ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนบ้านหนองบัวแดง

รหัสโครงการ ศรร.1112-009 รหัสสัญญา 58-00-2265-น.09 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน

การเลี้ยงไก้ไข่

โรงเรียนมีการจัดทำโรงเรือน และจัดทำเป็นฐานการเรียนรู้ให้นักเรียนได้เข้าไปศึกษาเรียนรู้และลงมือปฏิบัติจริง นำผลผลิตส่งต่อโครงการอาหารกลางวันและจำหน่ายให้กับชุมชน

ขยายโรงเรือนและปรับปรุงบริเวรรอบๆ

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

โรงเรียนจัดทำเป็นแหล่งเรียนรู้ให้นักเรียนและชุมชนเข้ามาศึกษาเรียนรู้และลงสู่การปฏิบัติ

จัดกิจสหกรณ์ร้านค้า สหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์การผลิตโดยการมีส่วนร่วมของนักเรียน บุคลากร และชุมชนโดยการนำผลผลิตมาจำหน่ายผ่านระบบสหกรณ์ และส่งเสริมการโดยได้รับความร่วมมือจากธนาคาร ธกส. จนได้รับคัดเลือกให้เป็นโรงเรียนสหกรณ์ต้นแบบของ สพฐ.ปี2559

เปิดให้ผู้ปกครองและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงาน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

การจัดเมนูอาหารหมุนเวียนโดยใช้โปรแกรม TSL

ทำเมนูอาหารหมุนเวียน 1 เดือน โดยเน้นคุณภาพและถูกหลักโภชนาการ

สำรวจความต้องการในการบริโภคอาหารของนักเรียนและนำข้อมูลมาใช้ในการจัดทำเมนูอาหารหมุนเวียนและอบรมให้ความรู้ในเรื่องของการบริโภคอาหาร

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

มีการชั่งนำหนัก วัดส่วนสูงของนักเรียนเป็นประจำทุกเดือน และนำผลมาสรุปในระดับชั้นเรียนและภาพรวมของโรงเรียน

ครูประจำชั้นทุกชั้นเรียนทำการชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูงของนักเรียนทุกเดือน และสรุปข้อมูลส่งต่อให้ครูอนามัยโรงเรียนเพื่อสรุป้ป็นภาพรวมของโรงเรียน

จัดระบบดูเเลช่วยเหลือนักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

โรงเรียนมีการจัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนและส่งเสริมสุขภาพ

โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในเรื่องสุขนิสัยที่ดี มีการจัดทำป้ายนิเทศให้ความรู้กับนักเรียน และประสานงานกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเพื่อมาให้ความรู้และตรวจสุขภาพนักเรียน

จัดกิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกาย

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

การจัดสภาพแวดล้อมที่สะอาดและปลอดภัย

มีบุคลากรรับผิดชอบดูแลด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียน โรงเรียนมีการจัดกิจกรรมหมู่สีให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาด้านอนามัย และสิ่งแวดล้อม

พัฒนาอนามัยและสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนอย่่างเป็นระบบและเอื้อต่อการจัดกิจกรรมโดยการมีส่วนร่วมกับทุกฝ่าย

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

การตรวจสุขภาพประจำวันและการแปรงฟันหลังอาหาร

ครูประจำชั้นทุกชั้นเรียนตรวจสุขภาพประจำวัน และมีการแปรงฟันหลังรับประทานอาหารกลางวันโดยมีครูอนามัยและนักเรียนแกนนำดูแล และทางโรงเรียนจัดให้มีห้องพยาบาลในการดูแลและปฐมพยาบาลเบื่องต้นให้กับนักเรียน

จัดปรับปรุงและพัฒนาระบบการจัดบริการสุขภาพนักเรียน และประสานหน่วยงานด้านสาธารณะสุขมาให้ความรู้แก่นักเรียนและผู้ปกครอง

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

โรงเรียนจัดทำหลักสูตรบูรณาการสู่การเรียนการสอน

จัดประชุมครูและบุคลากรในการจัดทำแผนบูรณาการและนำไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

ส่งเสริมบุคลากรในการประชุมสัมนาและศึกษาดูงานด้านการจัดการเรียนรู้เกษตรสหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย รวมถึงการจัดสภาพแวดล้อมในสถานศึกษาให้เป็นแหล่งเรียนรู้

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ

 

 

 

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

1.สำนักงาน สสส. 2.วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเชียงราย 3.มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย 4.มูลนิธิยุวสถิรคุณ 5.บุคลากรในสถานศึกษา นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

1.บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจ เห็นความสำคัญ และให้ความร่วมมือในการดำเนินกิจกรรม 2.ผู้ปกครองนักเรียนและชุมชน มัทัศนะคติที่ดีและให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม 3.โรงเรียนมีสภาพแวดล้อมทั้งในและนอกโรงเรียนที่เอื้อต่อการดำเนินกิจกรรม

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

โรงเรียนมีระบบบริหารจัดการและมีการจัดทำแผนงานโครงการโดยการมีส่วนร่วมของทุกฝ่าย และมีการแต่งตั้งคณะทำงาน และมีการประเมินผลการทำงาน เพื่อให้บรรลุผลตามเป้าหมาย

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

  • จัดประชุม อบรม สัมนาและรับฟังความคิดเห็นจากครู นักเรียน และแม่ครัว มีการสร้างข้อตกลงร่วมกัน
  • โรงเรียนจัดแหล่งเรียนรู้ ข่าวสารข้อมูลต่างๆ ให้เข้าไปศึกษาเรียนรู้
  • มีการแบ่งหน้าที่ในการดูเเลรับผิดชอบและปฏิบัติงาน
  • มีการประชุมเพื่อสรุปและวิเคราะห์ผลการดำเนินงาน เพื่อใช้นำไปปรับปรุงและพัฒนางานต่อไป

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

  • โรงเรียนจัดให้มีการประชุมผู้ปกครองและชุมชนอย่างต่อเนื่องทุกภาคเรียน เพื่อชี้แจงนโยบายในการดำเนินงานของโรงเรียน
  • มีตัวแทนผู้ปกครองและชุมชนเข้ามาเป็นคณะกรรมการในการดำเนินกิจกรรมโครงการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

มีการใช้ผลผลิตจากโรงเรียนส่วนหนึ่งและจัดซื้อจากตลาดและชุมชนส่วนหนึ่ง

เอกสารการจัดซื้อเครื่องอุปโภคบริโภคอาหารกลางวัน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

มีการเลี้ยงไก่ไข่และการเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก

รูปถ่ายและฐานการเรียนรู้การเลี้ยงไก่ไข่และการเลี้ยงปลา

จะดำเนินการต่อในปีการศึกษา 2560

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติกเพื่ออาหารกลางวัน

รูปถ่ายและฐานการเรียนรู้การเลี้ยงปลา

จะดำเนินการต่อในปีการศึกษา 2560

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

 

 

 

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

 

รูปภาพและเมนูอาหาร

โรงเรียนจัดกิจกรรมต่อยอดการเกษตรเพื่อโครงการอาหารกลางวัน ในปีการศึกษา 2560

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

นักเรียนในใรงเรียนทุกคนได้รับประทานอาหารกลางวันประกอบด้วยผักที่ปลอดสารและผลไม้ตามฤดูกาล

รูปภาพและเมนูอาหาร

โรงเรียนจัดกิจกรรมต่อยอดการเกษตรเพื่อโครงการอาหารกลางวัน ในปีการศึกษา 2560

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

ชุมชนให้ความร่วมมือในการผลิตผักผลไม้ เลี้ยงปลา เลี้ยงไก่และจำหน่ายในโครงการสหกรณ์ของโรงเรียนเพื่อให้นักเรียนในโรงเรียนได้บริโภคอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ

รูปภาพ แบบบันทึกกิจกรรม

โรงเรียนจัดกิจกรรมร่วมกับชุมชนต่อยอดการเกษตรเพื่อโครงการอาหารกลางวัน ในปีการศึกษา 2560

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

นักเรียนสามารถเลือกบริโภคอาหารที่ถูกหลักตามหลักโภชนาการ

เมนููอาหารรูปภาพแบบบันทึกภาวะโภชนาการ

ฝึกนักเรียนใช้โปรแกรมในปีการศึกษา 2560

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

มีการดูแลส่งเสริมสุขภาพโดยชุมชน และ เจ้าหน้าที่อนามัยนักเรียนแกนนำในโรงเรียนจัดกิจกรรมดูแลส่งเสริมอย่างต่อเนื่อง

รูปภาพกิจกรรม แบบบันทึกการส่งเสริมสุขภาพ

ดำเนินการต่อในปีการศึกษา 2560

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/2
เตี้ย 1.59 1.59% 4.72 4.72% 3.77 3.77% 3.77 3.77% 5.66 5.66%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 7.14 7.14% 6.60 6.60% 8.49 8.49% 8.49 8.49% 20.75 20.75%
ผอม 6.35 6.35% 3.77 3.77% 0.94 0.94% 0.94 0.94% 3.77 3.77%
ผอม+ค่อนข้างผอม 12.70 12.70% 9.43 9.43% 1.89 1.89% 1.89 1.89% 9.43 9.43%
อ้วน 7.14 7.14% 8.49 8.49% 10.38 10.38% 10.38 10.38% 4.72 4.72%
เริ่มอ้วน+อ้วน 13.49% 13.49% 16.04% 16.04% 15.09% 15.09% 15.09% 15.09% 9.43% 9.43%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

1.สำนักงาน สสส. 2.วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเชียงราย 3.มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย 4.มูลนิธิยุวสถิรคุณ 5.บุคลากรในสถานศึกษา นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh