ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านวังประจบ

รหัสโครงการ ศรร.1111-020 รหัสสัญญา 58-00-2265-น.20 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน

-มีแปลงที่มีสภาพดินที่ดีเหมาะกับการเพาะปลูก -มีพืชผักสวนครัวในท้องถิ่นส่งขายให้สหกรณ์

  • ปรับปรุงดินโดยวิธีธรรมชาติ เช่น ปลูกปอเทือง ใช้ปุ๋ยหมักชีวภาพ
  • ปลูกพืชผักสวนครัวในท้องถิ่น
  • ซื้อวัสดุและอุปกรณ์เตรียมการปลูก

ปลูกพืชผักหมุนเวียน ดูแลให้เจริญงอกงาม บำรุงดินอย่างสม่ำเสมอ

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

ได้รับรางวัลโรงเรียนต้นแบบสหกรณ์โรงเรียน ปีการศึกษา ๒๕๕๙

-กิจกรรมสหกรณ์นักเรียนในรูปแบบร้านค้าและออมทรัพย์ -นำผลิตผลจากการเกษตรไปขายในสหกรณ์นักเรียน -นักเรียนร้อยละ ๙๐ เป็นสมาชิกสหกรณ์ -โครงการอาหารกลางวันซื้อผลผลิตจากสหกรณ์นักเรียนไปจัดทำอาหารกลางวัน

  • นักเรียนร้อยละ ๑๐๐ มีสมุดฝากออมทรัพย์
  • นักเรียนร้อยละ ๑๐๐ เป็นสมาชิกสหกรณ์
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน
  • จัดหาผลไม้ให้นักเรียนทาน ทั้ง ๕ วัน
  • ลดอาหารหวาน มัน เค็ม
  • ปลูกผลไม้ตามท้องถิ่น
  • กิจกรรรมโครงงานสำรวจเด็กอ้วน เตี้ย ผอม
  • กิจกรรม click of

นักเรียนได้รับประทานอาหารปริมาณพลังงานและสารอาหารครบถ้วนตามความต้องการและมีสุขนิสัยที่ดีในการเลือกรับประทานอาหาร

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโภชนาการอาหารที่มีคุณค่าและเหมาะสมกับช่วงวัยให้กับครู แม่ครัว ผู้ปกครอง -จัดทำคู่มือเพื่อให้แม่ครัว ผู้ปกครองสามารถดำเนินการได้ด้วยตนเอง -น้ำหนักส่วนสูงเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน

-กิจกรรมเฝ้าระวังนำหนัก ส่วนสูง เฝ้าระวังภาวะโภชนาการ -อบรมนักเรียนแกนนำ

-แม่ครัว ผู้ปกครองมีความรู้และสามารถจัดทำอาหารที่มีคุณค่าเหมาะสมให้แก่นักเรียน -ครูมีความรู้ เกิดทักษะในการติดดามภาวะโภชนาการและสามารถแปลผลจากการชั่งน้ำหนักและส่วนสูง -ครูมีคู่มือดำเนินงาน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

โรงเรียนมีโครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน -กิจกรรมการบริหาร -กิจกรรมการล้างมือ

-จัดหาวัสดุ อุปกรณ์เพื่อเสริมทักษะและพัฒนาการ -จัดประกวดฟันสวยโดยนักเรียนแกนนำ -กิจกรรมออกกำลังกายเพื่อลดภาวะเด็กอ้วน เตี้ย ผอม

-นักเรียนมีการฝึกปฎิบัติอย่างสม่ำเสมอจนเกิดลักษณะนิสัยที่ดี -นักเรียนมีความรู้เรื่องสุขภาพ

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ
  • กิจกรรมกลุ่มสี ดูแลรักษาความสะอาดตามเขตรับผิดชอบ
  • ดูแลรักษาความสะอาดห้องเรียนตามเวรห้องเรียน
  • กิจกรรมคัดแยกขยะ

แบ่งนักเรียนตามกลุ่มสี รับผิดชอบทำความสะอากตามพื้นที่รับผิดชอบทั้งเช้าและเย็น ให้นักเรียนคัดแยกขยะก่อนทิ้งลงถังเพื่อนำไปคัดแยกและส่งไปขายต่อ

จัดทำธนาคารขยะของโรงเรียน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

-จัดห้องพยาบาลเอกเทศ -จัดหาเวชภัณฑ์ -ตรวจสุขภาพนักเรียน

-จัดห้องพยาบาลเอกเทศแยกชาย -หญิง -จัดหาเวชภัณฑ์ให้เพียงพอต่อจำนวนนักเรียน -ตรวจสุขภาพนักเรียนโดยแกนนำนักเรียนและเจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ

โรงเรียนมีห้องพยาบาล บริการสุขภาพนักเรียน -มียาสำหรับปฐมพยาบาลเบื้องต้น -นักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพ

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

-จัดการเรียนรู้การสอนเกี่ยวกับงานเกษตร -การจัดการเรียนรู้โภชนาการและสุขภาพอนามัย

-นักเรียนมีความรู้ ความใจเรื่องโภชนาการและสุขภาพอนามัย -นักเรียนสามารถดูแลตนเองและขยายผลสู่ครอบครัวได้ -นักเรียนได้รับความรู้ด้านโภชนาการและสุขภาพ

นักเรียนนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจำวัน นำไปปฎิบัติที่บ้านของตนและให้ความรู้กับผู้อื่นได้

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ

 

 

 

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลได้เข้ามาให้ความรู้และตรวจสุขภาพให้กับนักเรียนร่วมกับแกนนำนักเรียน โรงเรียนได้ให้คำแนะนำกับโรงเรียนในเครือข่ายในการดำเนินงานโครงการเด็กไทยแก้มใส

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

อยู่ใกล้ชุมชนที่มีพืชผักสวนครัวและผลไม้ โดยชุมชนกับโรงเรียนผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนนำพืชผักมาจำหน่ายให้กับสหกรณ์โรงเรียนเพื่อให้โครงการอาหารกลางวันของโรงเรียนได้นำมาประกอบอาหารให้กับนักเรียนซึ่งทำให้ได้ผักผลไม้ที่ปลอดสารพิษและเป็นการเพิ่มรายได้ให้กับชุมชนและสมาชิกกลุ่มการเกษตรโรงเรียนด้วย

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

ด้วยการบริหารจัดการและการวางแผนที่ดี มองการณ์ไกลของผู้บริหาร และคณะครูให้ความร่วมมือในการดำเนินตามกิจกรรมต่างๆด้วยความสามัคคี

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

จัดการอบรมให้คณะครู นักเรียน เช่น อย.น้อย , นักเรียนแกนนำ อบรมให้ผู้ปกครองและแม่ครัวในด้านของสุขโภชนาการ เพื่อนักเรียนจะได้นำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในครองครัว สามารถตรวจเพื่อนๆ น้องๆ คนใกล้ตัว ให้ความช่วยเหลือหรือแนะนำได้ แม่ครัวและผู้ปกครองก็สามารถนำความรู้ที่ได้รับมาควบคุมและปรับปรุงวิธีการปรุงอาหาร การตักอาหาร ให้กับนักเรียนและบุตรหลานให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับแต่ละคน

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

ในการดำเนินงานต่างๆโรงเรียนจะมีหนังสือแจ้งให้กับผู้ปกครองทราบและเชิญผู้ปกครองมาร่วมในการดำเนินกิจกรรมต่างๆทุกกิจกรรม
ผู้ปกครองบางท่านช่วยออกแรงในการพัฒนา การนำพืชผักมาให้โรงเรียนปลูก นำผลไม้มาให้เด็กๆทาน ทุกคนตั้งใจและเต็มใจในการร่วมกิจกรรมในทุกกิจกรรม

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

โรงเรียนปลูกพืชผักสวนครัวตามฤดูกาล มีการบำรุงดิน การเพาะเมล็ด การแยกกล้า และปลูกผักโดยแบ่งนักเรียนรับผิดชอบ

รูปภาพจากกิจกรรมการเกษตรในโรงเรียน

บำรุงดินให้ดี เพราะโรงเรียนมีปัญหาเรื่องระบบน้ำและดินไม่มีคุณภาพ ทำให้ปลูกพืชผักไม่เจริญเติบโต งอกงาม

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

โรงเรียนได้รับงบประมาณดอกผลโครงการอาหารกลางวัน ซึ่งจะดำเนินการเลี้ยงไก่ไข่ในปีการศึกษาหน้า

งบประมาณจาก สพฐ.สนับสนุน

ดำเนินการเลี้ยงไก่ไข่

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

-

-

-

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

-

-

-

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

นักเรียนอนุบาล 3-5 ปี ได้รับประทานผักและผลไม้ในปริมาณที่เพียงพอในแต่ละวัน

โรงเรียนใช้โปรแกรม Thai school lunch ในการจัดรายการอาหารทำให้นักเรียนได้รับสารอาหารที่ครบถ้วน

-

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

นักเรียนประถม 6-12 ปี ได้รับประทานผักและผลไม้ในปริมาณที่เพียงพอในแต่ละวัน

โรงเรียนใช้โปรแกรม Thai school lunch ในการจัดรายการอาหารทำให้นักเรียนได้รับสารอาหารที่ครบถ้วน

-

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

เป็นโรงเรียนขนาดเล็กมีนักเรียนตั้งแต่ชั้นอนุบาลถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เท่านั้น

-

-

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

ผู้ปกครองนักเรียนนำพืชผักมาจำหน่ายให้สหกรณ์เพื่อให้แม่ครัวนำไปประกอบอาหารให้กับนักเรียน

สอบถามจากแม่ครัว

โรงเรียนจะดำเนินการปลูกผัก บำรุงดินให้มีคุณภาพเพื่อให้ได้ผักที่ปลอดสารพิษมาจำหน่ายให้กับสหกรณ์โรงเรียนในปริมาณที่เพียงพอต่อความต้องการในการประกอบอาหารให้แก่นักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

-

-

-

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

โรงเรียนใช้โปรแกรม Thai school lunch ในการจัดอาหารแต่ละมื้อให้นักเรียน

รายการอาหารจากโปรแกรม Thai school lunch

-

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

มีการวัดน้ำหนัก ส่วนสูงนักเรียนเทอมละ 2 ครั้ง

เอกสารชั้นเรียนการชั้งน้ำหนัก ส่วนสูงเด็ก ดูจากข้อมูลนักเรียนใน DMC

แก้ไขและติดตามภาวะทุพโภชนาการของนักเรียน

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 1/12558 1/22558 2/12558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 1/22560 2/12560 2/22561 1/12561 1/22561 2/12561 2/22562 1/12562 1/22562 2/1
เตี้ย 11.83 11.83% 11.83 11.83% 17.02 17.02% 10.53 10.53% 10.20 10.20% 8.25 8.25% 7.29 7.29% 8.33 8.33% 8.82 8.82% 5.94 5.94% 5.77 5.77% 5.94 5.94% 5.71 5.71% 5.83 5.83% 5.77 5.77% 7.69 7.69% 5.31 5.31% 5.36 5.36% 9.65 9.65%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 11.83 11.83% 11.83 11.83% 17.02 17.02% 11.58 11.58% 11.22 11.22% 13.40 13.40% 12.50 12.50% 11.46 11.46% 12.75 12.75% 8.91 8.91% 10.58 10.58% 9.90 9.90% 9.52 9.52% 9.71 9.71% 10.58 10.58% 12.50 12.50% 11.50 11.50% 11.61 11.61% 16.67 16.67%
ผอม 22.58 22.58% 12.90 12.90% 14.74 14.74% 11.58 11.58% 7.14 7.14% 3.09 3.09% 6.25 6.25% 6.25 6.25% 4.90 4.90% 4.90 4.90% 3.85 3.85% 4.95 4.95% 3.81 3.81% 4.85 4.85% 4.81 4.81% 3.85 3.85% 4.42 4.42% 3.57 3.57% 2.63 2.63%
ผอม+ค่อนข้างผอม 22.58 22.58% 12.90 12.90% 17.89 17.89% 15.79 15.79% 10.20 10.20% 10.31 10.31% 10.42 10.42% 9.38 9.38% 8.82 8.82% 7.84 7.84% 5.77 5.77% 6.93 6.93% 9.52 9.52% 11.65 11.65% 8.65 8.65% 7.69 7.69% 11.50 11.50% 10.71 10.71% 8.77 8.77%
อ้วน 15.05 15.05% 13.98 13.98% 12.63 12.63% 12.63 12.63% 11.22 11.22% 11.34 11.34% 11.46 11.46% 11.46 11.46% 7.84 7.84% 6.86 6.86% 10.58 10.58% 11.88 11.88% 13.33 13.33% 9.71 9.71% 8.65 8.65% 10.58 10.58% 9.73 9.73% 9.82 9.82% 9.65 9.65%
เริ่มอ้วน+อ้วน 15.05% 15.05% 15.05% 15.05% 14.74% 14.74% 13.68% 13.68% 18.37% 18.37% 16.49% 16.49% 16.67% 16.67% 16.67% 16.67% 16.67% 16.67% 14.71% 14.71% 15.38% 15.38% 14.85% 14.85% 18.10% 18.10% 13.59% 13.59% 12.50% 12.50% 15.38% 15.38% 14.16% 14.16% 14.29% 14.29% 11.40% 11.40%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

โรงเรียนมีการวัดน้ำหนัก ส่วนสูงนักเรียนเพื่อติดตามภาวะอ้วน สำหรับนักเรียนอ้วนจะมีกิจกรรมออกกำลังกายช่วงเช้า โรงเรียนมีอุปกรณ์ออกกำลังกายให้นักเรียนออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ

ภาพถ่ายการออกกำลังกาย

-

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

โรงเรียนได้รับงบประมาณในการแก้ปัญหานักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ นักเรียนได้รับประทานอาหารเสริมที่ครบถ้วนทำให้จำนวนนักเรียนผอมลดลง

หนังสือแจ้งจัดสรรงบประมาณนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ จาก สพฐ.

นักเรียนมีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

โรงเรียนได้รับงบประมาณในการแก้ปัญหานักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ นักเรียนทุกคนดื่มนม นักเรียนได้รับประทานอาหารเสริมนมทุกวันทำให้นักเรียนมีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์

ภาพถ่ายการดื่มนม, โครงการนมโรงเรียน

-

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

โรงเรียนมีการคัดกรองนักเรียนอ้วน เตี้ย ผอม และจัดอาหารนมเสริมให้กับนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการเป็นรายบุคคลและจัดสรรตามงบประมาณของ สพฐ.

หนังสือแจ้งจัดสรรงบประมาณนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ จาก สพฐ.

ไม่มีนักเรียนที่มีภาวะุทุพโภชนาการ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

ผู้ปกครองได้ช่วยในเรื่องการเลือกปรุงอาหารที่ถูกสุขลักษณะ และมีประโยชน์ เข้มงวดและส่งเสริมให้นักเรียนรับประทานอาหารที่ดี มีประโยชน์ และดื่มนมทุกวัน

สอบถามจากผู้ปกครองและนักเรียน หลักฐานจากการวัดน้ำหนัดส่วนสูงเป็นไปตามเกณฑ์

-

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลได้เข้ามาให้ความรู้และตรวจสุขภาพให้กับนักเรียนร่วมกับแกนนำนักเรียน โรงเรียนได้ให้คำแนะนำกับโรงเรียนในเครือข่ายในการดำเนินงานโครงการเด็กไทยแก้มใส

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh