ชื่อโรงเรียน | โรงเรียนบ้านฮ่างต่ำ |
สังกัด | สพป เชียงใหม่ เขต 3 |
หน่วยงานต้นสังกัด | สพป.เชียงใหม่ เขต 3 |
ที่อยู่โรงเรียน | จังหวัดเชียงใหม่ 50280 |
จำนวนนักเรียน | 181 คน |
ช่วงชั้น | อนุบาล,ประถม |
ผู้อำนวยการ | นายยุทธนา วงศ์ใหญ่ |
ครูผู้รับผิดชอบ | นางสาวระพีพรรณ นาวา |
1.1 จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโภชนาการการกินและ ระวังภาวะทุพโภชนาการให้กับนักเรียน เทอมละ 1 ครั้ง
- ร้อยละ 90 นักเรียนหันมาบริโภคผลไม้มากกว่าขนมหวาน
- ร้อยละ 85 นักเรียนกินอาหารเหลือทิ้งลดลง
2.1 ให้ผู้รับผิดชอบหลักด้านโครงการอาหารกลางวันของโรงเรียนเข้ารับการอบรม
- ผู้รับผิดชอบโครงการฯ มีประสิทธิภาพการทำงานที่ดีขึ้น ร้อยละ 80
4.1 ทำกระชัง 4.2 นำปลานิลลงในกระชัง 4.3 ดูแลให้อาหาร ติดตามผลการเจริญเติบโต
- ร้อยละ 70 ของนักเรียนได้เรียนรู้วิธีการเลี้ยงปลานิลในกระชังและการจัดจำหน่ายสู่ชุมชน
3.1 สนับสนุนนักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนา เตี้ย ได้รับดื่มนมอย่างน้อยวันละ 2 กล่อง 2 เวลา หลังอาหารเช้าและกลางวัน
- ร้อยละ 100 ของนักเรียนมีโภชนาการที่ดีขึ้น
3.1 จัดเตรียมสถานที่
3.2 นำไก่มาลงในโรงเลี้ยงไก่ ให้อาหารไก่ ดูแลรักษาทำความสะอาดโรงเลี้ยงไก่
3.3 เก็บไข่ไก่และนำไปขายสู่ชุมชน นำรายได้มาสนับสนุนอาหารกลางวันนักเรียน
- ร้อยละ 80 ของนักเรียนได้เรียนรู้การเลี้ยงไก่ไข่และการจำหน่าย
1.1 ครูทุกคนจัดทำแผนการสอนที่มีการบูรณาการ 1.2 จัดทำสื่อการสอน ใบความรู้และใบงานที่สอดคล้องกับแผนบูรณาการ
- ร้อยละ 100 นักเรียนได้รับการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
2.1 จัดเตรียมสถานที่สำหรับปลูกผัก 2.2 หว่านเมล็ดพืชผักที่ต้องการปลูก ดูแลรดน้ำ 2.3 ติดตามผลการเจริญเติบโตของพืชผัก
- ร้อยละ 100 โรงเรียนบ้านฮ่างต่ำร่มรื่น มีพื้นที่กว้างขวางเพียงพอต่อการทำกิจกรรมการเกษตรต่างๆ
- ร้อยละ 75 ครูโรงเรียนบ้านฮ่างต่ำได้รับความรู้จากปราชญ์ชาวบ้านเรื่อง การทำสวนโดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง
1.1 ประชุมกำหนดวันวางแผนและนโยบาย 1.2 ดำเนินการวางและนโยบาย
- คณะครูโรงเรียนบ้านฮ่างต่ำ ร้อยละ 100 มีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมต่างๆของโครงการฯ
- ผู้รับผิดชอบโครงการฯ มีประสิทธิภาพการทำงานที่ดีขึ้น ร้อยละ 80
6.1 ไถนา
6.2 นำเมล็ดเพาะกล้า รอจนกล้าข้าวโต
6.3 ถอนกล้าข้าว เตรียมพร้อมสำหรับดำนา
6.4 ติดตามผลการเจริญเติบโต
6.5 เกี่ยวข้าว ตีข้าว และนำไปข้าวสี นำผลผลิตที่ไปสนับสนุนอาหารกลางวันนักเรียน
- ร้อยละ 80 นักเรียนได้เรียนรู้การทำนาและการนำผลผลิตที่ได้ไปประกอบอาหาร
1.1 ครูประจำชั้นนำเครื่องชั่งน้ำหนักและที่วัดส่วนสูง ไปวัดนักเรียนในชั้นเรียนของตนเอง และคัดกรองนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนา อ้วน ผอม สูง เพื่อนำไปทำกิจกรรมต่อไป
- ร้อยละ 100 ของนักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการได้รับการติดตามดูแลจากคุณครู
5.1 เตรียมบ่อปลาดุก 5.2 นำปลาดุกลงในบ่อซีเมนต์ 5.3 ดูแลให้อาหาร ติดตามผลการเจริญเติบโต 5.4 นำปลาดุกไปขายราคาถูกให้ชุมชนนำเงอนมาสนับสนุนอาหารกลางวันนักเรียน
- ร้อยละ 70 ของนักเรียนได้เรียนรู้วิธีการเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์และการจัดจำหน่ายสู่ชุมชน
2.1 แบ่งหน้าที่การทำงาน หาผู้ดูแลรับผิดชอบหลัก 2.2 ดำเนินกิจกรรมตามแผนที่วางไว้ 2.3 ติดตามผลการดำเนินงาน และนำผลที่ได้ไปปรับปรุงแก้ไขต่อไป
- ร้อยละ 85 ของระบบสุขาภิบาลของโรงเรียนมีประสิทธิภาพขึ้น
- ร้อยละ 100 ของสุขลักษณะของแม่ครัวและผู้สัมผัสอาหารปลอดภัย
- ร้อยละ 80 ของระบบการตรวจสอบคุณภาพนมโรงเรียนดีขึ้น