info
ข้อมูลพื้นฐาน
ชื่อโรงเรียน โรงเรียนตะดอบวิทยา
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถ
หน่วยงานต้นสังกัด สพป.ศรีสะเกษ เขต 1
ที่อยู่โรงเรียน จังหวัดศรีสะเกษ 33000
จำนวนนักเรียน 343 คน
ช่วงชั้น อนุบาล,ประถม,มัธยมต้น
ผู้อำนวยการ นางวิชุดา ชัยชาญ
ครูผู้รับผิดชอบ นางอรพรรณ วิเศษแก้ว
restaurant_menu
ข้อมูลภาวะโภชนาการ
assignment
กิจกรรม
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการด้านอาหารและโภชนาการในโรงเรียนโรงเรียนตะดอบวิทยา เมื่อ 22 ก.พ. 65 น. @31 มี.ค. 65 21:25
  • photo LINE_ALBUM_Workshop เหลียวหลัง_1.แลหน้า 12ต.ค.64_๒๒๐๓๓๐.jpgLINE_ALBUM_Workshop เหลียวหลัง_1.แลหน้า 12ต.ค.64_๒๒๐๓๓๐.jpg
  • photo LINE_ALBUM_เขียนแผน ปศพพ._๒๒๐๓๓๐.jpgLINE_ALBUM_เขียนแผน ปศพพ._๒๒๐๓๓๐.jpg
  • photo LINE_ALBUM_เขียนแผน ปศพพ_0._๒๒๐๓๓๐.jpgLINE_ALBUM_เขียนแผน ปศพพ_0._๒๒๐๓๓๐.jpg
  • photo LINE_ALBUM_เขียนแผน ปศพพ_1._๒๒๐๓๓๐.jpgLINE_ALBUM_เขียนแผน ปศพพ_1._๒๒๐๓๓๐.jpg
  • photo LINE_ALBUM_เขียนแผน ปศพพ_2._๒๒๐๓๓๐.jpgLINE_ALBUM_เขียนแผน ปศพพ_2._๒๒๐๓๓๐.jpg
  • photo LINE_ALBUM_เขียนแผน ปศพพ_3._๒๒๐๓๓๐.jpgLINE_ALBUM_เขียนแผน ปศพพ_3._๒๒๐๓๓๐.jpg
  • photo LINE_ALBUM_เขียนแผน ปศพพ_4._๒๒๐๓๓๐.jpgLINE_ALBUM_เขียนแผน ปศพพ_4._๒๒๐๓๓๐.jpg
รายละเอียด:
  1. ประชุมทำความเข้าใจ  วิเคราะห์สภาพปัญหา
  2. จัดทำโครงการ เพื่อขออนุมัติ 3.. ประชาสัมพันธ์การดำเนินโครงการให้ครู , บุคลากรโรงเรียน ,ผู้ปกครองและนักเรียนทราบ
    4.. จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ครู , บุคลากรโรงเรียน ,ผู้ปกครองและนักเรียน
  3. ติดตาม ประเมินผลและสรุปผลการดำเนินงาน
  4. รายงานผลการดำเนินงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์:

ผลของการดำเนินกิจกรรม 1. ได้มีการกำหนดนโยบายส่งเสริมด้านอาหาร โภชนาการและสุขภาพนักเรียน โดยการมีส่วนร่วมทั้งครู  บุคลากรทางการศึกษา  นักเรียนและผู้ปกครอง
2. ได้มีการขับเคลื่อนนโยบายด้านอาหารโภชนาการและสุขภาพนักเรียนสู่การปฏิบัติจริง จากการอบรมเชิงปฏิบัติการด้านอาหารและโภชนาการในโรงเรียน 3. มีการส่งเสริมผู้นำนักเรียนด้านอาหารโภชนาการและส่งเสริมสุขภาพ โดยได้คัดเลือกตัวแทนของนักเรียนแต่ละห้อง ห้องละ 5 คน เพื่อเป็นแกนนำด้านอาหารและโภชนาการและสุขภาพของนักเรียนและเข้าอบรมเชิงปฏิบัติการด้านอาหารและโภชนาการในโรงเรียน 4. มีการพัฒนาบุคลากรและผู้เกี่ยวข้องด้านอาหารโภชนาการและสุขภาพนักเรียน  โดยการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการด้านอาหารและโภชนาการในโรงเรียนให้กับ ครู บุคลากรทางการศึกษา  นักเรียน  ผู้ปกครองและผู้ประกอบอาหารของโรงเรียน

สิ่งที่ขัดขวาง/อุปสรรค 1.จากสถานการณ์การระบาดของไวรัสโคโรนา 19 ทำให้จำกัดจำนวนผู้เข้าอบรมและสถานที่ในการอบรม 2.ผู้ปกครองและชุมชนยังมีความเชื่อผิดๆในด้านการบริโภค  และยังไม่คำนึงถึงคุณค่าทางโภชนาการมากเท่าที่ควรในการจัดการด้านอาหารและโภชนาการภายในครัวเรือน

กิจกรรมการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการแบบมีส่วนร่วมระหว่าง โรงเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนตะดอบวิทยา เมื่อ 9 ก.พ. 65 น. @31 มี.ค. 65 21:47
  • photo LINE_ALBUM_อบรมครอบครัวคุณธรรม_๒๒๐๓๓๐_4.jpgLINE_ALBUM_อบรมครอบครัวคุณธรรม_๒๒๐๓๓๐_4.jpg
  • photo LINE_ALBUM_อบรมครอบครัวคุณธรรม_๒๒๐๓๓๐.jpgLINE_ALBUM_อบรมครอบครัวคุณธรรม_๒๒๐๓๓๐.jpg
  • photo LINE_ALBUM_อบรมครอบครัวคุณธรรม_๒๒๐๓๓๐_0.jpgLINE_ALBUM_อบรมครอบครัวคุณธรรม_๒๒๐๓๓๐_0.jpg
  • photo LINE_ALBUM_อบรมครอบครัวคุณธรรม_๒๒๐๓๓๐_1.jpgLINE_ALBUM_อบรมครอบครัวคุณธรรม_๒๒๐๓๓๐_1.jpg
  • photo LINE_ALBUM_อบรมครอบครัวคุณธรรม_๒๒๐๓๓๐_2.jpgLINE_ALBUM_อบรมครอบครัวคุณธรรม_๒๒๐๓๓๐_2.jpg
  • photo LINE_ALBUM_อบรมครอบครัวคุณธรรม_๒๒๐๓๓๐_3.jpgLINE_ALBUM_อบรมครอบครัวคุณธรรม_๒๒๐๓๓๐_3.jpg
รายละเอียด:
  1. ประชุมทำความเข้าใจ  วิเคราะห์สภาพปัญหา
  2. คณะครูผู้รับผิดชอบโครงการอาหารกลางวันและครูอนามัยโรงเรียนร่วมกันคัดกรองนักเรียนที่มีปัญหาทุพโภชนาและหาวิธีแก้ไขปัญหา
    3.อบรมเชิงปฏิบัติการ กิน อยู่ ดู ฟัง เป็น  สำหรับแกนนำนักเรียนและผู้ปกครอง  เพื่อสร้างความเข้าใจด้านโภชนาการเพื่อสุขภาพ  และช่วยกันค้นหาปัญหาที่เกิดขึ้น  แนวทางแก้ไขปัญหา ร่วมกัน ระหว่างโรงเรียนและผู้ปกครอง
  3. ติดตาม ประเมินผลและสรุปผลการดำเนินงาน
  4. รายงานผลการดำเนินงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์:

ผลของการดำเนินกิจกรรม 1. มีการเฝ้าระวังพฤติกรรมการบริโภคและการดูแลสุขภาพอนามัยของนักเรียน 2. มีการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ และจัดทำระบบสารสนเทศ
3. มีการคัดกรองนักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการและการแก้ไขแบบมีส่วนร่วม

สิ่งที่ขัดขวาง/อุปสรรค เนื่องจากผู้ปกครองยังมีความรู้ความเข้าในในหลักโภชนาการน้อยและยังไม่เข้าใจหลักการจัดการด้านอาหารและโภชนาการ  จึงส่งผลให้ผู้ปกครองไม่สามารถคัดกรองนักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการและไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้ถูกจุด

กิจกรรมเลี้ยงปลาดุกโรงเรียนตะดอบวิทยา เมื่อ 1 ก.พ. 65 น. @31 มี.ค. 65 21:41
  • photo 34499.jpg34499.jpg
  • photo 34500.jpg34500.jpg
  • photo 34501.jpg34501.jpg
  • photo 34502.jpg34502.jpg
  • photo LINE_ALBUM_ประกันคุณภาพภายใน2564_๒๒๐๓๓๐_0.jpgLINE_ALBUM_ประกันคุณภาพภายใน2564_๒๒๐๓๓๐_0.jpg
  • photo LINE_ALBUM_เศรษฐกิจพอเพียง_๒๒๐๓๓๐_0.jpgLINE_ALBUM_เศรษฐกิจพอเพียง_๒๒๐๓๓๐_0.jpg
  • photo LINE_ALBUM_เศรษฐกิจพอเพียง_๒๒๐๓๓๐_1.jpgLINE_ALBUM_เศรษฐกิจพอเพียง_๒๒๐๓๓๐_1.jpg
  • photo LINE_ALBUM_เศรษฐกิจพอเพียง_๒๒๐๓๓๐_3.jpgLINE_ALBUM_เศรษฐกิจพอเพียง_๒๒๐๓๓๐_3.jpg
รายละเอียด:
  1. ประชุมทำความเข้าใจ  วิเคราะห์สภาพปัญหา
  2. จัดทำโครงการ เพื่อขออนุมัติ 3.. ประชาสัมพันธ์การดำเนินโครงการให้ครู , บุคลากรโรงเรียน ,ผู้ปกครองและนักเรียนทราบ
    4.. จัดกิจกรรม  เพื่อนำผลผลิตไปจำหน่ายให้กับโครงการอาหารกลางวันโรงเรียน
  3. ติดตาม ประเมินผลและสรุปผลการดำเนินงาน
  4. รายงานผลการดำเนินงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์:

ผลของการดำเนินกิจกรรม 1. มีการจัดการสภาพแวดล้อมในสถานศึกษาที่เหมาะสม เอื้อต่อการมีวิถีชีวิตสุขภาวะ
2. มีการส่งเสริมการเรียนรู้ด้านการเกษตรปลอดภัย และผลผลิตจากกิจกรรมที่ทางโรงเรียนได้จัดให้นักเรียนได้มีส่วนร่วมในการลงมือทำ เช่น  ปลูกผักสวนครัว  เลี้ยงปลาดุก  เพาะเห็ดนางฟ้า  ในการประกอบอาหาร และเครื่องดื่ม 3. มีการแบ่งกลุ่มรับผิดชอบกิจกรรมทางการเกษตรที่จะผลิตวัตถุดิบเพื่อนำมาใช้ในการประกอบอาหารกลางวันดังนี้       -. กิจกรรมเลี้ยงปลาดุก ผู้รับผิดชอบคือ ป.5 - 6

สิ่งที่ขัดขวาง/อุปสรรค 1. กิจกรรมต่างๆ พึ่งเริ่มลงมือปฏิบัติ จึงยังไม่มีผลผลิต 2. เนื่องจากโรงเรียนมีสถานที่ในการทำกิจกรรมนี้อย่างจำกัด หรือมีพื้นที่น้อย

กิจกรรมเพาะเห็ดนางฟ้าโรงเรียนตะดอบวิทยา เมื่อ 3 ม.ค. 65 น. @31 มี.ค. 65 21:39
  • photo LINE_ALBUM_เศรษฐกิจพอเพียง_๒๒๐๓๓๐_10.jpgLINE_ALBUM_เศรษฐกิจพอเพียง_๒๒๐๓๓๐_10.jpg
  • photo LINE_ALBUM_เศรษฐกิจพอเพียง_๒๒๐๓๓๐_11.jpgLINE_ALBUM_เศรษฐกิจพอเพียง_๒๒๐๓๓๐_11.jpg
  • photo 34496.jpg34496.jpg
  • photo LINE_ALBUM_ประกันคุณภาพภายใน2564_๒๒๐๓๓๐.jpgLINE_ALBUM_ประกันคุณภาพภายใน2564_๒๒๐๓๓๐.jpg
  • photo LINE_ALBUM_เศรษฐกิจพอเพียง_๒๒๐๓๓๐_8.jpgLINE_ALBUM_เศรษฐกิจพอเพียง_๒๒๐๓๓๐_8.jpg
  • photo LINE_ALBUM_เศรษฐกิจพอเพียง_๒๒๐๓๓๐_9.jpgLINE_ALBUM_เศรษฐกิจพอเพียง_๒๒๐๓๓๐_9.jpg
รายละเอียด:
  1. ประชุมทำความเข้าใจ  วิเคราะห์สภาพปัญหา
  2. จัดทำโครงการ เพื่อขออนุมัติ 3.. ประชาสัมพันธ์การดำเนินโครงการให้ครู , บุคลากรโรงเรียน ,ผู้ปกครองและนักเรียนทราบ
    4.. จัดกิจกรรม  เพื่อนำผลผลิตไปจำหน่ายให้กับโครงการอาหารกลางวันโรงเรียน
  3. ติดตาม ประเมินผลและสรุปผลการดำเนินงาน
  4. รายงานผลการดำเนินงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์:

ผลของการดำเนินกิจกรรม 1. มีการจัดการสภาพแวดล้อมในสถานศึกษาที่เหมาะสม เอื้อต่อการมีวิถีชีวิตสุขภาวะ
2. มีการส่งเสริมการเรียนรู้ด้านการเกษตรปลอดภัย และผลผลิตจากกิจกรรมที่ทางโรงเรียนได้จัดให้นักเรียนได้มีส่วนร่วมในการลงมือทำ เช่น  ปลูกผักสวนครัว  เลี้ยงปลาดุก  เพาะเห็ดนางฟ้า  ในการประกอบอาหาร และเครื่องดื่ม 3. มีการแบ่งกลุ่มรับผิดชอบกิจกรรมทางการเกษตรที่จะผลิตวัตถุดิบเพื่อนำมาใช้ในการประกอบอาหารกลางวันดังนี้       -. กิจกรรมเพาะเห็ดนางฟ้า  ผู้รับผิดชอบคือ ป. 4

สิ่งที่ขัดขวาง/อุปสรรค 1. กิจกรรมต่างๆ พึ่งเริ่มลงมือปฏิบัติ จึงยังไม่มีผลผลิต 2. เนื่องจากโรงเรียนมีสถานที่ในการทำกิจกรรมนี้อย่างจำกัด หรือมีพื้นที่น้อย

โครงการจัดการด้านความปลอดภัยอาหาร สุขาภิบาลอาหารและสิ่งแวดล้อมโรงเรียนตะดอบวิทยา เมื่อ 10 ม.ค. 65 น. @31 มี.ค. 65 21:29
  • photo 34494.jpg34494.jpg
  • photo 34495.jpg34495.jpg
  • photo 34491.jpg34491.jpg
  • photo 34492.jpg34492.jpg
  • photo 34493.jpg34493.jpg
รายละเอียด:
  1. ประชุมทำความเข้าใจ  วิเคราะห์สภาพปัญหา
  2. จัดทำโครงการ เพื่อขออนุมัติ
  3. ประชาสัมพันธ์การดำเนินโครงการให้ครู , บุคลากรโรงเรียน ,ผู้ปกครองและนักเรียนทราบ
    4.. ปรับปรุงโรงอาหาร , ทำบัญชีการเบิกจ่ายเครื่องปรุง , ตรวจสอบสถานที่จัดเก็บนมโรงเรียน , ตรวจสอบสถานที่ให้บริการน้ำดื่มน้ำใช้
  4. ติดตาม ประเมินผลและสรุปผลการดำเนินงาน
  5. รายงานผลการดำเนินงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์:

ผลของการดำเนินกิจกรรม 1. ,มีการจัดการสถานที่บริโภคอาหาร สถานที่เตรียม ปรุง ประกอบอาหาร ให้ได้มาตรฐานตามตัวชี้วัดทางโภชนาการ
2. มีระบบการจัดการด้านอาหาร กรรมวิธีการทำ ประกอบ หรือปรุง และการเก็บรักษาอาหาร  ให้ถูกต้องตามหลักโภชนาการ 3. มีการตรวจสอบผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่ใช้ในการประกอบอาหารสม่ำเสมอ และใช้ผลิตภัณฑ์ที่ได้มาตรฐาน  มีอย.กำกับ  ถูกต้องตามหลักโภชนาการ 4. มีการตรวจสอบสุขลักษณะของภาชนะ อุปกรณ์ และเครื่องใช้อื่นๆ และปรับเปลี่ยนภาชนะ อุปกรณ์ และเครื่องใช้อื่นๆ  ให้ปลอดภัยต่อสุขภาพร่างกายและได้มาตรฐาน 5. มีการตรวจสอบสุขลักษณะส่วนบุคคลของแม่ครัว และผู้สัมผัสอาหาร สม่ำเสมอ
6. จัดหาและจัดซื้อน้ำดื่ม / น้ำใช้ /น้ำแข็ง จากร้านที่ได้มาตรฐาน มอก.และเชื่อถือได้ 7. มีการตรวจสอบและการเก็บรักษาคุณภาพอาหารเสริม (นม)
8. มีการเฝ้าระวังทางสุขาภิบาลอาหาร
สิ่งที่ขัดขวาง/อุปสรรค 1.งบประมาณที่ใช้ในการตรวจสุขภาพประจำปีของแม่ครัว 2.การเก็บรักษาอาหารเสริม (นม) เนื่องจากในช่วงระบาดของโครวิด 19 นี้ ทำให้ผู้จัดส่งอาหารเสริม (นม)  ได้จัดส่งนมUHT แทนนมถุง  ทำให้การจัดเก็บนมต้องใช้พื้นที่มาก  ทางโรงเรียนจึงแจกนมให้นักเรียนที่ได้รับนำกลับไปจัดเก็บไว้ที่บ้านเพื่อดื่มเป็นอาหารเสริม  จึงทำให้ไม่สามารถควบคุมการดื่มนมของนักเรียนได้ ว่านักเรียนได้ดื่มนมจริงหรือไม่ 3.ยังเหลือจัดทำอ่างล้างจานให้เพียงพอและได้มาตรฐาน สำหรับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3

กิจกรรมปลูกผักสวนครัวโรงเรียนตะดอบวิทยา เมื่อ 3 ม.ค. 65 น. @31 มี.ค. 65 21:37
  • photo 34488.jpg34488.jpg
  • photo 34489.jpg34489.jpg
  • photo 34490.jpg34490.jpg
  • photo 34497.jpg34497.jpg
  • photo 34498.jpg34498.jpg
  • photo LINE_ALBUM_เศรษฐกิจพอเพียง_๒๒๐๓๓๐_4.jpgLINE_ALBUM_เศรษฐกิจพอเพียง_๒๒๐๓๓๐_4.jpg
  • photo LINE_ALBUM_เศรษฐกิจพอเพียง_๒๒๐๓๓๐_5.jpgLINE_ALBUM_เศรษฐกิจพอเพียง_๒๒๐๓๓๐_5.jpg
  • photo LINE_ALBUM_เศรษฐกิจพอเพียง_๒๒๐๓๓๐_6.jpgLINE_ALBUM_เศรษฐกิจพอเพียง_๒๒๐๓๓๐_6.jpg
  • photo LINE_ALBUM_เศรษฐกิจพอเพียง_๒๒๐๓๓๐_7.jpgLINE_ALBUM_เศรษฐกิจพอเพียง_๒๒๐๓๓๐_7.jpg
  • photo 246546831_4412707568825846_3764477073829925050_n.jpg246546831_4412707568825846_3764477073829925050_n.jpg
  • photo 246780087_4412707952159141_7736004998068983101_n.jpg246780087_4412707952159141_7736004998068983101_n.jpg
  • photo 245359714_4412709378825665_756232139544278857_n.jpg245359714_4412709378825665_756232139544278857_n.jpg
  • photo 245388929_4412709552158981_1501887899881414500_n.jpg245388929_4412709552158981_1501887899881414500_n.jpg
  • photo 245413553_4412706855492584_5420164828971703482_n.jpg245413553_4412706855492584_5420164828971703482_n.jpg
  • photo 245463912_4412708888825714_6901343436588067276_n.jpg245463912_4412708888825714_6901343436588067276_n.jpg
  • photo 245602560_4412708212159115_6778471942707824723_n.jpg245602560_4412708212159115_6778471942707824723_n.jpg
  • photo 245604611_4412708552159081_5909948326513642974_n.jpg245604611_4412708552159081_5909948326513642974_n.jpg
  • photo 245612562_4412706202159316_6649802911803220964_n.jpg245612562_4412706202159316_6649802911803220964_n.jpg
  • photo 245646974_4412706715492598_9217850204443476539_n.jpg245646974_4412706715492598_9217850204443476539_n.jpg
  • photo 245775148_4412708725492397_6928979608126155783_n.jpg245775148_4412708725492397_6928979608126155783_n.jpg
  • photo 246131469_4412707078825895_7512822837421642482_n.jpg246131469_4412707078825895_7512822837421642482_n.jpg
  • photo 246370711_4412709158825687_5699300687149618341_n.jpg246370711_4412709158825687_5699300687149618341_n.jpg
รายละเอียด:
  1. ประชุมทำความเข้าใจ  วิเคราะห์สภาพปัญหา
  2. จัดทำโครงการ เพื่อขออนุมัติ 3.. ประชาสัมพันธ์การดำเนินโครงการให้ครู , บุคลากรโรงเรียน ,ผู้ปกครองและนักเรียนทราบ
    4.. จัดกิจกรรม  เพื่อนำผลผลิตไปจำหน่ายให้กับโครงการอาหารกลางวันโรงเรียน
  3. ติดตาม ประเมินผลและสรุปผลการดำเนินงาน
  4. รายงานผลการดำเนินงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์:

ผลของการดำเนินกิจกรรม 1. มีการจัดการสภาพแวดล้อมในสถานศึกษาที่เหมาะสม เอื้อต่อการมีวิถีชีวิตสุขภาวะ
2. มีการส่งเสริมการเรียนรู้ด้านการเกษตรปลอดภัย และผลผลิตจากกิจกรรมที่ทางโรงเรียนได้จัดให้นักเรียนได้มีส่วนร่วมในการลงมือทำ เช่น  ปลูกผักสวนครัว    ในการประกอบอาหาร และเครื่องดื่ม 3. มีการแบ่งกลุ่มรับผิดชอบกิจกรรมทางการเกษตรที่จะผลิตวัตถุดิบเพื่อนำมาใช้ในการประกอบอาหารกลางวันดังนี้   -. กิจกรรมปลูกผักสวนครัว  ผู้รับผิดชอบคือ ม.1 - 3

สิ่งที่ขัดขวาง/อุปสรรค 1. กิจกรรมต่างๆ พึ่งเริ่มลงมือปฏิบัติ จึงยังไม่มีผลผลิต 2. เนื่องจากโรงเรียนมีสถานที่ในการทำกิจกรรมนี้อย่างจำกัด หรือมีพื้นที่น้อย

การจัดรายการอาหารกลางวันตามมาตรฐานโภชนาการโรงเรียนตะดอบวิทยา เมื่อ 3 ม.ค. 65 น. @31 มี.ค. 65 21:32
  • photo 718051_0.jpg718051_0.jpg
  • photo 718052.jpg718052.jpg
  • photo 718053.jpg718053.jpg
  • photo 718054.jpg718054.jpg
  • photo 718057.jpg718057.jpg
  • photo 718058.jpg718058.jpg
  • photo 718059.jpg718059.jpg
  • photo 718060.jpg718060.jpg
  • photo 718061.jpg718061.jpg
  • photo 276211620_4953619961401268_7517185701167540613_n.jpg276211620_4953619961401268_7517185701167540613_n.jpg
  • photo 276293657_4953619834734614_5875854463680313299_n.jpg276293657_4953619834734614_5875854463680313299_n.jpg
  • photo 277004040_4953619308068000_5032477639546985827_n.jpg277004040_4953619308068000_5032477639546985827_n.jpg
  • photo 277005608_4953619621401302_4057436476020146197_n.jpg277005608_4953619621401302_4057436476020146197_n.jpg
  • photo 277102339_4953619504734647_6280426135891810373_n.jpg277102339_4953619504734647_6280426135891810373_n.jpg
  • photo 277104728_4953619214734676_8977030727094018139_n.jpg277104728_4953619214734676_8977030727094018139_n.jpg
  • photo LINE_ALBUM_ดูงานรร.ดอนข่า_๒๒๐๓๓๑_0.jpgLINE_ALBUM_ดูงานรร.ดอนข่า_๒๒๐๓๓๑_0.jpg
  • photo LINE_ALBUM_ดูงานรร.ดอนข่า_๒๒๐๓๓๑_1.jpgLINE_ALBUM_ดูงานรร.ดอนข่า_๒๒๐๓๓๑_1.jpg
  • photo LINE_ALBUM_ดูงานรร.ดอนข่า_๒๒๐๓๓๑_2.jpgLINE_ALBUM_ดูงานรร.ดอนข่า_๒๒๐๓๓๑_2.jpg
  • photo LINE_ALBUM_ดูงานรร.ดอนข่า_๒๒๐๓๓๑_3.jpgLINE_ALBUM_ดูงานรร.ดอนข่า_๒๒๐๓๓๑_3.jpg
  • photo LINE_ALBUM_ดูงานรร.ดอนข่า_๒๒๐๓๓๑_4.jpgLINE_ALBUM_ดูงานรร.ดอนข่า_๒๒๐๓๓๑_4.jpg
รายละเอียด:
  1. ประชุมทำความเข้าใจ  วิเคราะห์สภาพปัญหา
  2. คณะครูผู้รับผิดชอบโครงการอาหารกลางวันร่วมกันจัดทำรายการอาหารกลางวันตามมาตรฐานโภชนาการ  โดยให้มีความหลากหลายของเมนูอาหาร
  3. ติดตาม ประเมินผลและสรุปผลการดำเนินงาน
  4. รายงานผลการดำเนินงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์:

ผลของการดำเนินกิจกรรม 1. มีการจัดอาหารกลางวันตามมาตรฐานโภชนาการ
2. มีการส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคที่เหมาะสม (เพิ่ม ผักผลไม้ ลดหวานมันเค็ม) โดยจัดให้มีผลไม้  มากกว่าขนมหวาน 3 มีการจัดการลดอาหารเหลือทิ้ง (Food waste) โดยการตักอาหารให้พอดีกับปริมาณที่นักเรียนทาน  ไม่อิ่มสามารถเติมหรือเพิ่มใหม่ได้ 4.คณะครูผู้รับผิดชอบโครงการอาหารกลางวันไปศึกษาดูงานด้านการจัดการอาหารกลางวันที่โรงเรียนบ้านดอนข่า  สพป.ศก.4

สิ่งที่ขัดขวาง/อุปสรรค ในการจัดรายการอาหารให้มีความหลากหลาย  แต่บางวันต้องมีการเปลี่ยนเมนูเพราะวัตถุดิบไม่มี  หรือมีไม่พอกับจำนวนที่ต้องการ