ชื่อโรงเรียน | โรงเรียนบ้านต้นรุง |
สังกัด | สฟป.เชียงใหม่เขต2 |
หน่วยงานต้นสังกัด | สพป.เชียงใหม่ เขต 2 |
ที่อยู่โรงเรียน | จังหวัดเชียงใหม่ 50190 |
จำนวนนักเรียน | 160 คน |
ช่วงชั้น | ปฐมวัย,อนุบาล,ประถม |
ผู้อำนวยการ | นายปิยพงศ์ เชาว์ประเสริฐ |
ครูผู้รับผิดชอบ | นางสาวจุฑามาศ พิกุลทอง |
- ตรวจสุขภาพประจำวันของนักเรียน
- แปรงฟันหลังรับประทานอาหาร
- ออกกำลังกายตอนเช้า
1.นักเรียนชั้น ป.1 – ป.6 มีสุขภาพที่และรู้จัดการรักษาความสะอาดของร่างกาย 2.นักเรียนได้ออกกำลังตอนเช้า
1.จัดทำฐานข้อมูลน้ำหนัก ส่วนสูงแปลผล นำข้อมูลไปใช้ในการแก้ไขปัญหา เด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ 2.คัดกรองนักเรียนกลุ่มเสี่ยงที่มีปัญหาทุพโภชนาการ 3.จัดทำแบบบันทึกอาหารเสริมนม
1.นักเรียนมีฐานข้อมูลน้ำหนัก ส่วนสูงที่แปลผลภาวะโภชนาการ 2.โรงเรียนนำฐานข้อมูลไปใช้ในการแก้ไขปัญหานักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ 3.นักเรียนร้อยละ 80 มีภาวะโภชนาการเหมาะสมกับวัย 4.นักเรียนร้อยละ 80 ได้รับอาหารเสริมนม
1.ประชุมคณะครูเพื่อระดมความคิดในการกำหนดนโยบายทิศทางการดำเนินงานของโครงการ 2.ประชุมผู้ปกครองเพื่อแจ้งนโยบายและทิศทางการดำเนินงานของโครงการและขอความร่วมมือในการมีส่วนร่วมในกิจกรรม
1.การดำเนินกิจกรรมเป็นในทิศทางที่วางไว้โดยได้รับความร่วมมือจากนักเรียนและคณะครู 2.การดำเนินกิจกรรมเป็นในทิศทางที่วางไว้โดยได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครองและผู้ประกอบการอาหาร
ให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้ยาและการใช้ห้องพยาบาล ให้ความรู้ การปฐมพยาบาลเบื้องต้น
1.นักเรียนได้รับความรู้เกี่ยวกับยาสามัญประจำบ้าน 2.นักเรียนร้อยละ80 มีความพึงพอใจต่อการใช้บริการห้องพยาบาลของโรงเรียน 5.นักเรียนร้อยละ 80 รู้จักการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
- เก็บเศษอาหารและผลไม้จากโรงอาหาร
- นำไปใส่ในกะละมังที่เลี้ยงไส้เดือน
- ไส้เดือนย่อยสลายเศษอาหารกลายเป็นปุ๋ย
- นำปุ๋ยที่ได้ไปไส้ต้นไม้และนำไปบรรจุถุงขาย
5.1 เพื่อให้นักเรียน มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถปฏิบัติได้เกี่ยวกับการเลี้ยงไส้เดือน 5.2 เพื่อให้นักเรียนนำความรู้ ความสามารถในการเรียนรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันของนักเรียนเวลาที่อยู่กับครอบครัวได้ 5.3 เพื่อสร้างแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน 5.4 เพื่อสนับสนุนโครงการอาหารกลางวันในโรงเรียน 5.5 เพื่อให้นักเรียนได้มีทักษะในการทำงานเป็นทีม มีจิตสาธารณะ เรียนรู้หลักการแห่งสหกรณ์
การปลูกผักปลอดสารพิษและได้รู้จักการเลือกผักที่ดีต่อสุขภาพและนำผักที่ได้มาจัดทำอาหารกลางวันของนักเรียน
1.นักเรียนได้รับความรู้ในการปลูกผักปลอดสารพิษและได้รู้จักการเลือกผักที่ดีต่อสุขภาพ
2.นักเรียนได้ตรวจสอบ / ประเมินการจัดการอาหารกลางวันของโรงเรียน
3.นักเรียนได้รับความรู้การปลูกผักที่ปลอดภัย
4.นักเรียนร้อยละ 80 รู้จักเลือกกินอาหาร ครบ 5 หมู่ และอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย
- 11886.jpg
- 11892.jpg
- 11894.jpg
- 11897.jpg
- 65465568_2227794494198765_5379200213275639808_n.jpg
- 69362533_367827257453930_3145749212843474944_n.jpg
- 69384004_389173795115079_6632193253288443904_n.jpg
- 69517912_2357131704551317_4518283712533626880_n.jpg
- 69857222_2254971434795671_6710002289572052992_n.jpg
- 70264152_931272770542652_1225663617647509504_n.jpg
- LINE_ALBUM_รณรงค์ลูกน้ำยุงลาย2564_๒๒๐๕๐๔_0.jpg
๑. ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งกู่ และอื่น ๆร่วมกันวางแผนดำเนินการ ๒. ขอความร่วมมือให้ นักเรียนร่วมกันจัดทำป้ายความรู้เกี่ยวกับการกำจัดลูกน้ำยุงลาย ๓. นักเรียนและครูวางแผนการจัดรูปแบบขบวนในการเดินรณรงค์ พร้อมทั้งให้นักเรียนออกแบบชุดยุงลาย ในการเดินรณรงค์การป้องกันลูกน้ำยุงลายและไข้เลือดออกเพื่อให้ความรู้แก่ประชนชน ๔. สรุปการดำเนินงาน
๑. นักเรียนและชุมชนมีส่วนร่วมในการกําจัดลูกน้ำยุงลาย และแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในบ้านเรือน
และชุมชน
๒. ประชาชนในชุมชน มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกและมีพฤติกรรมที่ถูกต้อง
เหมาะสมในการป้องกันไม่ให้เกิดโรคไข้เลือดออก
๓. ประชาชนให้ความร่วมมือในการดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก
๔. ทำให้ประชาชนเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ