ชื่อโรงเรียน | โรงเรียนบ้านควนพระสาครินทร์ |
สังกัด | ?? |
หน่วยงานต้นสังกัด | ?? |
ที่อยู่โรงเรียน | หมู่ที่ 2 ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง |
จำนวนนักเรียน | 243 คน |
ช่วงชั้น | อนุบาล,ประถม |
ผู้อำนวยการ | นางพรรณชนกชลเจริญ |
ครูผู้รับผิดชอบ | นางเพ็ญศรี พรสุริยา |
- จัดทำโครงการ
- รายงานการเงิน ปิดงวด
บรรลุตามเป้าหมาย
- จัดทำโครงการ
- รายงานการเงินปิดงวด
คืนเงินดอกเบี้ย
- ให้ควาารู้แก่นักเรียนเกี่ยวกับการเลี้ยงไก่ไข่
- อธิบายความสำคัญของการเลี้ยงไก่ไข่
- นักเรียนร่วมกันสรุปการเลี้ยงไก่ไข่
- แบ่งกลุ่มนักเรียนเพื่อรับผิดชอบในการเลี้ยงไก่ไข่
- นำผลผลิตขายร้านสหกรณ์โรงเรียน
- โครงการอาหารกลางวันมาซื้อที่ร้านสหกรณ์โรงเรียน
- สรุปประเมินผล
ผลผลิต : มีไข่ไก่ปลอดสารพิษสนับสนุนอาหารกลางวัน ผลลัพธ์ : นักเรียนมีสุขภาพแข็งแรง สมส่วน
นักเรียนมีการรวมกลุ่มทำกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง สามารถนำความรู้ไปขยายผลสู่ที่บ้านและชุมชนได้
1.ประชุมกับครูโภชนาการ กำหนดเมนูอาหาร 2.จัดเตรียมโรงเรือน 3.สอนนักเรียนให้เข้าใจวิธีการดูแลรักษา 4.นำก้อนเห็ดเข้าโรงเรือน 5.ดูแลรักษาโดยการรดน้ำที่พื้นเพื่อให้โรงเรือนมีความเย็นอยู่ตลอด เก็บเกี่ยว 6.ดูแลว่ามีเชื้อราที่ก้อนเห็ดหรือไม่ถ้ามีให้นำไปทิ้ง 7.นำส่งสหกรณ์โรงเรียน จำหน่ายให้โครงการอาหารกลางวัน
ผลผลิต : นักเรียนได้รับสารอาหาร โปรตีนเพิ่มเติมจากเนื้อสัตว์ ผลลัพธ์ : นักเรียนสุขภาพแข็งแรง
1.ประชุมกับครูโภชนาการ กำหนดเมนูอาหาร 2.จัดเตรียมบ่อปลา ใส่ปูนขาว ใส่น้ำและมูลสัตว์ปล่อยทิ้งไว้ 3.สอนให้นักเรียนเข้าใจวิธีการให้อาหารดูแลรักษา 4.ปล่อยลูกปลาลงในบ่อ 5.ให้อาหารวันละ 2 ครั้ง 6.สังเกตุน้ำว่าเสียหรือยังและเปลี่ยนน้ำสัปดาห์ละครั้ง 7.เมื่ออายุครบ 4 เดือนก็จับปลาได้ 8.นำส่งสหกรณ์โรงเรียน จำหน่ายให้โครงการอาหารกลางวัน (เลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์ขนาด 2*3 เมตร 3 บ่อ จำนวน 3,000 ตัว แบ่งเวรให้นักเรียนรับผิดชอบในการดูแลและให้อาหารปลาดุก)
ผลผลิต : มีปลาดุกใช้เป็นอาหารกลางวันให้กับนักเรียน ผลลัพธ์ : นักเรียนมีสุขภาพแข็งแรง สมส่วน นักเรียนสามารถปฎิบัติได้จริงและนำความรู้ไปใช้ที่บ้านและชุมชนได้
- จัดเตรียมโรงเรือน มูลสัตว์ เศษพืช อีเอ็ม วัสดุอุปกรณ์
- สอนนักเรียนให้เข้าใจการเตรียม การดูแล ขั้นตอนการทำการนำไปใช้
- นำวัสดุที่เตรียมไว้มาผสมรวมกันเก็บหมักไว้ในโรงเรือน
- กลับกองปุ๋ยสัปดาห์ละครั้ง
- ประมาณ 1 เดือน นำไปใส่ผัก ผลไม้ได้
ผลผลิต : ได้ปุ๋ยหมักเพื่อใช้สำหรับการเกษตรในโรงเรียน ผลลัพธ์ : ได้ผัก ผลไม้ สนับสนุน อาหารกลางวัน โรงเรียนอย่างเพียงพอ นักเรียนนำความรู้ที่ได้ไปทำที่บ้านและชุมชน
1.จัดทำหนังสือเชิญประชุม 2.จัดวาระการจัดเตรียมเอกสาร 3.ประชุม 4.สรุป
การมีส่วนร่วมกับชุมชนและการให้ความร่วมมือระหว่างผู้ปกครองนักเรียนกับโรงเรียน เพื่อให้งานออกมาสำเร็จตามเป้าหมายที่ตั้งไว้
1.เตรียมการ 2.กำหนดวันประชุม 3.เตรียมการประชุม 4.ดำเนินการประชุม 5.ผลการประชุม 6.นำผลประชุมไปปฏิบัติ
มีการทำกิจกรรมต่อเนื่อง ได้รับความร่วมมือจากคณะทำงานเป็นอย่างดี
- นักเรียนเตรียมแปลงผักนำปุ๋ยหมักปุ๋ยคอกมาใส่
- เตรียมอุปกรณ์ เช่น จอบ คราด บัวรดน้ำ เมล็ดผัก
- นักเรียนรับผิดชอบ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 แปลงละ 3 คน
มีผลผลิตเพียงพอต่อความต้องการ
ขึ้นตอนที่ 1 นำเมล็ดถั่วเขียวตามจำนวนที่ต้องการ นำมาแช่ในน้ำอุ่นอุณหภูมิประมาณ 55-60 องศา แช่ไว้ประมาณ ครึ่งถึง 1 ชั่วโมง แล้วนำเมล็ดถั่วเขียวมาล้างให้สะอาด คัดเอาสิ่งที่ไม่ต้องการออกไปให้หมดเช่น กรวด หิน ดิน ทราย เศษหญ้า และเมล็ดที่ไม่สมบูรณ์ เช่นเมล็ดที่ถูกแมลงเจาะ กิน และเมล็ดที่เสื่อมคุณภาพ ออกทั้งหมด เพราะอาจจะทำให้ถั่วงอกไม่มีคุณภาพและอาจเน่าเสียที่หลังได้ ต่อไปให้แช่น้ำต่อไปอีกประมาณ 8-10 ชั่วโมง หรือแช่ไว้ 1 คืน
ขั้นตอนที่ 2 เมื่อแช่น้ำครบชั่วโมงหรือเช้าวันรุ่งขึ้น ให้เราล้างเมล็ดถั่วเขียวที่แช่น้ำทั้งหมด แล้วนำขึ้นมาผึ่งให้สะเด็ดน้ำ อาจจะใช้ตะแกรง หรือกระด้งที่มีความสะอาด สักครู่เมล็ดถั่วเขียว ก็จะพองตัวขึ้นปริมาณก็จะเพิ่ม ประมาณ 2 เท่าจากในตอนแรก แล้วเอาเมล็ดในภาชนะเพาะปิดทับเมล็ดด้วยผ้า ขนหนูที่เราเตรียมไว้ จากนั้นรดน้ำให้ชุ่มทุก 2-3 ชั่วโมง
ขั้นตอนที่ 3 ใช้ถุงพลาสติกสีดำปิดคลุมภาชนะเอาไว้ เพื่อไม่ให้โดนแสง จากนั้นหาที่ร่มเย็นนำไปวางไว้เพื่อเพิ่มความชุ่มชื่นและการงอกของเมล็ดถั่ว
ขั้นตอนที่ 4 ขั้นตอนนี้ก็จะใช้เวลาถึง 3 วัน ประมาณ 65-72 ชั่วโมง นำถั่วงอกออกมาล้าง แล้วเอาเปลือกถั่วเขียวออกเพราะจะมีเลือกหล่นหรือปะปนอยู่กับ ถั่วงอก ก็จะได้ถั่วงอกที่ปลอดภัย สำหรับการบริโภค หรือนำไปขายในตลาดได้ ระยะเวลาในการเพาะถั่วงอกทั้งนี้อาจจะขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ และฤดูกาลด้วย
ได้ถั่วงอกตามต้องการและเพียงต่อโครงการอาหารกลางวัน
- สำรวจนักเรียนที่เป็นเหา
- ประชุมนักเรียนที่เป็นเหา
- ให้ความรู้วิธีการกำจัดเหา ให้นักเรียนหวีเหาทุกวัน ทุกวันตอนเที่ยงเป็นเวลา 1 สัปดาห์
- กำจัดเหาโดยใช้สมุนไพรกำจัดเหา
- นักเรียนไม่เป็นเหา
- นักเรียนมีสุขภาพดี
1.คณะครูประชุม เลือกนักเรียน เลือกผู้ปกครอง เพื่อไปศึกษาดูงาน
ได้รับความรู้ นอกเหนือจากที่โรงเรียนมีอยู่ ได้มีข้อแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างโรงเรียน ศึกษาแนวทางเพื่อสานต่อ
สรุปโครงการ ค่าใช้จ่ายงวดที่1
ตรงตามเป้าหมายที่ตั้งไว้
- สำรวจนักเรียนที่เป็นเหา
- ประชุมนักเรียนที่เป็นเหา
- ให้ความรู้วิธีการกำจัดเหา ให้นักเรียนหวีเหาทุกวัน ทุกวันตอนเที่ยงเป็นเวลา 1 สัปดาห์
- กำจัดเหาโดยใช้สมุนไพรกำจัดเหา
- นักเรียนไม่เป็นเหา - นักเรียนมีสุขภาพดี
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 37 คน ปลูกและดูแลรักษากล้วยน้ำว้าที่ปลูก คนละ 1 ต้น
ผลผลิต : นักเรียนมีกล้วยน้ำว้าบริโภค
ผลลัพธ์ : นักเรียนสุขภาพแข็งแรง ระบบขับถ่ายดี
นักเรียนมีความรับผิดชอบ นำความรู้ที่ได้ไปใช้ที่บ้าน
- ผู้นำอนามัยนักเรียนให้ความรู้เสียงตามสายตอนเที่ยงทุกวัน
- นักเรียนมีความรู้ด้านอนามัย
- นักเรียนมีทักษะการใช้ชีวิต
- นักเรียนมีสุขภาพกาย ใจ ที่ดี
- นักเรียนออกกำลังกายเต้นแอโรบิค ทุกวันพุธ
- นักเรียนกายบริหารค่านิยม 12 ประการ ทุกวันตอนเช้า หน้าเสาธง
- นักเรียนมีสุขภาพแข็งแรง - นักเรียนมีสุขภาพจิตดี
ประชุมกับครูโภชนาการ กำหนดเมนูอาหาร จัดเตรียมโรงเรือน วัสดุอุปกรณ์ สอนนักเรียนให้เข้าใจวิธีการเลี้ยงการดูแลให้อาหารน้ำ นำลูกเป็ดมาปล่อย ให้น้ำ อาหาร อายุประมาณ 4 เดือน จัดจำหน่าย นำส่งสหกรณ์โรงเรียนจำหน่ายให้โครงการอาหารกลางวัน
ผลผลิต : เลี้ยงเป็ดเนื้อประมาณ 30 ตัว เพื่อเพิ่มสารอาหารโปรตีน ผลลัพธ์ : นักเรียนสุขภาพแข็งแรง สมบูรณ์ นักเรียนนำความรู้ที่ได้ไปใช้และขยายผลต่อที่บ้านและชุมชน
- ประชุมกับครูโภชนาการ กำหนดเมนูอาหาร
- จัดเตรียมเสาคอนกรีต พันธุ์แก้วมังกร ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก
- สอนนักเรียนให้เข้าใจวิธีการเตรียม ปลูก การดูแลรักษา
- ขุดหลุมปลูก ฝังเสาคอนกรีต ใส่ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก ปลูก มัดเชือก
- ดูแลรักษารดน้ำ 2 - 3 วัน/ครั้ง กำจัดวัชพืช ใส่ปุ๋ย
- อายุประมาณ 2 ปี เก็บเกี่ยวผลผลิต ึ7. นำส่งสหกรณ์โรงเรียน จำหน่ายให้โครงการอาหารกลางวัน
ผลผลิต : นักเรียนมีแก้วมังกรรับประทาน
ผลลัพธ์ : นักเรียนได้รับสารอาหารเพิ่ม
นักเรียนนำความรู้ที่ได้ไปปฎิบัติที่บ้านและชุมชน
- จัดป้ายให้ความรู้นักเรียนเกี่ยวกับการเลือกซื้ออาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย
- ครูอธิบายความสำคัญของอาหารแต่ละประเภท คุณค่าของสารอาหารแต่ละชนิดควบคู่กับภาพประกอบ
- นักเรียนร่วมกันสรุปการเลือกซื้ออาารที่มีปรโยชน์ต่อร่างกาย
- ครูนำภาพอาหารแต่ละชนิดให้นักเรียนเลือกว่าอาหารชนิดใดมีประโยชน์ต่อร่างกายและไม่มีประโยชน์ต่อร่างกาย
- ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปอีกครั้ง
- แบ่งกลุ่มให้นักเรียนเขียนชื่ออาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย
- ครูตรวจความถูกต้องของการเขียนรายงาน
เด็กให้ความร่วมือ สนใจในงานกิจกรรมที่จัดขึ้น
- จัดเตรียมโรงเรือน มูลสัตว์ เศษพืช อีเอ็ม วัสดุอุปกรณ์
- สอนนักเรียนให้เข้าใจการเตรียม การดูแล ขั้นตอนการทำการนำไปใช้
- นำวัสดุที่เตรียมไว้มาผสมรวมกันเก็บหมักไว้ในโรงเรือน
- กลับกองปุ๋ยสัปดาห์ละครั้ง
- ประมาณ 1 เดือน นำไปใส่ผัก ผลไม้ไ
ผลผลิต : ได้ปุ๋ยหมักเพื่อใช้สำหรับการเกษตรในโรงเรียน
ผลลัพธ์ : ได้ผัก ผลไม้ สนับสนุน อาหารกลางวัน โรงเรียนอย่างเพียงพอ
นักเรียนนำความรู้ที่ได้ไปทำที่บ้านและชุมชน
- ประชุมกับครูโภชนาการ กำหนดเมนูอาหาร
- จัดเตรียมอุปกรณ์ เมล็ดถั่วเขียว
- สอนนักเรียนให้เข้าใจวิธีการเตรียมเพาะการดูแลรักษา
- แช่ถั่วเขียวไว้ 12 ชั่วโมง
- นำถั่วเขียวไปเพาะในวัตถุอุปกรณ์ที่เตรียมไว้
- ดูแล รดน้ำ
- ประมาณ 3 วัน เก็บเกี่ยวผลผลิต
- นำส่งสหกรณ์โรงเรียน จำหน่ายให้โครงการอาหารกลางวัน
ผลผลิต : - เพาะถั่วงอกเป็นอาหารกลางวัน
- เพาะถั่วงอกที่บ้านเพื่อเป็นอาหารและแนะนำผู้ปกครอง
ผลลัพธ์ : - นักเรียนมีผักปลอดสารพิษไว้บริโภค - ผู้ปกครองรู้วิธีเพาะถั่วงอกที่หลากหลายวิธี
นักเรียนได้ความรู้และนำความรู้ได้ไปทำที่บ้าน
- ประชุมกับครูโภชนาการ กำหนดเมนูอาหาร
- จัดเตรียมเมล็ดพันธุ์
- สอนนักเรียนให้เข้าใจวิธีการเตรียม ปลูก การดูแลรักษา
- เตรียมดิน ตากดิน 7 วัน
- ใส่ปุ๋ยคอก
- การปลูก ปลูกโดยวิธีโรยเมล็ด
- ดูแลรักษาโดยการรดน้ำ พรวนดิน กำจัดวัชพืช เก็บเกี่ยว
- นำส่งสหกรณ์โรงเรียน จำหน่ายให้โครงการอาหารกลางวัน (นักเรียนเตรียมแปลงปลูกผักแปลงละ 3 คน โดยปลูก ผักบุ้ง ผักกวางตุ้ง ผักกาดขาว สลับหมุนเวียนกัน)
ผลผลิต : มีผักปลอดสารพิษสนัยสนุนอาหารกลางวันอย่างเพียงพอ
ผลลัพธ์ : นักเรียนมีสุขภาพแข็งแรง สมส่วน
นักเรียนมีการรวมกลุ่มทำกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง สามารถนำความรู้ไปขยายผลสู่ที่บ้านและชุมชนได้
- ตรวจสุขภาพนักเรียน
- วันจันทร์ ตรวจเสื้อผ้า
- วันอังคาร ตรวจฟัน - วันพุธ ตรวจเล็บ - วันพฤหัสบดี ตรวจผิวหนัง - วันศุกร์ ตรวจผม - ชั่งน้ำหนักนักเรียน ภาคเรียนละ 2 ครั้ง เดือนพฤษภาคม เดือนสิงหาคม เดือนพฤศจิกายน เดือนกุมภาพันธ์
- ทดสอบสมรรถภาพนักเรียน ปีละ 1 ครั้ง
- นักเรียนมีสุขภาพอนามัยที่ดี - นักเรียนมีทักษะในการดูแลสุขภาพ
ขั้นตอนการปฎิบัติงาน ขั้นตอนที่ 1 แจกแบบฟอร์มการฝากเงินแก่ครูประจำชั้น ขั้นตอนที่ 2 ครูประจำชั้นดำเนินการและแจ้งผู้ปกครองทราบโดยใช้สมุดเล่มเล็ก ขั้นตอนที่ 3 ครูประจำชั้นดำเนินการฝากกับธนาคาร เดือนละครั้ง ขั้นตอนที่ 4 สรุปผล
นักเรียนได้ความรู้ และรู้จักการออม
- สมัครสมาชิกชมรมอย.น้อย
- ประชุมนักเรียน
- แบ่งหน้าที่กันตรวจ - ตรวจโรงอาหาร - ตรวจห้องพยาบาล - ตรวจห้องน้ำ - ตรวจผลิตภัณฑ์ สุขภาพ
- ให้ความรู้ด้านสุขภาพอนามัยหน้าเสาธง
- จัดบอร์ดให้ความรู้
- นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับการเลือกซื้ออาหารที่มีประโยชน์ - นักเรียนมีสุขภาพอนามัยที่ดี
- ประชุมกับครูโภชนาการ กำหนดเมนูอาหาร
- จัดเตรียมบ่อปลา ใส่ปูนขาว ใส่น้ำและมูลสัตว์ปล่อยทิ้งไว้
- สอนให้นักเรียนเข้าใจวิธีการให้อาหารดูแลรักษา
- ปล่อยลูกปลาลงในบ่อ
- ให้อาหารวันละ 2 ครั้ง
- สังเกตุน้ำว่าเสียหรือยังและเปลี่ยนน้ำสัปดาห์ละครั้ง
- เมื่ออายุครบ 4 เดือนก็จับปลาได้
- นำส่งสหกรณ์โรงเรียน จำหน่ายให้โครงการอาหารกลางวัน
(เลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์ขนาด 2*3 เมตร 3 บ่อ จำนวน 3,000 ตัว แบ่งเวรให้นักเรียนรับผิดชอบในการดูแลและให้อาหารปลาดุก)
ผลผลิต : มีปลาดุกใช้เป็นอาหารกลางวันให้กับนักเรียน
ผลลัพธ์ : นักเรียนมีสุขภาพแข็งแรง สมส่วน
นักเรียนสามารถปฎิบัติได้จริงและนำความรู้ไปใช้ที่บ้านและชุมชนได้
- แต่งตั้งผู้นำนักเรียนด้านทันตสุขภาพ จำนวน 24 คน เพื่อดูแลนักเรียนแปรงฟัน หลังอาหารกลางวัน
- นักเรียนแปรงฟัน หลังอาหารกลางวันทุกวัน
- ผู้นำ/ ครูประจำชั้น ตรวจสุขภาพปากและฟันนักเรียนทุกวันอังคาร
- จัดกิจกรรมประกวดนักเรียนฟันสวย ภาคเรียนละ 1 ครั้ง
- นักเรียน ฟันไม่ผุ
- นักเรียนมุสุขภาพดี
- ประชุมกับครูโภชนาการ กำหนดเมนูอาหาร
- จัดเตรียมโรงเรือน วัสดุอุปกรณ์
- สอนนักเรียนให้เข้าใจวิธีการเลี้ยงการดูแลให้อาหารน้ำ
- นำลูกเป็ดมาปล่อย
- ให้น้ำ อาหาร
- อายุประมาณ 4 เดือน จัดจำหน่าย
- นำส่งสหกรณ์โรงเรียนจำหน่ายให้โครงการอาหารกลางวัน
ผลผลิต : เลี้ยงเป็ดเนื้อประมาณ 30 ตัว เพื่อเพิ่มสารอาหารโปรตีน
ผลลัพธ์ : นักเรียนสุขภาพแข็งแรง สมบูรณ์
นักเรียนนำความรู้ที่ได้ไปใช้และขยายผลต่อที่บ้านและชุมชน
นักเรียนพร้อมด้วยผู้ปกครองร่วมกันปลูกผักและนักเรียนเป็นผู้ดูแลจนได้ผลผลิต
ผลผลิต : มีผักให้นักเรียนรับประทานทั้งที่บ้านและโรงเรียน
ผลลัพธ์ : นักเรียนได้รับประทานผักทุกคน
นักเรียนมีความรับผิดชอบ และนำความรู้ที่ได้รับกลับไปใช้ที่บ้านและชุมชน
- ประชุมกับครูโภชนาการ กำหนดเมนูอาหาร
- จัดเตรียมโรงเรือน
- สอนนักเรียนให้เข้าใจวิธีการดูแลรักษา
- นำก้อนเห็ดเข้าโรงเรือน
- ดูแลรักษาโดยการรดน้ำที่พื้นเพื่อให้โรงเรือนมีความเย็นอยู่ตลอด
- เก็บเกี่ยว
- ดูแลว่ามีเชื้อราที่ก้อนเห็ดหรือไม่ถ้ามีให้นำไปทิ้ง
- นำส่งสหกรณ์โรงเรียน จำหน่ายให้โครงการอาหารกลางวัน (นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 ร่วมกันเพาะเห็ดและแบ่งเวรรับผิดชอบในการดูแล เก็บ จำหน่าย)
ผลผลิต : นักเรียนได้รับสารอาหาร โปรตีนเพิ่มเติมจากเนื้อสัตว์ ผลลัพธ์ : นักเรียนสุขภาพแข็งแรง
- จัดประชุมผู้ปกครองนักเรียน
- สร้างความเข้าใจ ให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพอนามัยนักเรียน
- ผูัปกครองมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของนักเรียน
- ผู้ปกครองนักเรียน มีสุขภาพดี ใช้ชีวิตอย่างมีความสุข
- แต่งตั้งผู้นำอนามัย จำนวน 6 คน เพื่อดูแลนักเรียนที่ออกกำลังกาย
- ประชุมผู้ปกครองนักเรียน
- ประชุมนักเรียนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์
- จัดป้ายนิเทศให้ความรู้เกี่ยวกับโรคอ้วน
- ผู้นำนักเรียนออกกำลังกายตอนเที่ยงและตอนเย็น
- นักเรียนมีร่างกายสมส่วน
- นักเรียนมีสุขภาพแข็งแรง
ขั้นตอนที่ 1 รับสมัตรเป็นสมาชิก ด้วยความสมัครใจ ขั้นตอนที่ 2 ประชุมใหญ่สามัญประจำปี เพื่อเลือกตั้งคณะกรรมการสหกรณ์นักเรียนมาดำเนินกิจการสหกรณ์ ขั้นตอนที่ 3 ประชุมคณะกรรมการสหกรณ์นักเรียน เดือนละครั้งเพื่อวางแผนการปฎิบัติงาน การซื้อ - ขาย ขั้นตอนที่ 4 ดำเนินการ มีกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนให้นักเรียนทดลองปฎิบัติ ขั้นตอนที่ 5 การทำบัญชีประจำวัน มีทั้งบัญชีรายรับ - รายจ่าย บัญชีสินค้า บัญชีสมาชิก ขั้นตอนที่ 6 สรุปผล การดำเนินงานตามวาระของคณะกรรมการสหกรณ์นักเรียน จัดสรรผลกำไรเป็นเงินปันผลให้แก่สมาชิก บางส่วนสะสมให้ไว้เป็นเงินทุนของสหกรณ์และเป็นเงินบริจาค สำหรับทำกิจกรรมสาธารณะประโยชน์
ทำกิจกรรมต่อเนื่องตลอดปีการศึกษา