ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 36 (บ้านบะตากา)

รหัสโครงการ ศรร.1312-054 รหัสสัญญา 58-00-2265-อ.8 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน

การเลี้ยงไก่ไข่แบบปล่อย

เดิมโรงเรียนได้มีการเลี้ยงไก่ไข่แบบกรงกักกรงละ 2 ตัว ทำให้เกิดปัญหาคือ แม่ไก่ตาย ทำให้มีปริมาณ ไก่ลดลงเรื่อยทางโรงเรียนจึงคิดหาวิธีเลี้ยงแบบใหม่คือ เลี้ยงแบบปล่อยผลปรากฏว่า ไก่ไม่ตายและออกไข่ฟองโตกว่าเดิม

1.การจัดโรงเรือน ควรจัดพื้นที่ให้พอเหมาะ และเน้นให้มีอาหารจากธรรมชาติเข้ามาเสริมด้วย เช่น เศษผักผลไม้เศษหญ้าหยวกกล้วย 2. ขยายโรงเรือนให้มีปริมาณแม่พันธุ์ไก่เพิ่มขึ้น เพื่อให้เพียงพอกับความต้องการของโรงเรียน และตลาดในชุมชน 3. นำมูลไก่ไปทำเป็นแก๊สชีวภาพ

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ

 

 

 

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดร้อยเอ็ด สำนักงานเกษตรอำเภอโพนทองมาให้ความร่วมมือด้านวิทยากรด้านการเลี้ยงไก่

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

มีโรงเรือนที่สะอาด มีการจัดระบบสุขาภิบาลเป็นอย่างดี มีพื้นที่เพียงพอสำหรับจัดกิจกรรม

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

  1. ผู้บริหารให้การสนับสนุน
  2. นักเรียนและคณะครูให้ความร่วมมือในการทำงาน

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

  1. ครูจัดการรียนรู้แบบบูรณาการในทุกกลุ่มสาระ เช่น กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (การเลี้ยงสัตว์)สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (การทำบัญชีรับ-จ่าย)
  2. นักเรียนได้เรียนรู้แบบบูรณาการ และได้ลงมือปฏิบัติจริงมีความรับผิดชอบ 3.แม่ครัวได้เรียนรู้วิธีการประกอบอาหารจากเมนูไข่

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

ีผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการสนับสนุนผลผลิต (ไข่ไก่) จากทางโรงเรียนและ ศึกษาวิธีการเลี้ยงไก่จากทางโรงเรียน แล้วนำไปทำเป็นอาชีพเสริมทำให้มีรายได้เพิ่มขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

โรงเรียนมีการจัดกิจกรรมปลูกผักในโรงเรียน เช่นคะน้าคึ่นช่ายต้นหอมพริกมะนาวบวบหอมฟักเขียว น้ำเต้าเพื่อนำผลผลิตเข้าสู่โรงเรียนแต่ยังไม่เพียงพอเนื่องจากสภาพพื้นที่ไม่เอื้ออำนวย และสภาพภูมิอากาศในบางช่วงไม่เหมาะกับการปลูกผัก

ภาพกิจกรรม บัญชีรับจ่ายของสหกรณ์เกี่ยวกับการรับซื้อผัก ผลไม้

ควรส่งเสริมให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมการปลูกผัก ผลไม้ เพื่อนำส่งอาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

โรงเรียนมีการเลี้ยงไก่ไข่ แบบปล่อยธรรมชาติจำนวน 100 ตัว ผลผลิตที่ได้นำเข้าสู่อาหารกลางวัน และส่งขายให้ชุมชน

ภาพโรงเรือนไก่ไข่
บัญชีรับจ่ายของสหกรณ์เกี่ยวกับการรับซื้อไข่ไก่

เลี้ยงสัตว์ประเภทอื่นเพิ่มเติมเช่นเป็ดหมูเพื่อนำเศษอาหารกลางวันมาใช้ให้เกิดประโยชน์

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

โรงเรียนได้ดำเนินการเลี้ยงปลาดุกเพื่อนำผลผลิตเข้าสู่อาหารกลางวัน

ภาพบ่อเลี้ยงปลาดุก

จัดการเลี้ยงปลาชนิดอื่นเพิ่มเช่น ปลานิลกบ และหาวิธีลดต้นทุนการผลิต

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

โรงเรียนไม่ได้จัดอาหารเช้าสำหรับนักเรียน เนื่องจากผู้ปกครองในชุมชนมีฐานะทางเศรษฐกิจดี จึงทำให้ไม่มีปัญหาในเรื่องอาหารเช้า

 

 

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

โรงเรียนได้จัดทำเมนูอาหารหมุนเวียนรายเดือนโดยใช้โปรแกรม Thai school lunchและจัดให้ถูกสัดส่วนตามธงโภชนาการ

  1. เมนูอาหารรายเดือน
  2. อาหารจำพวกผลไม้ ที่สหกรณ์นำมาจำหน่าย

เมนูอาหารควรประยุกต์ใช้วัตถุดิบที่มีในท้องถิ่น และกิจกรรมเกษตรของโรงเรียน เพื่อให้ได้วัตถุดิบที่ปลอดภัย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

โรงเรียนได้จัดทำเมนูอาหารหมุนเวียนรายเดือนโดยใช้โปรแกรม Thai school lunchและจัดให้ถูกสัดส่วนตามธงโภชนาการ

  1. เมนูอาหารรายเดือน
  2. อาหารจำพวกผลไม้ ที่สหกรณ์นำมาจำหน่าย

เมนูอาหารควรประยุกต์ใช้วัตถุดิบที่มีในท้องถิ่น และกิจกรรมเกษตรของโรงเรียน เพื่อให้ได้วัตถุดิบที่ปลอดภัย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

เนื่องจากที่โรงเรียนเปิดทำการสอนระดับชั้นอนุบาล 1- ป.6 จึงไม่ได้จัดบริการในส่วนนี้

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

โรงเรียนได้ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการส่งผลผลิตทางเกษตรสู่อาหารกลางวันโดยเน้นให้เป็นผลผลิตที่ปลอดสารพิษ

การนำส่งผลผลิตทางการเกษตรผ่านระบบสหกรณ์โรงเรียน

ขยายผลไปยังโรงเรียนในกลุ่มเครือข่าย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่
  1. จัดทำเมนูอาหารหมุนเวียนรายเดือน
  2. จัดทำอาหารตามเมนู 3.กำกับติดตามการรับประทานอาหารของนักเรียน
  1. เมนูอาหารหมุนเวียนรายเดือน

จัดเมนูอาหารที่สามารถนำผลผลิตทางเกษตรของโรงเรียนเข้าสู่อาหารกลางวันได้

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่
  1. จัดให้ครูประจำชั้นมีการชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูงของนักเรียนภาคเรียนละ 2 ครั้ง
  2. มีการวิเคราะห์ข้อมูล นำผลแจ้งให้นักเรียนได้รับทราบภาวะโภชนาการตัวเอง 3.คัดแยกนักเรียนกลุ่มเสี่ยง เช่นอ้วนผอมเตี้ยเพื่อร่วมมือกันหาแนวทางแก้ไขและมีติดตามภาวะโภชนาการทุกเดือน
  1. ข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับการติดตามภาวะโภชนาการ สรุปรายชั้นรายโรงเรียน

ดำเนินการอย่างต่อเนื่องไปเรื่อย ๆ เพื่อให้นักเรียนรู้จักพัฒนาสุขนิสัยและพฤติกรรมการกิน

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 1/12558 1/22558 2/12558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 1/22560 2/12560 2/22561 1/12561 1/22561 2/12561 2/22562 1/12562 1/22562 2/12562 2/22563 1/12563 1/22563 2/12563 2/22564 1/12564 2/2
เตี้ย 0.68 0.68% 1.99 1.99% 2.00 2.00% 3.31 3.31% 1.41 1.41% 0.70 0.70% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 4.90 4.90% 2.80 2.80% 0.00 0.00% 1.40 1.40% 2.08 2.08% 2.82 2.82% 3.47 3.47% 2.17 2.17% 0.72 0.72% 2.17 2.17% 5.07 5.07% 2.24 2.24% 0.00 0.00% 0.75 0.75% 1.50 1.50% 3.55 3.55% 2.72 2.72%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 2.72 2.72% 4.64 4.64% 4.00 4.00% 5.30 5.30% 8.45 8.45% 3.52 3.52% 2.11 2.11% 0.00 0.00% 1.38 1.38% 9.79 9.79% 7.69 7.69% 4.11 4.11% 3.50 3.50% 4.86 4.86% 5.63 5.63% 9.03 9.03% 8.70 8.70% 5.80 5.80% 6.52 6.52% 8.70 8.70% 5.22 5.22% 4.51 4.51% 3.76 3.76% 4.51 4.51% 5.67 5.67% 7.48 7.48%
ผอม 4.76 4.76% 2.65 2.65% 1.33 1.33% 3.31 3.31% 3.52 3.52% 4.93 4.93% 2.11 2.11% 4.20 4.20% 2.13 2.13% 4.93 4.93% 2.10 2.10% 2.05 2.05% 5.59 5.59% 2.05 2.05% 2.80 2.80% 2.78 2.78% 2.88 2.88% 4.35 4.35% 3.62 3.62% 9.42 9.42% 8.21 8.21% 6.11 6.11% 0.00 0.00% 4.51 4.51% 6.11 6.11% 7.14 7.14%
ผอม+ค่อนข้างผอม 11.56 11.56% 7.95 7.95% 11.33 11.33% 7.95 7.95% 10.56 10.56% 9.15 9.15% 7.04 7.04% 9.79 9.79% 7.09 7.09% 13.38 13.38% 6.99 6.99% 13.70 13.70% 15.38 15.38% 13.01 13.01% 10.49 10.49% 17.36 17.36% 12.95 12.95% 7.97 7.97% 13.77 13.77% 21.01 21.01% 20.90 20.90% 21.37 21.37% 7.58 7.58% 10.53 10.53% 15.27 15.27% 17.14 17.14%
อ้วน 8.16 8.16% 6.62 6.62% 5.33 5.33% 5.30 5.30% 4.93 4.93% 4.23 4.23% 4.23 4.23% 3.50 3.50% 7.09 7.09% 3.52 3.52% 4.90 4.90% 4.79 4.79% 5.59 5.59% 6.16 6.16% 5.59 5.59% 4.86 4.86% 4.32 4.32% 4.35 4.35% 3.62 3.62% 3.62 3.62% 5.97 5.97% 5.34 5.34% 6.82 6.82% 8.27 8.27% 6.11 6.11% 2.14 2.14%
เริ่มอ้วน+อ้วน 12.93% 12.93% 10.60% 10.60% 8.67% 8.67% 9.27% 9.27% 12.68% 12.68% 10.56% 10.56% 9.15% 9.15% 11.19% 11.19% 9.93% 9.93% 7.75% 7.75% 7.69% 7.69% 7.53% 7.53% 12.59% 12.59% 10.27% 10.27% 9.79% 9.79% 9.03% 9.03% 8.63% 8.63% 9.42% 9.42% 9.42% 9.42% 7.25% 7.25% 14.18% 14.18% 12.98% 12.98% 12.88% 12.88% 12.78% 12.78% 9.92% 9.92% 7.14% 7.14%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

โรงเรียนมีการดำเนินติดตามภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนของนักเรียนอย่างต่อเนื่อง เช่นการควบคุมการรับประทานอาหารการออกกำลังกายแต่ในช่วงปิดภาคเรียน ไม่สามารถควบคุมพฤติกรรมการรับประทานอาหาร และการออกกำลังกายได้ จึงทำให้สถานการณ์ไม่คงที่

ข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับภาวะโภชนาการของนักเรียน

การขอความร่วมมือกับผู้ปกครองในช่วงปิดภาคเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

โรงเรียนมีการดำเนินติดตามภาวะค่อนข้างผอมและผมของนักเรียนอย่างต่อเนื่อง โดยนำอาหารกลางวันที่เหลือห่อให้เด็กไปรับประทานที่บ้านและให้รับประทานอาหารเสริมนมมากกว่าเด็กปกติแต่สถานการณ์ภาวะโภชนาการไม่คงที่เนื่องจากขาดความต่อเนื่องในช่วงปิดภาคเรียน ประกอบกับนักเรียนบางส่วนมีโรคประจำตัว

ข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับภาวะโภชนาการของนักเรียน

ติดตามสถานการณ์ภาวะโภชนาการอย่างต่อเนื่อง และขอความร่วมมือจากผู้ปกครองในการดูแลพฤติกรรมการรับประทานอาหารของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

โรงเรียนมีการดำเนินติดตามภาวะค่อนข้าเตี้ย และเตี้ย คือ ให้นักเรียนรับประทานธาตุเหล็ก ออกกำลังกายเช่น กระโดดเชือกให้รับประทานนมโรงเรียนมากกว่าเด็กปกติมีการติดตามภาวะโภชนาการทุกเดือน

ข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับภาวะโภชนาการของนักเรียน

จัดทำเมนูอาหารที่มีแคลเซียมมากๆ สำหรับเด็กกลุ่มนี้ และขอความร่วมมือกับผู้ปกครองในการจัดการอาหารนักเรียนในกลุ่มนี้

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

คัดแยกนักเรียนแต่ละกลุ่มแล้วออกเยี่ยมบ้านสอบถามเกี่ยวกับการรับประทานอาหารของนักเรียน และสำรวจพฤติกรรมการบริโภคแล้วนำข้อมูลที่ได้มาหาแนวทางแก้ไขร่วมกัน

บันทึกการเยี่ยมบ้าน แบบสำรวจพฤติกรรมการบริโภค

ควรจัดให้มีการเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง และให้มีกิจกรรมที่หลากหลายมากขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

จัดการอบรมผู้ปกครองนักเรียนกลุ่มเสี่ยงเพื่อหาข้อเสนอแนะและร่วมมือกันหาแนวทางแก้ไข

รายชื่อผู้ปกครองที่เข้าร่วมอบรม ภาพกิจกรรม

ผู้ปกครองควรนำความรู้ที่ได้จากการอบรมไปใช้ในครอบครัว และช่วยกันเฝ้าระวังแก้ไขปัญหาร่วมกัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดร้อยเอ็ด สำนักงานเกษตรอำเภอโพนทองมาให้ความร่วมมือด้านวิทยากรด้านการเลี้ยงไก่

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh