ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนไหล่หินราษฎร์บํารุง

รหัสโครงการ ศรร.1112-016 รหัสสัญญา 58-00-2265-น.16 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน

๑. หนึ่งเมนู หนึ่งวงล้อ

๒. การเลี้ยงกบขวด - จัดหากบมาให้นักเรียนที่สนใจ ซื้อไปเลี้ยงที่บ้านโดยให้เลี้ยงในขวด ซึ่งนักเรียนและผู้ปกครองต้องคอยดูแลให้อาหารและทำความสะอาดขวด จนถึงเวลา ๓ เดือน จึงนำกบมาประกวดแข่งขันเพื่อสร้างขวัญกำลังใจในการฝึกฝนตนเองให้มีความรับผิดชอบและมีวินัย

๑. นำวงล้อรถยนต์มาจัดทำเป็นกระถางปลูก โดยให้พิจารณาพืชที่นำมาปลูกให้มีความสอดคล้องกับเมนูอาหารที่จะผักที่ปลูกไปทำอาหารนั้นเด็กได้เรียนรู้การเลือกชนิดผักที่จะปลูกและขยายผลให้ผู้ปกครองไปปลูกที่บ้าน เอกสารหลักฐานการเรียนรู้รูปภาพ สรุปรายงานผลการดำเนินงาน

๒. การเลี้ยงกบขวด เพื่อส่งเสริมความรับผิดชอบและการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองโดยการให้อาหารสำเร็จรูปการเลี้ยงในขวดใช้เวลาน้อยกว่าเลี้ยงในบ่อแหล่งอ้างอิงรูปภาพและเอกสารวิธีการเลี้ยง

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

เครือข่ายเด็กไทยฟันดี โดยการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง

ส่งเสริมโดยระบบเครือข่ายกลุ่มโรงเรียนและการมีส่วนของผู้ปกครองในการประเมินผลโดยมีสมุดบันทึกการแปรงฟันตอนเช้า หลังอาหารกลางวันก่อนนอน และติดตามผลโดยครู ผู้ปกครอง ตลอดถึงส่งเสริมให้นักเรียนมีพฤติกรรมที่บ้านด้วย นักเรียนทุกคนมีสมุดบันทึกการแปรงฟัน มีการย้อมสีฟัน เอกสารสำหรับการเรียนรู้ สมุดบันทึก สรุปผลการดำเนินงาน รูปภาพกิจกรรม

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ

 

 

 

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

  1. กลุ่มเครือข่ายสถานศึกษาเกาะคา ๑ ซึ่งประกอบด้วยโรงเรียนในกลุ่มเครือข่ายจำนวน ๔ โรงเรียน คือ โรงเรียนไหล่หินราษฎร์บำรุง โรงเรียนบ้านดอนธรรม โรงเรียนบ้านทุ่งขาม และโรงเรียนชุมชนวัดพระธาตุลำปางหลวง ได้เข้ามีส่วนร่วมโดยส่งเสริมการดำเนินงานให้เป็นโครงการและกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพอนามัยของกลุ่มเครือข่าย และร่วมกันจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่นักเรียนแกนนำสุขภาพในโรงเรียน

  2. เครือข่ายผู้ปกครองของนักเรียน ่โดยมีส่วนร่วมในการดำเนินงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะเฝ้าระวังการดูแลสุขภาพ สุขนิสัยที่ดีให้กับนักเรียนทั้งการดูแลสุขอนามัยตนเอง การดูแลคุณภาพอาหารของนักเรียนตามที่ครูได้แนะนำขณะอยู่ที่บ้าน

  3. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลไหล่หินได้ช่วยเหลือให้คำแนะนำ และให้ความรู้แก่นักเรียนในการตรวจและแก้ไขปัญหาสุขภาพของนักเรียน

  4. โรงพยาบาลเกาะคาให้การบริการตรวจสุขภาพ การรักษาพยาบาล การติดตามเยี่ยมบ้านในรายที่มีปัญหา การส่งเสริมโภชนาการ การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค การแนะนำเกี่ยวกับสุขาภิบาลในโรงเรียน การอบรมเจ้าหน้าที่อนามัยโรงเรียนเพื่อให้การทำงานมีประสิทธิภาพ

  5. ภูมิปัญญาท้องถิ่นหรือปราชญ์ชาวบ้านให้ความรู้ในการดูแลรักษาสุขภาพ และสภาพแวดล้อมโดยส่งเสริมให้ใช้สมุนไพรพื้นบ้านในการรักษาอาการเจ็บป่วย ส่งเสริมการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ในการทำการเกษตร และวิธีการเกษตรตามแนวทางของชุมชนที่ผ่านการถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่น

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

โรงเรียนตั้งอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ใกล้ชิดชุมชน ศาสนสถาน ทำให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการทำให้โรงเรียนมีแหล่งแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการเกษตรที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของนักเรียน ผู้ปกครอง นอกจากนี้ชุมชนมีวิถีชีวิตส่วนใหญ่ ทำการเกษตร จึงมีภูมิปัญญาทางการเกษตรเพื่อเปิดโอกาสให้นักเรียนได้เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ตลอดถึง ในชุมชนส่วนใหญ่ จะมีการปลูกพืชผักสวนครัว ไว้รับประทานเองที่บ้าน ซึ่งจะเป็นปัจจัยเอื้อให้นักเรียนได้รับการฝึกฝน ส่งเสริมให้รับประทานผักได้ง่ายมากขึ้น

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

กลไกการทำงานให้เกิดการขับเคลื่อนคือมีการสร้างความเข้าใจให้กับทีมงานทุกๆคนไปในทิศทางเดียวกันและสร้างวัตถุประสงค์ร่วมกันจากนั้นแบ่งความรับผิดชอบให้ทุกคนมีความรับผิดชอบและร่วมกันทำงานมีแกนนำนักเรียนรับผิดชอบในแต่ละกิจกรรม

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัวมีการประชุม อบรม แลกเปลี่ยนประสบการณ์และร่วมกันวิเคราะห์ปัญหาและแนวทางแก้ไขเพื่อเกิดการเรียนรู้ในการทำงาน

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

ผู้ปกครองและชุมชนมีส่วนร่วมโดยการมาช่วยในการจัดทำกิจกรรมต่างๆเช่นการเกษตรและมีส่วนในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และให้ข้อเสนอแนะรวมทั้งการขยายผลจากโรงเรียนไปดำเนินการที่บ้าน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

การบริหารจัดการเพื่อให้นักเรียนได้บริโภคผักและผลไม้ที่เพียงพอโรงเรียนมีการซื้อเพิ่มเติมจากชุมชนและตลาดชุมชนที่เป็นผักผลไม้ปลอดสารพิษ

เอกสารการจัดซื้อจัดจ้าง

มีการส่งต่อให้ผู้ปกครองปลูกผักส่งให้โรงเรียน และมีการประกวดหนึ่งวงล้อ หนึ่งเมนู เพื่อให้ผู้ปกครองมีการปลูกผักบริโภคในครอบครัวเพื่อส่งเสริมให้นักเรียนได้กินผัก

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

เลี้ยงไก่ไข่ จำนวน 120ตัว

การบริหารจัดการมีการแบ่งนักเรียนเป้นกลุ่มๆดูแลและมีครูควบคุมกำกับและให้ข้อเสนอแนะในการจัดการ มีการจัดทำบันทึกกิจกรรมแต่ละอย่างและบันทึกผลผลิตที่ได้แต่ละชนิด ผลผลิตทุกอย่างนำเข้าระบบสหกรณ์จากนั้นสหกรณ์จะขายต่อให้โครงการอาหารกลางวัน เงินที่ได้จากผลผลิตจะนำเข้าสู่กองทุนหมุนเวียนในกิจกรรมนั้นๆเพื่อบริหารจัดการอย่างต่อเนื่อง

ภาพกิจกรรม/เอกสารสรุปผลการดำเนินงาน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

มีการเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนประมาณ3,000 ตัว เลี้ยงกบ จำนวน 200ตัว(ขายเอาเงินซื้ออาหารอื่น) การบริหารจัดการมีการแบ่งนักเรียนเป้นกลุ่มๆดูแลและมีครูควบคุมกำกับและให้ข้อเสนอแนะในการจัดการ มีการจัดทำบันทึกกิจกรรมแต่ละอย่างและบันทึกผลผลิตที่ได้แต่ละชนิด ผลผลิตทุกอย่างนำเข้าระบบสหกรณ์จากนั้นสหกรณ์จะขายต่อให้โครงการอาหารกลางวัน เงินที่ได้จากผลผลิตจะนำเข้าสู่กองทุนหมุนเวียนในกิจกรรมนั้นๆเพื่อบริหารจัดการอย่างต่อเนื่อง

ภาพกิจกรรม/เอกสารสรุปผลการดำเนินงาน

พัฒนาต่อยอดเลี้ยงกบคอนโด

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

 

 

จัดบริการข้าวต้ม เน้นเสริมพืชผักผลไม้ และกระตุ้นให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วมโดยอาจนำไข่มาคนละฟอง เพื่อมาทานกับข้าวต้ม

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

มีการจัดบริการอาหารกลางวันให้เด็กอนุบาลเวลา11.00น.โดยมีครูคอยดูแลให้เด็กได้บริโภคตามที่จัดให้ การตักอาหารให้แม่ครัวตักให้นักเรียน

ภาพอาหารกลางวันที่นักเรียนรับประทานและเอกสารการจัดซื้อผักและวัตถุดิบในการประกอบอาหารแต่ละวันรวมถึงเมนูอาหาร

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

มีการจัดบริการอาหารกลางวันให้เด็กอนุบาลเวลา11.30น.โดยมีครูคอยดูแลให้เด็กได้บริโภคตามที่จัดให้ การตักอาหารให้แม่ครัวตักให้นักเรียน

ภาพอาหารกลางวันที่นักเรียนรับประทานและเอกสารการจัดซื้อผักและวัตถุดิบในการประกอบอาหารแต่ละวันรวมถึงเมนูอาหาร

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

ไม่มีนักเรีนมัธยม

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

ไม่ได้มีการเชื่อมโยงอย่างเป้นระบบในการบริหารจัดการกับแหล่งผลิตอาหารในชุมชนแต่ส่วนใหญ่การซื้ออาหารเพิ่มเติมกรณีที่โรงเรียนผลิตไม่เพียงพอจะซื้อจากชุมชนที่สอดคล้องกับเมนูหากไม่มีในชุมชนจะซื้อจากตลาดนัด

เอกสารจัดซื้อวัสดุอาหารกลางวัน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

มีการกำหนดรายการอาหารตาม TSL แต่เนื่องจากรายการอาหารบางอย่างไม่มีวัตถุดิบในท้องถิ่นโรงเรียนใช้การดัดแปลงรายการอาหารโดยใช้ผักหรือเนื้อสัตว์อย่างอื่นทดแทน

รายการจัดซื้อวัตถุดิบในการประกอบอาหารแต่ละวันและเมนูอาหารตาม TSL

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

มีการวิเคราะห์และประเมินผลภาวะโภชนาการจากนั้นวางแผนการเฝ้าระวังติดตามและแก้ไขปัญหาโดยขั้นตอนการดำเนินงานคือ ชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูงแปลผลแบ่งกลุ่มนักเรียน ประชุมผู้ปกครอง จัดการอาหารกลางวันและอาหารว่างในโรงเรียนให้กับกลุ่มที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการและให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วมใการแก้ไขที่บ้านด้วย

ผลการประเมินภาวะโภชนาการ โครงการแก้ไขปัญหา ภาพกิจกรรม สรุปผลการดำเนินงาน

มีการออกแบบประเมินให้ผู้ปกครองเฝ้าระวังที่บ้าน

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 1/12558 1/22558 2/12558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 1/22560 2/12560 2/2
เตี้ย 2.86 2.86% 3.57 3.57% 2.14 2.14% 2.86 2.86% 6.25 6.25% 4.26 4.26% 4.03 4.03% 2.01 2.01% 2.19 2.19% 2.19 2.19% 3.85 3.85% 2.75 2.75%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 3.57 3.57% 3.57 3.57% 3.57 3.57% 3.57 3.57% 11.11 11.11% 8.51 8.51% 8.05 8.05% 5.37 5.37% 4.92 4.92% 7.10 7.10% 7.69 7.69% 7.69 7.69%
ผอม 4.29 4.29% 7.86 7.86% 2.88 2.88% 4.29 4.29% 2.78 2.78% 3.55 3.55% 2.70 2.70% 3.36 3.36% 6.59 6.59% 6.56 6.56% 3.30 3.30% 4.95 4.95%
ผอม+ค่อนข้างผอม 9.29 9.29% 9.29 9.29% 8.63 8.63% 9.29 9.29% 6.25 6.25% 7.80 7.80% 4.05 4.05% 7.38 7.38% 13.74 13.74% 16.94 16.94% 9.89 9.89% 9.89 9.89%
อ้วน 0.71 0.71% 1.43 1.43% 0.00 0.00% 0.71 0.71% 4.17 4.17% 3.55 3.55% 3.38 3.38% 2.01 2.01% 1.65 1.65% 2.73 2.73% 4.40 4.40% 4.40 4.40%
เริ่มอ้วน+อ้วน 5.71% 5.71% 5.00% 5.00% 1.44% 1.44% 5.71% 5.71% 5.56% 5.56% 10.64% 10.64% 8.78% 8.78% 8.05% 8.05% 12.09% 12.09% 12.57% 12.57% 11.54% 11.54% 10.99% 10.99%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

มีจำกัดอาหารประเภทแป้ง น้ำตาล และให้นักเรียนบริโภคตามที่ควรจะได้รับ และส่งต่อให้ผู้ปกครองช่วยเฝ้าระวังการบริโภคอาหาร จัดกิจกรรมออกกำลังกายให้กิบกลุ่มเป้าหมายและมีสมุดบันทึกประเมินการบริโภค

ภาพกิจกรรม,รายละเอียดกิจกรรม สมุดบันทึก สรุปผลการประเมินภาวะโภชนาการก่อนและหลัง

สร้างความต่อเนื่องจากแนวทางการจัดเมนูตามTSLและบริหารจัดการสหกรณ์ไม่ขายอาหารว่างที่ส่งผลกระทบต่อภาวะอ้วน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

ให้เพิ่มปริมาณอาหารตามกำหนดที่ควรจะได้รับมีการควบคุมกำกับให้รับประทานให้หมดตามที่จัดให้สร้างแรงจูงใจในการรับประทานอาหารด้วยการชื่นชม และให้ผู้ปกครองได้เรียนรู้การจัดอาหารที่บ้าน และให้ผู้ปกครองจัดอาหารเช้าให้เด็กที่มีคุณค่าทางโภชนาการ

ภาพกิจกรรมเอกสารการจัดอาหารกลางวันโครงการแก้ไขปัญหา

ทำโครงการจัดบริการอาหารเช้าที่มีคุณค่าทางโภชนาการให้นักเรียนทั้งโรงเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

ให้เพิ่มไข่และปริมาณอาหารตามกำหนดที่ควรจะได้รับมีการควบคุมกำกับให้รับประทานให้หมดตามที่จัดให้สร้างแรงจูงใจในการรับประทานอาหารด้วยการชื่นชม และให้ผู้ปกครองได้เรียนรู้การจัดอาหารที่บ้าน และให้ผู้ปกครองจัดอาหารเช้าให้เด็กที่มีคุณค่าทางโภชนาการ

ภาพกิจกรรมเอกสารการจัดอาหารกลางวันโครงการแก้ไขปัญหา

ทำโครงการจัดบริการอาหารเช้าที่มีคุณค่าทางโภชนาการให้นักเรียนทั้งโรงเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

มีการเยี่ยมบ้าน อบรมผู้ปกครองและคุยแลกเปลี่ยนกบผู้ปกครองในการสร้างความเข้าใจการดูแลเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนที่มีภภาวะทุพโภชนาการ

ภาพกิจกรรมเยี่ยมบ้าน/อบรม/โครงการ

ทำโครงการจัดบริการอาหารเช้าที่มีคุณค่าทางโภชนาการให้นักเรียนทั้งโรงเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาโดยการควบคุมการจัดและบริโภคอาหารของนักเรียน

 

ใช้แนวทางแก้ไขปัญหาสุขภาพช่องปากปรับใช้โดยการบันทึกประจำวันการบริโภคอาหารของนักเรียนและให้ผู้ปกครองร่วมประเมิน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

  1. กลุ่มเครือข่ายสถานศึกษาเกาะคา ๑ ซึ่งประกอบด้วยโรงเรียนในกลุ่มเครือข่ายจำนวน ๔ โรงเรียน คือ โรงเรียนไหล่หินราษฎร์บำรุง โรงเรียนบ้านดอนธรรม โรงเรียนบ้านทุ่งขาม และโรงเรียนชุมชนวัดพระธาตุลำปางหลวง ได้เข้ามีส่วนร่วมโดยส่งเสริมการดำเนินงานให้เป็นโครงการและกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพอนามัยของกลุ่มเครือข่าย และร่วมกันจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่นักเรียนแกนนำสุขภาพในโรงเรียน

  2. เครือข่ายผู้ปกครองของนักเรียน ่โดยมีส่วนร่วมในการดำเนินงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะเฝ้าระวังการดูแลสุขภาพ สุขนิสัยที่ดีให้กับนักเรียนทั้งการดูแลสุขอนามัยตนเอง การดูแลคุณภาพอาหารของนักเรียนตามที่ครูได้แนะนำขณะอยู่ที่บ้าน

  3. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลไหล่หินได้ช่วยเหลือให้คำแนะนำ และให้ความรู้แก่นักเรียนในการตรวจและแก้ไขปัญหาสุขภาพของนักเรียน

  4. โรงพยาบาลเกาะคาให้การบริการตรวจสุขภาพ การรักษาพยาบาล การติดตามเยี่ยมบ้านในรายที่มีปัญหา การส่งเสริมโภชนาการ การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค การแนะนำเกี่ยวกับสุขาภิบาลในโรงเรียน การอบรมเจ้าหน้าที่อนามัยโรงเรียนเพื่อให้การทำงานมีประสิทธิภาพ

  5. ภูมิปัญญาท้องถิ่นหรือปราชญ์ชาวบ้านให้ความรู้ในการดูแลรักษาสุขภาพ และสภาพแวดล้อมโดยส่งเสริมให้ใช้สมุนไพรพื้นบ้านในการรักษาอาการเจ็บป่วย ส่งเสริมการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ในการทำการเกษตร และวิธีการเกษตรตามแนวทางของชุมชนที่ผ่านการถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่น

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh