ชื่อโรงเรียน | โรงเรียนบ้านบ่อหลวง |
สังกัด | สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถ |
หน่วยงานต้นสังกัด | สพป. น่าน เขต 2 |
ที่อยู่โรงเรียน | 168 หมู่ที่ 1 ตำบลบ่อเกลือใต้ อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน 55220 |
จำนวนนักเรียน | 131 คน |
ช่วงชั้น | อนุบาล,ประถม |
ผู้อำนวยการ | นางสุจิตรา ยาวิไชย |
ครูผู้รับผิดชอบ | นางสุนี ทานัน |
- 68545.jpg
- 68543.jpg
- 68544.jpg
- 68591.jpg
- 68592.jpg
- 68570.jpg
- LINE_ALBUM_School lunch._๒๒๐๓๐๘.jpg
- LINE_ALBUM_School lunch_0._๒๒๐๓๐๘.jpg
- LINE_ALBUM_School lunch_8._๒๒๐๓๐๘.jpg
- LINE_ALBUM_School lunch_3._๒๒๐๓๐๘.jpg
- LINE_ALBUM_School lunch_4._๒๒๐๓๐๘.jpg
- LINE_ALBUM_มาตรฐานที่ 1_๒๒๐๓๐๘_1.jpg
- LINE_ALBUM_มาตรฐานที่ 1_๒๒๐๓๐๘_2.jpg
- LINE_ALBUM_มาตรฐานที่ 1_๒๒๐๓๐๘_3.jpg
อาหารกลางวันที่จัดบริการนักเรียนมีสารอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการที่จำเป็น ต่อการพัฒนาร่างกายตามวัยของนักเรียนในแต่ละวันและครบสารอาหารเฉลี่ยต่อสัปดาห์ ตาม Thai School lunch หรือตามตารางโภชนาการของกรมอนามัย นักเรียนได้บริโภคผักปลอดภัย อย่างน้อยเฉลี่ยวันละ 60 - 100 กรัมทุกวันหรืออย่างน้อย 3 วันต่อสัปดาห์และนักเรียนได้บริโภคผลไม้ตามฤดูกาล อย่างน้อย 3 วันต่อสัปดาห์ โดยการตักอาหารให้นักเรียนจะต้องตักตามปริมาณ ที่แนะนำให้เหมาะสมตามวัยของนักเรียน
นักเรียนได้รับสารอาหารตามปริมาณที่เหมาะสม อาหารที่นักเรียนได้รับมีคุณค่าทางโภชนาการที่จำเป็น ต่อการพัฒนาร่างกายตามวัยของนักเรียนในแต่ละวัน
มีการคัดกรองและติดตามนักเรียนรายบุคคลที่มีปัญหาและแนวโน้มมีปัญหาเป็นรายเดือน เช่น เด็กภาวะท้วมเริ่มอ้วน อ้วน ค่อนข้างผอม ผอม ค่อนข้างเตี้ยและเตี้ย มีการจัดทำทะเบียนและประวัติรายบุคคลของนักเรียน บริการ ให้คำปรึกษาด้านสุขภาพ หรือป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงสำหรับนักเรียน มีวิธีการแก้ไขปัญหา โดยครูผู้ปกครอง และเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและมีการประสานงานกรณีที่นักเรียน มีปัญหาเกินขีดความสามารถของสถานศึกษา ได้รับการส่งต่อเพื่อช่วยเหลือ ขอคำปรึกษาจากเครือข่ายบุคลากรสาธารณสุขหรือผู้เกี่ยวข้องพร้อมทั้งไปดูแลต่อในโครงการเยี่ยมบ้าน มีการสอนให้นักเรียนปฏิบัติตามสุขบัญญัติ 10 ประการ
นักเรียนตระหนักตามหลักปฏิบัติด้านโภชนาการในการกินอาหาร เพื่อสุขภาพที่ดีของเด็กวัยเรียนวัยรุ่นมี 9 ข้อ นักเรียนปฏิบัติตามสุขบัญญัติ 10 ประการได้
- LINE_ALBUM_มาตรฐานที่ 1_๒๒๐๓๐๘.jpg
- LINE_ALBUM_มาตรฐานที่ 1_๒๒๐๓๐๘_0.jpg
- LINE_ALBUM_มาตรฐานที่ 1_๒๒๐๓๐๘_5.jpg
- LINE_ALBUM_มาตรฐานที่ 1_๒๒๐๓๐๘_1.jpg
- LINE_ALBUM_มาตรฐานที่ 1_๒๒๐๓๐๘_2.jpg
- LINE_ALBUM_มาตรฐานที่ 1_๒๒๐๓๐๘_3.jpg
- LINE_ALBUM_มาตรฐานที่ 1_๒๒๐๓๐๘_4.jpg
- LINE_ALBUM_มาตรฐานที่ 1_๒๒๐๓๐๘_5.jpg
- LINE_ALBUM_มาตรฐานที่ 1_๒๒๐๓๐๘.jpg
- LINE_ALBUM_มาตรฐานที่ 1_๒๒๐๓๐๘_0.jpg
- LINE_ALBUM_มาตรฐานที่ 1_๒๒๐๓๐๘_1.jpg
- LINE_ALBUM_มาตรฐานที่ 1_๒๒๐๓๐๘_2.jpg
- 297288.jpg
- 297289.jpg
การพัฒนาบุคลากรและผู้เกี่ยวข้องด้านอาหารโภชนาการและสุขภาพนักเรียน
ครูผู้รับผิดชอบโครงการมีการพัฒนาตนเอง และมีความรู้ด้านโภชนาการ สามารถนำความรู้ไปใช้ในการส่งเสริมโภชนาการให้กับนักเรียน
นักเรียนแกนนำ ครูผู้รับผิดชอบพร้อมด้วยผู้ประกอบอาหารของโรงเรียนร่วมกันทำความสะอาดบริเวณโรงอาหารให้มีความสะอาดเรียนบร้อย จัดหาอุปกรณ์เครื่องครัวที่ถูกสุขลักษณะ จัดทำเมนูอาหารที่มีประโยชน์ต่อโภชนาการของนักเรียน
นักเรียนได้รับสารอาหารที่ครบถ้วน มีความสุขในการรับประทานอาหาร
มีกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ ฝึกทักษะด้านเกษตรอาหารปลอดภัยและโภชนาการ มีกิจกรรมการเกษตรและสหกรณ์นักเรียนในสถานศึกษา และการปลูกผัก ผลไม้อินทรีย์ในครอบครัว ชุมชน
พร้อมทั้งส่งเสริมการอ่านฉลาก การคัดเลือกผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่มปลอดภัย มาจำหน่าย
ตลอดจนการจัดกิจกรรมที่มีความร่วมมือระหว่างสถานศึกษาที่เป็นการฝึกอาชีพแก่นักเรียน
โดยความร่วมมือกับผู้ปกครองและชุมชนใช้รูปแบบหลากหลายวิธี
นักเรียนมีความรู้ในการเกษตร สามารถลงมือปฏิบัติได้จริง นำผลิตที่ได้ไปประกอบอาหารกลางวัน และสามารถนำไปต่อยอดสร้างอาชีพให้กับครอบครัวได้