิตทางการเกษตร ไว้ใช้สำหรับโครงการอาหารกลางวัน

    โรงเรียนมีผลผลิตทางการเกษตรไว้ใช้สำหรับโครงการอาหารกลางวันร้อยละ 80

    3 3. เพื่อให้โรงเรียนเป็นศูนย์การเรียนรู้แก่นักเรียนและชุมชนในด้านการเกษตรและโภชนาการ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชมและผู้เกี่ยวข้อง
    ตัวชี้วัด : โรงเรียนเป็นศูนย์การเรียนรู้แก่นักเรียนและชุมชนในด้านการเกษตรและโภชนาการ

    โรงเรียนเป็นศูนย์การเรียนรู้แก่นักเรียนและชุมชนในด้านการเกษตรและโภชนาการโดยชุมชนเข้าเรียนรู้และนำไปใช้ในการดำรงชีวิตได้

    4 4. เพื่อให้นักเรียนทุกคนมีสุขภาพอนามัยแข็งแรงสมบูรณ์ มีภาวะโภชนาการตามวัย สมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์
    ตัวชี้วัด : นักเรียนทุกคนมีสุขภาพอนามัยแข็งแรงสมบูรณ์ มีภาวะโภชนาการตามวัย สมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์

    นักเรียนร้อยละ90 มีสุขภาพอนามัยแข็งแรงสมบูรณ์ มีภาวะโภชนาการตามวัย สมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์สุขภาวะนักเรียน

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้นักเรียน ชุมชน ผู้ปกครอง มีความรู้ความเข้าใจและปฎิบัติตนตามหลักโภชนาการและสุขาภิบาลได้ (2) 2. เพื่อพัฒนานักเรียนให้มีความรู้ทักษะและทัศนคติที่ดีในการทำเกษตรในโรงเรียน ไว้ใช้สำหรับโครงการอาหารกลางวันหมุนเวียนและเป็นพื้นฐานในการดำรงชีวิตในอนาคต (3) 3. เพื่อให้โรงเรียนเป็นศูนย์การเรียนรู้แก่นักเรียนและชุมชนในด้านการเกษตรและโภชนาการ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชมและผู้เกี่ยวข้อง (4) 4. เพื่อให้นักเรียนทุกคนมีสุขภาพอนามัยแข็งแรงสมบูรณ์ มีภาวะโภชนาการตามวัย สมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

    ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 26 (บ้านหนองหิน)

    รหัสโครงการ ศรร.1312-065 รหัสสัญญา 58-00-2265-อ.19 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

    วันที่เริ่มประเมิน

    1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

    (ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    1. การเกษตรในโรงเรียน
    1. การปลูกกล้วย
    2. การเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์
    3. การทำปุ๋ยจากมูลไส้เดือน
    4. ดินปลูกภูเขาไฟ
    1. การปลูกกล้วย

    - การปลูกกล้วยพันธุ์ปากช่อง50มีคุณสมบัติเด่นคือได้ ให้ผลดกและลูกใหญ่สามารถขายหน่อได้ด้วย เหมาะกับดินในบริเวณโรงเรียน 2. การเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์ -สามารถควบคุมการเจริญเติบโต นักเรียนได้เรียนรู้การเลี้ยงปลาดุก และนำไปใช้ประกอบอาหารกลางวันให้นักเรียนรับประทานได้อย่างเพียงพอ 3. การทำปุ๋ยจากมูลไส้เดือน -เป็นการมูลค่าของปุ๋ยหมักได้แก่มูลวัว ซึ่งเป็นปุ๋ยที่มีคุณภาพเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและนำมาใช้กับพืชผักในโรงเรียน 4. ดินปลูกภูเขาไฟ
    - เป็นดินปลูกที่มีคุณสมบัติพิเศษได้แร่ธาตุจากหินภูเขาไฟที่ได้จากโรงโม่หินมีประโยชน์ต่อการเจริญเติบโตของพืช

    ขยายผลให้นักเรียน ผู้ปกครอง โรงเรียนในเครือข่ายได้นำไปใช้

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    2. สหกรณ์นักเรียน

     

     

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

    จัดทำเมนูอาหารกลางวันตามโปรแกรม Thai school lunch

    มีการหุงข้าว และจัดทำเมนูอาหารกลางวันตามโปรแกรม Thai school lunchจำนวน 10 เมนู หมุนเวียนให้นักเรียนรับประทานทุกคน เพื่อลดปัญหาเตี้ย อ้วน ผอม ในโรงเรียน

    นักเรียน ผู้ปกครองสามารถนำความรู้เรื่อง การจัดอาหารตามโปรแกรม Thai school lunch ไปใช้ที่บ้านได้

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

     

     

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

     

     

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

     

     

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

     

     

     

    แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
    มีไม่มี
    9. อื่น ๆ

     

     

     

    2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

    1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

    หน่วยงานต่างๆให้การสนับสนุนช่วยเหลือ ให้คำปรึกษา ให้ความร่วมมือและเป็นกำลังใจให้งานประสบความสำเร็จ

    2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

    โรงเรียนมีพื้นที่ในการทำเกษตรเพียงพอ

    3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

    มีแผนงานที่ชัดเจนมีระบบบริหารงานที่ชัดเจนโดยประสานความร่วมมือกับผู้เกี่ยวข้อง

    4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

    ครู นักเรียนและแม่ครัวได้เข้าร่วมกิจกรรมต่างๆของโรงเรียน

    5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

    โรงเรียนได้ประสานความร่วมมือกับผู้ปกครองและชุมชนให้เข้ามาจัดกิจกรรมร่วมกัน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ
    • ผักบุ้ง
    • ผักกาดขาว
    • ผักชี แต่ก็ยังไม่เพียงพอ

    ภาพถ่าย

    ควรเพิ่มปริมาณผลผลิตให้มากกว่านี้

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)
    • มีไข่ไก่ประมาณ250 ฟอง/สัปดาห์ เพียงพอกับความต้องการของโรงเรียน

    ภาพถ่าย

    ควรเพิ่มจำนวนไก่ให้มากขึ้น เพื่อให้เหลือจำหน่ายให้กับนักเรียนและชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

    มีการเลี้ยงปลาดุก จำนวน 2,000 ตัว

    ภาพถ่าย

    ควรเพิ่มบ่อเลี้ยงปลา หรือเพิ่มชนิดของปลา และเลี้ยงทีละน้อย หลายๆรุ่น เพื่อทยอยจับรับประทานได้ทั้งปี

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

    นักเรียนส่วนใหญรับประทานอาหารเช้ามาจากบ้าน

     

    สำรวจความต้องการของนักเรียนว่าใครจะรับประทานอาหารเช้าที่โรงเรียนและจัดเมนูอาหารเช้าให้กับนักเรียนที่ต้องการ

    5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

    จัดอาหารด้วยโปรแกรม Thai school lunch

    โปรแกรม Thai school lunch ของโรงเรียน

    ขยายผลไปยังผู้ปกครอง และ โรงเรียนในเครือข่าย

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

    จัดอาหารด้วยโปรแกรม Thai school lunch

    โปรแกรม Thai school lunch ของโรงเรียน

    ขยายผลไปยังผู้ปกครอง และ โรงเรียนในเครือข่าย

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

    จัดอาหารด้วยโปรแกรม Thai school lunch

    โปรแกรม Thai school lunch ของโรงเรียน

    ขยายผลไปยังผู้ปกครอง และ โรงเรียนในเครือข่าย

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

    มีการใช้โปรแกรม Thai School Lunchในการจัดทำเมนูอาหารของโรงเรียนได้อย่างสมบูรณ์

    โปรแกรม Thai school lunch ของโรงเรียน

    ขยายผลไปยังผู้ปกครอง และ โรงเรียนในเครือข่าย

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

    มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง

    ข้อมูลภาวะโภชาการของโรงเรียน

    นำผลการติดตามมาพัฒนานักเรียนเป็นรายบุคคล

    3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

    สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

    ภาวะ2558 1/12558 1/22558 2/12558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 1/22560 2/12560 2/22561 1/12561 1/22561 2/12561 2/22562 1/12562 1/22562 2/12562 2/22563 1/12563 1/22563 2/12563 2/22564 1/12564 2/12564 2/22565 1/12565 1/22565 2/12565 2/22566 1/12566 1/22566 2/12566 2/2
    เตี้ย 6.06 6.06% 4.76 4.76% 5.63 5.63% 3.46 3.46% 8.93 8.93% 9.33 9.33% 3.26 3.26% 3.74 3.74% 13.41 13.41% 3.51 3.51% 5.43 5.43% 6.99 6.99% 2.54 2.54% 2.65 2.65% 2.56 2.56% 2.02 2.02% 4.57 4.57% 3.28 3.28% 2.20 2.20% 4.22 4.22% 5.20 5.20% 1.80 1.80% 2.31 2.31% 2.34 2.34% 2.94 2.94% 2.30 2.30% 2.37 2.37% 2.37 2.37% 4.27 4.27% 2.40 2.40% 2.42 2.42% 4.73 4.73% 3.49 3.49% 3.49 3.49% 2.92 2.92%
    เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 9.09 9.09% 7.79 7.79% 8.66 8.66% 10.39 10.39% 17.86 17.86% 16.44 16.44% 6.05 6.05% 7.48 7.48% 22.35 22.35% 14.04 14.04% 11.41 11.41% 13.99 13.99% 7.61 7.61% 7.94 7.94% 5.13 5.13% 7.58 7.58% 10.29 10.29% 8.74 8.74% 7.14 7.14% 7.23 7.23% 12.14 12.14% 7.19 7.19% 13.29 13.29% 7.02 7.02% 10.00 10.00% 6.90 6.90% 5.33 5.33% 7.10 7.10% 8.54 8.54% 6.59 6.59% 5.45 5.45% 8.88 8.88% 8.14 8.14% 8.72 8.72% 8.19 8.19%
    ผอม 6.93 6.93% 5.63 5.63% 6.49 6.49% 6.49 6.49% 14.73 14.73% 9.78 9.78% 5.58 5.58% 0.94 0.94% 11.06 11.06% 4.41 4.41% 3.40 3.40% 3.80 3.80% 5.08 5.08% 2.12 2.12% 3.30 3.30% 2.02 2.02% 5.00 5.00% 2.75 2.75% 4.40 4.40% 4.19 4.19% 5.78 5.78% 4.05 4.05% 5.20 5.20% 3.53 3.53% 5.92 5.92% 6.32 6.32% 4.17 4.17% 4.73 4.73% 4.88 4.88% 1.84 1.84% 5.42 5.42% 3.57 3.57% 2.33 2.33% 2.55 2.55% 7.65 7.65%
    ผอม+ค่อนข้างผอม 15.15 15.15% 12.99 12.99% 13.85 13.85% 9.96 9.96% 14.73 14.73% 15.56 15.56% 13.49 13.49% 7.04 7.04% 26.63 26.63% 15.69 15.69% 9.71 9.71% 10.87 10.87% 10.66 10.66% 7.94 7.94% 8.24 8.24% 3.03 3.03% 12.86 12.86% 10.44 10.44% 8.81 8.81% 6.59 6.59% 14.45 14.45% 8.09 8.09% 8.09 8.09% 5.29 5.29% 12.43 12.43% 13.22 13.22% 11.31 11.31% 14.20 14.20% 10.98 10.98% 9.20 9.20% 14.46 14.46% 11.90 11.90% 8.14 8.14% 8.28 8.28% 11.76 11.76%
    อ้วน 3.03 3.03% 3.03 3.03% 3.03 3.03% 3.03 3.03% 3.13 3.13% 3.56 3.56% 4.19 4.19% 7.04 7.04% 4.02 4.02% 4.90 4.90% 3.88 3.88% 4.35 4.35% 3.55 3.55% 4.23 4.23% 4.40 4.40% 4.04 4.04% 6.43 6.43% 3.85 3.85% 3.77 3.77% 5.39 5.39% 6.94 6.94% 6.94 6.94% 8.09 8.09% 7.65 7.65% 6.51 6.51% 6.90 6.90% 7.74 7.74% 8.28 8.28% 8.54 8.54% 9.82 9.82% 7.83 7.83% 8.93 8.93% 8.14 8.14% 7.01 7.01% 7.65 7.65%
    เริ่มอ้วน+อ้วน 5.63% 5.63% 3.90% 3.90% 8.66% 8.66% 5.63% 5.63% 3.57% 3.57% 4.44% 4.44% 5.58% 5.58% 11.27% 11.27% 6.03% 6.03% 5.39% 5.39% 5.83% 5.83% 6.52% 6.52% 5.58% 5.58% 6.88% 6.88% 7.14% 7.14% 5.05% 5.05% 12.14% 12.14% 7.69% 7.69% 8.18% 8.18% 7.19% 7.19% 9.83% 9.83% 9.25% 9.25% 10.98% 10.98% 11.18% 11.18% 10.06% 10.06% 13.22% 13.22% 11.90% 11.90% 11.83% 11.83% 12.80% 12.80% 12.27% 12.27% 13.25% 13.25% 14.88% 14.88% 13.37% 13.37% 12.10% 12.10% 12.94% 12.94%
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

    เด็กที่มีภาวะเริ่มอ้วน ในปีการศึกษา 2559 1/1 ร้อยละ 3.57ในปีการศึกษา 2559 2/2ร้อยละ 11.27 เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.70

    รายงานภาวะโภชนาการของโรงเรียน

    ควบคุมปริมาณอาหารให้กับนักเรียนที่มีภาวะเริ่มอ้วนอย่างจิงจัง และเพิ่มการออกกำลังกายให้มากขึ้น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

    การดำเนินการเด็กที่มีภาวะผอมโดยครูประจำชั้นและแม่ครัว ได้ดูแลเพิ่มปริมาณอาหารให้แก่เด็กที่ผอม และค่อนข้างผอม
    ผลที่เกิดขึ้นคือ ในปีการศึกษา 2559 1/1 เด็กผอมมีค่าร้อยละ 14.78 ลดลงเหลือ ร้อยละ 0.94 ในปีการศึกษา 2559 2/2 ลดลงร้อยละ13.79

    รายงานภาวะโภชนาการของนักเรียน

    ให้ความช่วยเหลือนักเรียนที่ยังผอมอยู่โดยดูแลเรื่องอาหารและการออกกำลังกาย

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

    เด็กที่มีภาวะค่อนข้างเตี้ย ในปีการศึกษา 2559 1/1 ร้อยละ 8.93 ในปีการศึกษา 2559 2/2ร้อยละ 3.74 ลดลงร้อยละ 5.19

    รายงานภาวะโภชนาการของโรงเรียน

    ให้นักเรียนออกกำลังกาย เสริมกับการดื่มนมจืด

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

    มีการนำข้อมูลสุขภาวะของโรงเรียนเพื่อช่วยเหลือนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ เป็นรายบุคคล โดยเพิ่มปริมาณอาหารให้เพียงพอและมากขึ้นกว่าปกติ

    ข้อมูลภาวะโภชนาการของโรงเรียน

    จัดกิจกรรมออกกำลังกายให้กับนักเรียนเพิ่มขึ้น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

    ผู้ปกรองเข้าร่วมอบรมเกี่ยวกับภาวะโภชนาการ และนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการแก้ปัญหาของบุตรหลานตนเอง

     

    ติดตามและให้คำแนะนำนักเรียนและผู้ปกครองอย่างต่อเนื่อง เพื่อดูพัฒนาการ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

    หน่วยงานต่างๆให้การสนับสนุนช่วยเหลือ ให้คำปรึกษา ให้ความร่วมมือและเป็นกำลังใจให้งานประสบความสำเร็จ

    หมายเหตุ *

    • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 26 (บ้านหนองหิน) จังหวัด บุรีรัมย์

    รหัสโครงการ ศรร.1312-065

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายสนอง แก้วอำไพ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด