ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนรวมไทยพัฒนา 6

รหัสโครงการ ศรร.1112-022 รหัสสัญญา 58-00-2265-น.22 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 มีนาคม 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน

1) กิจกรรมเพาะถั่วงอก

2) กิจกรรมข้าวกล้องดอย

1) กิจกรรมเพาะถั่วงอก

1.1 ล้างเมล็ดถั่วเขียวและแช่น้ำไว้ 1 คืน 1.2 นำถั่วเขียวที่่แช่น้ำขึ้นมาวางบนตระแกรงเพื่อเตรียมนำเข้าสู่กระบะเพาะถั่วงอก ที่มีระบบการเปิด-ปิดน้ำโดยอัตโนมัติ 1.3 นักเรียนติดตามการเจริญเติบโตของถั่วงอก 1.4 นักเรียนเก็บถั่วงอกที่ได้และนำส่งขายสหกรณ์

2) กิจกรรมการปลูกและสีข้าวกล้องดอย กิจกรรมข้าวกล้องดอยเป็นกิจกรรมที่เริ่มตั้งแต่กระบวนการปลูกตลอดจนถึงการสีข้าว เพื่อนำมาจำหน่ายให้โครงการอาหารกลางวัน นอกจากนี้ยังนำไปจัดจำหน่ายให้กับชุมชน และหน่วยงานต่าง ๆ นำไปแปรรูปเป็นน้ำข้าวกล้องดอย ใช้เป็นอาหารว่างและของที่ระลึกสำหรับรับรองคณะผู้มาตรวจเยี่ยมโรงเรียนแทนการจัดซื้อจากร้านค้าข้างนอก และยังนำแจกจ่ายผู้ปกครอง

1) กิจกรรมเพาะถั่วงอก

นักเรียนและครูคิดค้นการประดิษฐ์เครื่องเพาะถั่วงอกจากอุปกรณ์ในท้องถิ่นเพื่อเพิ่มผลผลิตให้สามารถจำหน่ายในชุมชนได้

2) กิจกรรมข้าวกล้องดอย ทำจำหน่ายให้ผ่านสหกรณ์สูโครงการอาหารกลางวันเพื่อให้นักเรียนได้รับสารอาหารที่มีประโยชน์อย่างต่อเนื่อง และจำหน่ายสู่ชุมชนเพื่อให้เกิดรายได้ระหว่างเรียนให้กับนักเรียน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

การดำเนินงานตามตัวชี้วัด

ได้รับรางวัล โรงเรียนต้นแบบสหกรณ์โรงเรียน สพฐ รุ่นที่ 1 ประจำปี 2559

พัฒนาระบบสหกรณ์นักเรียนอย่างต่อเนื่อง

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

การจัดอาหารตามระบบ Thai school Lunch

โรงเรียนมีการจัดส่งผลผลิตทางการเกษตรทุกอย่าง ผ่านสหกรณ์ และสหกรณ์ส่งต่อให้อาหารกลางวัน โดย

ใช้โปรแกรม Thai school Lunch เพื่อคำนวนคุณค่าทางอาหาร โดยการจัดทำเป็นรายสัปดาห์ รายเดือนและรายเทอม เพื่อให้สามารถจัดอาหารได้อย่างต่อเนื่อง

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

กิจกรรมยืดกายขยายกล้ามเนื้อ

  1. วิเคราะห์ผลการบันทึกภาวะโภชนาการ พบว่านักเรียนมีเด็กนักเรียนเตี้ยมากกว่าร้อยละ 10 ของจำนวนนักเรียนทั้งหมด
  2. วางแผนดำเนินการสร้างและการใช้งานเครื่องยืดกายขยายกล้ามเนื้อ
  3. บันทึกผลหลังดำเนินกิจกรรม
  4. สรุปผลและประเมินผล
  5. แก้ไขปรับปรุงการดำเนินงานกิจกรรม

นำผลการบันทึกภาวะโภชนาการมาวิเคราะห์อย่างต่อเนื่อง และหาแนวทางแก้ไขต่อไปโดยใช้ประโยชน์จากอุปกรณ์ที่สร้างขึ้นอย่างต่อเนื่อง

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

1) กิจกรรมศึกษาแหล่งเรียนรู้สหกรณ์ชุมชน

2) กิจกรรมค่ายเรียนรู้สหกรณ์

1) กิจกรรมศึกษาแหล่งเรียนสหกรณ์ชุมชน
ทางโรงเรียนรวมไทยพัฒนา 6 จะจัดให้มีการศึกษาแหล่งเรียนสหกรณ์ในชุมชน ในปีการศึกษา 2559 ทางโรงเรียนได้จัดให้คณะกรรมการสหกรณ์นักเรียนและนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาได้ศึกษาแหล่งเรียนรู้ที่สหกรณ์การเกษตร แม่ระมาด จำกัด เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้และนำมาประยุกต์ใช้กับกิจกรรมสหกรณ์ในโรงเรียน

2) กิจกรรมค่ายเรียนรู้สหกรณ์ ทางโรงเรียนรวมไทยพัฒนา 6 ได้จัดการเรียนรู้ค่ายสหกรณ์ โดยจัดให้เป็นฐานต่าง ๆ แต่ละจะมีกิจกรรมให้นักเรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับความหมายและการดำเนินการ ตลอดจนการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ

1) กิจกรรมศึกษาแหล่งเรียนรู้สหกรณ์ในชุมชน ทางโรงเรียนมีแนวทางการพัฒนาต่อคือ ให้นักเรียนคณะกรรมการสหกรณ์รุ่นต่อไปได้ทำการทำศึกษาหาความรู้จากสหกรณ์ชุมชนต่อไป และนำมาอภิปรายร่วมกับครูผู้รับผิดชอบ เพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินการตลอดไป และนำความรู้สู่ชุมชนเพื่อให้ชุมชนตระหนักและร่วมเป็นสมาชิกสหกรณ์ที่มีอยู่ในชุมชน และสหกรณ์โรงเรียน

2) กิจกรรมค่ายเรียนรู้สหกรณ์ ทางโรงเรียนรวมไทยพัฒนา 6 จะนำผลสรุปกิจกรรมค่ายเรียนรู้สหกรณ์ มาจัดเตรียมการดำเนินการจัดกิจกรรมค่ายเรียนรู้สหกรณ์ในปีถัดไป เพราะสร้างความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงานสหกรณ์โรงเรียน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ

 

 

 

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

  1. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลช่องแคบ
  2. โรงพยาบาลอำเภอพบพระ
  3. สหกรณ์การเกษตรพบพระ
  4. สหกรณ์การเกษตรแม่ระมาด
  5. สำนักงานสหกรณ์จังหวัดตาก

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

  1. ผู้ปกครอง ชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ความร่วมมืออย่างดี
  2. สพฐ ให้การสนับสนุนกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

1.ผู้บริหาร 2.คุณครู 3.ผู้ปกครอง นักเรียน

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

1.วางแผน 2.ประชุมดำเนินการ 3.ดำเนินการตามแผน 4.ติดตาม
5.รายงาน ประเมินผล

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

  1. การจัดทำอาหารกลางวันสำหรับนักเรียน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

1.ผักบุ้ง 2.ผักกาดขาว 3.มะเขือเปราะ 4.มะละกอ

1.ภาพถ่าย 2.บัญชีรับจ่าย

พัฒนาอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

1.เลี้ยงไก่เนื้อ

1.ภาพถ่าย 2.บัญชีรับจ่าย

พัฒนาอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

ได้รับการจัดสรรงบประมาณจาก สพฐ. โดยจัดอาหารให้เด็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำ ให้ได้รับอาหาร ในตอนเช้า

1.ภาพถ่าย 2.หนังสือการจัดสรรงบประมาณ 3.เอกสารการจ่ายเงิน (ใบสำคัญรับเงิน)

พัฒนาอย่างต่อเนื่อง

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

 

 

 

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 1/12558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/2
เตี้ย 18.59 18.59% 15.00 15.00% 13.15 13.15% 9.91 9.91% 11.00 11.00% 7.88 7.88%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 30.65 30.65% 26.00 26.00% 27.70 27.70% 21.23 21.23% 25.36 25.36% 10.84 10.84%
ผอม 5.00 5.00% 5.97 5.97% 8.92 8.92% 4.69 4.69% 6.70 6.70% 7.77 7.77%
ผอม+ค่อนข้างผอม 9.50 9.50% 13.43 13.43% 15.49 15.49% 9.86 9.86% 14.35 14.35% 10.68 10.68%
อ้วน 2.50 2.50% 2.99 2.99% 1.41 1.41% 1.88 1.88% 1.44 1.44% 2.91 2.91%
เริ่มอ้วน+อ้วน 8.50% 8.50% 6.97% 6.97% 4.23% 4.23% 5.16% 5.16% 4.78% 4.78% 6.80% 6.80%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

  1. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลช่องแคบ
  2. โรงพยาบาลอำเภอพบพระ
  3. สหกรณ์การเกษตรพบพระ
  4. สหกรณ์การเกษตรแม่ระมาด
  5. สำนักงานสหกรณ์จังหวัดตาก

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh