ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนสันโป่งวิทยา

รหัสโครงการ ศรร.1111-015 รหัสสัญญา 58-00-2265-น.15 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน

นำไข่ไก่มาแปรรูปอาหาร รวมถึงมะกรูดมาทำเป็นน้ำยาล้างจาน ล้างห้องน้ำ และดอกอันชัญมาทำเป็นเครื่องดื่ม

นำผลผลิตทางเกษตรของโรงเรียนมาทำ

คิดหาวิธีการแปรรูปอาหารให้หลากหลาย

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

1 นักเรียนมีบัญชีออมทรัพย์ 2 นักเรียนเรียนรู้การทำบัญชีครัวเรือน 3 นักเรียนนำผลผลิตทางการเกษตรไปขายในตลาดนัดการเกษตรโรงเรียน

มีสหกรณ์นักเรียน มีสมาชิก สมาชิกมีหุ้น และดำเนินการโดยนักเรียนแกนนำ

ขายอาหาร ผลไม้ ที่หลากหลายโดยมาจากผลผลิตทางเกษตรในโรงเรียนให้มากขึ้น

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

1มีการจัดรายการอาหารหมุนเวียนอย่างน้อย 1 เดือนตามโปรแกรม school lunch ที่ได้มาตรฐานโภชนาการที่สอดคล้องกับผลผลิตทางการเกษตรของโรงเรียน 2มีการปรุงประกอบอาหารถูกหลักโภชนาการ สุขาภิบาล และอาหารปลอดภัย 3มีการจัดผลไม้ อาหารว่างให้นักเรียนสัปดาห์ละ 2 ครั้ง 5 นักเรียนแกนนำ อ.ย. น้อย มีการตรวจหาสารปนเปื้อนในอาหาร และตรวจยาเป็นประจำ

มีเมนูอาหารหมุนเวียนเดือนละ 1 ครั้ง โดยใช้โปรแกรม Thai school lunch

นำผลผลิตทางเกษตรของโรงเรียนมาใช้เพิ่มชึ้น

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

มีนักเรียนแกนนำทั้ง อ.ย.น้อย และ แกนนำนักเรียนโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ

มีคำสั่งแต่งตั้งนักเรียนแกนนำทั้ง อ.ย.น้อย และ แกนนำนักเรียนโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ และมีแผนงานการปฏิบัติที่ชัดเจน

ให้นักเรียนมีส่วนร่วมการทำกิจกรรมต่างๆเพิ่มมากขึ้น

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

1มีฐานข้อมูลน้ำหนักส่วนสูง สมรรถภาพทางกาย และภาวะสุขภาพของนักเรียนทุกคน 2 มีการแปลผลภาวะโภชนาการสมรรถภาพทางกาย และภาวะสุขภาพที่ถูกต้องตามเกณฑ์ 3 จัดกิจกรรมสำหรับนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์

  • โรงเรียนสามารถติดตามและแก้ไขนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการได้ทันกาล
  • โรงเรียนเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของนักเรียนเป็นรายบุคคลได้อย่างต่อเนื่อง

-

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

1จัดแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มเวรสีออกเป็น 4 สี และมอบหมายหน้าที่รับผิดชอบในการทำความสะอาดบริเวณโรงเรียน อาคารเรียน ห้องน้ำ โรงอาหารในช่วงเช้าก่อนเคารพธงชาติ 2นักเรียนแกนนำ อ.ย. น้อยมีการสำรวจลูกน้ำยุงลายเดือนละ 1 ครั้ง 3เดินรณรงค์ให้ความรู้การป้องกันโรคไข้เลือดออก , การต่อต้านยาเสพติด , โรคเอดส์ ในวันสำคัญต่างๆ 4นักเรียนให้ความรู้แก่ชุมชนเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก แจกแผ่นพับ และทรายอะเบทให้แก่ชุมชน

  • นักเรียนได้พัฒนาทักษะในการจัดการดูแลสภาพแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะ
  • นักเรียนได้พัฒนาลักษณะนิสัยของนักเรียนในการใช้ทรัพยากรอย่างประหยัดและยั่งยืน

ให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมมากขึ้น

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

1จัดห้องพยาบาล 2มีการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและมีการส่งต่อรพ.สต.ใกล้โรงเรียน

  • นักเรียนได้รับการช่วยเหลือแก้ไขการเจ็บป่วยในเบื้องต้นอย่างเหมาะสม อันเป็นการป้องกันไม่ให้เกิดอันตรายร้ายแรงจนถึงเสียชีวิตได้

ให้นักเรียนแกนนำมีหน้าที่ช่วยครูอนามัยมากขึ้น

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

1จัดกิจกรรมเพื่อการเรียนรู้ ประกวดวาดภาพอาหารธงโภชนาการ และ อาหารตามโซนสี 2จัดป้ายนิเทศให้ความรู้เรื่อง โภชนาการ และสุขภาพอนามัยตามที่ต่างๆในโรงเรียน เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับนักเรียน 3มีการบูรณาการกับทุกสาระวิชาในเรื่องเกษตร โภชนาการ และสุขภาพอนามัย 4มีการประเมินความรู้และทักษะนักเรียนด้านเกษตร โภชนาการ และสุขภาพ 5ทำน้ำยาล้างห้องน้ำ ล้างจานสมุนไพรจากมะกรูดที่ปลูกเองในโรงเรียน

  • นักเรียนมีความรู้ ทักษะ ทัศนคติ และลักษณะนิสัยที่ดีในเรื่องของเกษตรยั่งยืน โภชนาการ และสุขภาพอนามัย

พัฒนานวัตกรรมเพิ่มให้มากขึ้น

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ

 

 

 

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

  • การตรวจสุขภาพ การรักษาพยาบาล การติดตามเยี่ยมบ้าน ในรายที่มีปัญหา การส่งเสริมโภชนาการ การสร้างเสริม ภูมิคุ้มกันโรค การแนะนำเกี่ยวกับสุขาภิบาลในโรงเรียน การอบรมเจ้าหน้าที่อนามัยโรงเรียนเพื่อให้การทำงานมี ประสิทธิภาพ
  • แหล่งเรียนรู้ให้กับนักเรียนเกี่ยวกับการทำขนม อาหารการ จักสานดนตรีพื้นเมืองการปลูกผัก และการทอผ้ากะเหรี่ยง

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะโรงเรียนสันโป่งมีกิจกรรมคือจัดแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มเวรสีออกเป็น 4 สี และมอบหมายหน้าที่รับผิดชอบในการทำความสะอาดบริเวณโรงเรียน อาคารเรียน ห้องน้ำ โรงอาหารในช่วงเช้าก่อนเคารพธงชาติ, นักเรียนแกนนำ อ.ย. น้อยมีการสำรวจลูกน้ำยุงลายเดือนละ 1 ครั้ง, เดินรณรงค์ให้ความรู้การป้องกันโรคไข้เลือดออก , การต่อต้านยาเสพติด , โรคเอดส์ ในวันสำคัญต่างๆ และนักเรียนให้ความรู้แก่ชุมชนเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก แจกแผ่นพับ และทรายอะเบทให้แก่ชุมชน

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

  1. เด็กเป็นผู้ลงมือทำเอง
  2. สถานศึกษาเป็นฐานของการพัฒนา
  3. การมีส่วนร่วมของชุมชน
  4. ความร่วมมือของหน่วยงานในการถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีให้โรงเรียน

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

  • แหล่งเรียนรู้ให้กับนักเรียนเกี่ยวกับการทำขนม อาหารการ จักสานดนตรีพื้นเมืองการปลูกผัก และการทอผ้ากะเหรี่ยง

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

  • แหล่งเรียนรู้ให้กับนักเรียนเกี่ยวกับการทำขนม อาหารการ จักสานดนตรีพื้นเมืองการปลูกผัก และการทอผ้ากะเหรี่ยง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

1ปลูกผักสวนครัว 2เพาะเห็ด 2 เลี้ยวหมู 3 เลี้ยงไก่ 4 เลี้ยงปลาดุก

  • นักเรียนมีความรู้และทักษะในการเกษตรสามารถนำไปประกอบอาชีพได้
  • นำไปขายให้กับโครงการอาหารกลางวัน และเกิดรายได้แก่นักเรียน

คิดหาวิธีการแปรรูปอาหารให้หลากหลาย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

1ปลูกผักสวนครัว 2เพาะเห็ด 2 เลี้ยวหมู 3 เลี้ยงไก่ 4 เลี้ยงปลาดุก

  • นักเรียนมีความรู้และทักษะในการเกษตรสามารถนำไปประกอบอาชีพได้
  • นำไปขายให้กับโครงการอาหารกลางวัน และเกิดรายได้แก่นักเรียน

คิดหาวิธีการแปรรูปอาหารให้หลากหลาย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

1ปลูกผักสวนครัว 2เพาะเห็ด 2 เลี้ยวหมู 3 เลี้ยงไก่ 4 เลี้ยงปลาดุก

  • นักเรียนมีความรู้และทักษะในการเกษตรสามารถนำไปประกอบอาชีพได้
  • นำไปขายให้กับโครงการอาหารกลางวัน และเกิดรายได้แก่นักเรียน

คิดหาวิธีการแปรรูปอาหารให้หลากหลาย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

 

 

 

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

1มีการจัดรายการอาหารหมุนเวียนอย่างน้อย 1 เดือนตามโปรแกรม school lunch ที่ได้มาตรฐานโภชนาการที่สอดคล้องกับผลผลิตทางการเกษตรของโรงเรียน 2มีการปรุงประกอบอาหารถูกหลักโภชนาการ สุขาภิบาล และอาหารปลอดภัย 3มีการจัดผลไม้ อาหารว่างให้นักเรียนสัปดาห์ละ 2 ครั้ง 5 นักเรียนแกนนำ อ.ย. น้อย มีการตรวจหาสารปนเปื้อนในอาหาร และตรวจยาเป็นประจำ

  • นักเรียนได้รับประทานอาหารที่ปลอดภัย ใช้ผลผลิตที่ปลูกขึ้นเอง ปรุงสุกใหม่ๆและอาหารถูกหลักโภชนาการ
  • นักเรียนได้รับประทานอาหารครบ 5 หมู่

นำผลผลิตทางเกษตรของโรงเรียนมาใช้เพิ่มชึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

1มีการจัดรายการอาหารหมุนเวียนอย่างน้อย 1 เดือนตามโปรแกรม school lunch ที่ได้มาตรฐานโภชนาการที่สอดคล้องกับผลผลิตทางการเกษตรของโรงเรียน 2มีการปรุงประกอบอาหารถูกหลักโภชนาการ สุขาภิบาล และอาหารปลอดภัย 3มีการจัดผลไม้ อาหารว่างให้นักเรียนสัปดาห์ละ 2 ครั้ง 5 นักเรียนแกนนำ อ.ย. น้อย มีการตรวจหาสารปนเปื้อนในอาหาร และตรวจยาเป็นประจำ

  • นักเรียนได้รับประทานอาหารที่ปลอดภัย ใช้ผลผลิตที่ปลูกขึ้นเอง ปรุงสุกใหม่ๆและอาหารถูกหลักโภชนาการ
  • นักเรียนได้รับประทานอาหารครบ 5 หมู่

นำผลผลิตทางเกษตรของโรงเรียนมาใช้เพิ่มชึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

1มีการจัดรายการอาหารหมุนเวียนอย่างน้อย 1 เดือนตามโปรแกรม school lunch ที่ได้มาตรฐานโภชนาการที่สอดคล้องกับผลผลิตทางการเกษตรของโรงเรียน 2มีการปรุงประกอบอาหารถูกหลักโภชนาการ สุขาภิบาล และอาหารปลอดภัย 3มีการจัดผลไม้ อาหารว่างให้นักเรียนสัปดาห์ละ 2 ครั้ง 5 นักเรียนแกนนำ อ.ย. น้อย มีการตรวจหาสารปนเปื้อนในอาหาร และตรวจยาเป็นประจำ

  • นักเรียนได้รับประทานอาหารที่ปลอดภัย ใช้ผลผลิตที่ปลูกขึ้นเอง ปรุงสุกใหม่ๆและอาหารถูกหลักโภชนาการ
  • นักเรียนได้รับประทานอาหารครบ 5 หมู่

นำผลผลิตทางเกษตรของโรงเรียนมาใช้เพิ่มชึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

1มีการจัดรายการอาหารหมุนเวียนอย่างน้อย 1 เดือนตามโปรแกรม school lunch ที่ได้มาตรฐานโภชนาการที่สอดคล้องกับผลผลิตทางการเกษตรของโรงเรียน 2มีการปรุงประกอบอาหารถูกหลักโภชนาการ สุขาภิบาล และอาหารปลอดภัย 3มีการจัดผลไม้ อาหารว่างให้นักเรียนสัปดาห์ละ 2 ครั้ง 5 นักเรียนแกนนำ อ.ย. น้อย มีการตรวจหาสารปนเปื้อนในอาหาร และตรวจยาเป็นประจำ

  • นักเรียนได้รับประทานอาหารที่ปลอดภัย ใช้ผลผลิตที่ปลูกขึ้นเอง ปรุงสุกใหม่ๆและอาหารถูกหลักโภชนาการ
  • นักเรียนได้รับประทานอาหารครบ 5 หมู่

นำผลผลิตทางเกษตรของโรงเรียนมาใช้เพิ่มชึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

 

  • นักเรียนได้รับประทานอาหารที่ปลอดภัย ใช้ผลผลิตที่ปลูกขึ้นเอง ปรุงสุกใหม่ๆและอาหารถูกหลักโภชนาการ
  • นักเรียนได้รับประทานอาหารครบ 5 หมู่

นำผลผลิตทางเกษตรของโรงเรียนมาใช้เพิ่มชึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

1มีฐานข้อมูลน้ำหนักส่วนสูง สมรรถภาพทางกาย และภาวะสุขภาพของนักเรียนทุกคน 2 มีการแปลผลภาวะโภชนาการสมรรถภาพทางกาย และภาวะสุขภาพที่ถูกต้องตามเกณฑ์ 3 จัดกิจกรรมสำหรับนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์

  • โรงเรียนสามารถติดตามและแก้ไขนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการได้ทันกาล
  • โรงเรียนเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของนักเรียนเป็นรายบุคคลได้อย่างต่อเนื่อง

ให้นักเรียนแกนนำมีส่วนร่วมมากขึ้น

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 1/12558 1/22558 2/12558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 1/22560 2/12560 2/22561 1/12561 1/22561 2/12561 2/22562 1/12562 2/12562 2/2
เตี้ย 1.75 1.75% 1.75 1.75% 1.74 1.74% 1.74 1.74% 3.33 3.33% 3.33 3.33% 2.44 2.44% 0.83 0.83% 1.54 1.54% 0.76 0.76% 0.77 0.77% 0.77 0.77% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00% 0.00 0.00%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 6.14 6.14% 3.51 3.51% 3.48 3.48% 6.96 6.96% 7.50 7.50% 7.50 7.50% 5.69 5.69% 4.17 4.17% 6.15 6.15% 6.11 6.11% 4.62 4.62% 4.62 4.62% 3.85 3.85% 5.38 5.38% 3.85 3.85% 3.85 3.85% 4.17 4.17% 6.03 6.03% 4.31 4.31%
ผอม 4.39 4.39% 0.88 0.88% 1.74 1.74% 0.87 0.87% 1.67 1.67% 1.67 1.67% 1.67 1.67% 0.83 0.83% 6.84 6.84% 3.82 3.82% 2.31 2.31% 1.72 1.72% 5.22 5.22% 3.85 3.85% 7.14 7.14% 5.38 5.38% 8.33 8.33% 5.17 5.17% 2.61 2.61%
ผอม+ค่อนข้างผอม 8.77 8.77% 4.39 4.39% 2.61 2.61% 6.09 6.09% 5.00 5.00% 5.00 5.00% 5.00 5.00% 7.50 7.50% 10.26 10.26% 10.69 10.69% 7.69 7.69% 6.90 6.90% 8.70 8.70% 12.31 12.31% 15.31 15.31% 9.23 9.23% 11.67 11.67% 13.79 13.79% 9.57 9.57%
อ้วน 2.63 2.63% 1.75 1.75% 2.61 2.61% 2.61 2.61% 4.17 4.17% 4.17 4.17% 4.17 4.17% 2.50 2.50% 5.13 5.13% 3.82 3.82% 4.62 4.62% 2.59 2.59% 4.35 4.35% 0.77 0.77% 3.06 3.06% 3.08 3.08% 3.33 3.33% 2.59 2.59% 3.48 3.48%
เริ่มอ้วน+อ้วน 7.89% 7.89% 5.26% 5.26% 6.09% 6.09% 6.09% 6.09% 5.83% 5.83% 5.83% 5.83% 5.83% 5.83% 6.67% 6.67% 9.40% 9.40% 6.11% 6.11% 6.15% 6.15% 8.62% 8.62% 6.09% 6.09% 4.62% 4.62% 8.16% 8.16% 6.92% 6.92% 9.17% 9.17% 8.62% 8.62% 7.83% 7.83%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

1มีโครงการกีฬา 2มีการใช้โปรแกรมThai school lunch 3มีโครงการสำหรับนักเรียนทุพโภชนาการ

1มีโครงการกีฬา 2มีการใช้โปรแกรมThai school lunch 3มีโครงการสำหรับนักเรียนทุพโภชนาการ

ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

1มีโครงการกีฬา 2มีการใช้โปรแกรมThai school lunch 3มีโครงการสำหรับนักเรียนทุพโภชนาการ

1มีโครงการกีฬา 2มีการใช้โปรแกรมThai school lunch 3มีโครงการสำหรับนักเรียนทุพโภชนาการ

ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

1มีโครงการกีฬา 2มีการใช้โปรแกรมThai school lunch 3มีโครงการสำหรับนักเรียนทุพโภชนาการ

1มีโครงการกีฬา 2มีการใช้โปรแกรมThai school lunch 3มีโครงการสำหรับนักเรียนทุพโภชนาการ

ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

1มีโครงการกีฬา 2มีการใช้โปรแกรมThai school lunch 3มีโครงการสำหรับนักเรียนทุพโภชนาการ

1มีโครงการกีฬา 2มีการใช้โปรแกรมThai school lunch 3มีโครงการสำหรับนักเรียนทุพโภชนาการ

เด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการลดน้อยลง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

1แจ้งให้ผู้ปกครองทราบถึงภาวะโภชนาการของนักเรียน 2แจกคู่มือโภชนาการให้ผู้ปกครอง

คู่มือโภชนาการ และ รายงานภาวะโภชนาการของนักเรียน

ผู้ปกครองเข้ามามีส่วนร่วมเพิ่มมากขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

  • การตรวจสุขภาพ การรักษาพยาบาล การติดตามเยี่ยมบ้าน ในรายที่มีปัญหา การส่งเสริมโภชนาการ การสร้างเสริม ภูมิคุ้มกันโรค การแนะนำเกี่ยวกับสุขาภิบาลในโรงเรียน การอบรมเจ้าหน้าที่อนามัยโรงเรียนเพื่อให้การทำงานมี ประสิทธิภาพ
  • แหล่งเรียนรู้ให้กับนักเรียนเกี่ยวกับการทำขนม อาหารการ จักสานดนตรีพื้นเมืองการปลูกผัก และการทอผ้ากะเหรี่ยง

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh