ชื่อโรงเรียน | โรงเรียนอนุบาลสุพรรณบุรี |
สังกัด | สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประ |
หน่วยงานต้นสังกัด | สพป.สุพรรณบุรี เขต 1 |
ที่อยู่โรงเรียน | 15 จังหวัดสุพรรณบุรี 72000 |
จำนวนนักเรียน | 1,937 คน |
ช่วงชั้น | อนุบาล,ประถม |
ผู้อำนวยการ | นางเภารัมย์ภา อาสา |
ครูผู้รับผิดชอบ | นางสาวรุ่งทิพย์ ศรีสุวรรณ |

- ประชุมหารือทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเพื่อกำหนดแนวทางการดำเนินงาน(ปี 2565)
- เสนอโครงการให้ผู้บริหารเพื่อพิจารณาอนุมัติ
- ประชาสัมพันธ์โครงการ
- ออกคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการรับผิดชอบในการปฏิบัติงานด้านต่างๆ
- ดำเนินการตามโครง
- สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการเสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ 7.จัดทำป้ายนิเทศให้ความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอาหารที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการไว้ในโรงอาหาร(ปี2564) 8.จัดกิจกรรมการเรียนรู้จากป้ายนิเทศ โดยให้นักเรียนศึกษา ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (ปี2564)
- จัดอภิปรายกลุ่มเพื่อให้นักเรียนนำผลที่เกิดจาการเรียนรู้ไปประยุกต์ใช้(ปี2564) 10.จัดรายการอาหารกลางวัน โดยใช้โปรแกรม Thai school lunch (เป็นแนวทาง และหลักการเพื่อเทียบเคียงกับวัตถุดิบที่มี) (ปี2564-2565) 11.ประชาสัมพันธ์ สร้างความรอบรู้ด้านอาหารปลอดภัยและการรู้จักอ่านฉลาก อาหารทุกครั้งก่อนบริโภค โดยแกนนำนักเรียน 12.ครูประจำชั้น และครูผู้สอนสอดแทรก ให้ความรู้ด้านอาหาร และโภชนาการ(ปี 2564) 13.ชั่งน้ำหนัก และวัดส่วนสูง ของนักเรียน ภาคเรียนละ 2 ครั้ง และจัดทำระบบ สารสนเทศ เพื่อคัดกรองนักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการและติดตาม แก้ไข แบบมีส่วนร่วม(ปี 2564)
1.จัดประชุมวางแผนการดำเนินโครงการ
2.ผู้บริหารอนุมัติโครงการ
3.จัดประชาสัมพันธ์โครงการให้ความรู้ด้านอาหารกับนักเรียนในโรงเรียน
4.คณะกรรมการรับผิดชอบในการปฏิบัติงานด้านต่างๆตามคำสั่งแต่งตั้ง
5.ดำเนินกิจกรรมตามโครงการ
6.ได้รับการอนุมัตฺโครงการ
7.จัดทำป้ายนิเทศให้ความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอาหารที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการติดไว้ที่โรงอาหาร
8.จัดกิจกรรมการเรียนรู้จากป้ายนิเทศ โดยให้นักเรียนศึกษา ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในระดับชั้นอนุบาลและประถมศึกษา
9. จัดอภิปรายกลุ่มเพื่อให้นักเรียนนำผลที่เกิดจาการเรียนรู้ไปประยุกต์ใช้ในระดับชั้นประถมศึกษา
10.จัดรายการอาหารกลางวัน โดยใช้โปรแกรม Thai school lunch (เป็นแนวทาง
และหลักการเพื่อเทียบเคียงกับวัตถุดิบที่มี)
11.ประชาสัมพันธ์ สร้างความรอบรู้ด้านอาหารปลอดภัยและการรู้จักอ่านฉลาก
อาหารทุกครั้งก่อนบริโภค
12.ครูประจำชั้น และครูผู้สอนสอดแทรก ให้ความรู้ด้านอาหาร และโภชนาการ ในชั้นเรียนและการเข้าแถวตอนเช้า
13.ชั่งน้ำหนัก และวัดส่วนสูง ของนักเรียน ภาคเรียนละ 2 ครั้ง และจัดทำระบบ สารสนเทศ เพื่อคัดกรองนักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการและติดตาม แก้ไข