ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนเทศบาล 8 บ้านใหม่

รหัสโครงการ ศรร.1123-007 รหัสสัญญา 58-00-2265-น.07 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน

1.การปลูกเกษตร ไร่ นา สวนผสม แบบแปลงสาธิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง 2.กิจกรรมการตั้งชื่อผักสวนครัวที่ตนเองปลูก

  1. ประชุม วางแผนการทำการเกษตรร่วมกับครูอาหารกลางวัน เพื่อนำผลผลิตบางส่วนไปใช้ในเมนูอาหารกลางวัน
  2. เชิญปราชญ์ชาวบ้าน ภูมิปัญญาท้องถิ่นในชุมชนซึ่งเป็นข้าราชการครูที่เกษียณมาอบรมเกี่ยวกับการปลูกผักและปลูกมะนาวในบ่อซีเมนต์
  3. จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ จัดทำกำหนดการอบรมให้กับนักเรียน
  4. จัดอบรมให้ความรู้นักเรียนโดยภูมิปัญญาท้องถิ่นและจัดกิจกรรมปลูกเกษตร ไร่ นา สวนผสม
  5. จัดกิจกรรมการปลูกข้าวของหนู โดยผู้ปกครองและนักเรียนร่วมกันดำนาในเดือนกรกฎาคมและเกี่ยวข้าวในเดือนธันวาคม
  6. จัดกิจกรรมการปลูกและตั้งชื่อผักสวนครัวเพื่ออาหารกลางวัน
    (กิจกรรมที่ 9 และ 17ในรายงานผู้รับผิดชอบ)

เพื่อให้เกิดความต่อเนื่องและยั่งยืนทางโรงเรียนมีแผนจะจัดกิจกรรมการทำเกษตรไร่นาสวนผสมให้เป็นงานประเพณีประจำปีของโรงเรียนโดยผู้ปกครองและคนในชุมชนมีส่วนร่วม 1. "วันนาข้าวของหนู" โดยกำหนดวันปลูกในเดือนกรกฎาคมและวันเก็บเกี่ยวในเดือนธันวาคม ซึ่งจะมีคณะกรรมการสถานศึกษาเป็นผู้กำหนดวันดังกล่าวและประกาศให้ทราบล่วงหน้าทุกปี 2. "วันผักของหนู" กำหนดให้มีขึ้นในเดือนธันวาคมหลังการเก็บข้าวเสร็จสิ้น เนื่องจากใช้พื้นที่การเกษตรร่วมกันแบบหมุนเวียน

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

การจัดกิจกรรมสหกรณ์โดยมีนักเรียนเป็นผู้รับผิดชอบ

  1. จัดอบรม ดูงานสหกรณ์ต้นแบบ
  2. จัดกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน
  • การจัดกิจกรรมสหกรณ์อย่างเป็นระบบ มีการซื้อและจำหน่ายสินค้าที่หลากหลาย
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

การจัดบริการอาหารให้กับนักเรียนที่มีภาวะผอมและอ้วนที่แตกต่างจากนักเรียนปกติ

  1. จัดรายชื่อนักเรียนที่มีภาวะผอมและอ้วน เพื่อจัดทำรายการอาหารให้เหมาะสม เช่น เด็กผอมจะเสริมโปรตีนจากไข่ต้มวันละ 1 ฟองในมื้อเช้าทุกวันก่อนเข้าแถว
  2. เด็กอ้วนมีการตักอาหารจำกัดอาหารจำพวกแป้งและไขมันให้ได้รับตามความจำเป็นตามวัยของเด็ก และจะเพิ่มอาหารจำนวนผักและผลไม้
  3. ใช้มาตรการงดเครื่องปรุงอาหาร เช่น น้ำปลา พริก น้ำตาล ไม่มีการจัดวางให้เด็ก (กิจกรรมที่ 2, 7 และ 8 ในรายงานผู้รับผิดชอบ )
  • ส่งเสริมการจัดบริการอาหารให้กับนักเรียนตามเกณฑ์ภาวะโภชนาการ โดยการมีส่วนร่วมกับเครือข่ายผู้ปกครองทุกระดับชั้น
  • ให้นักเรียนจัดทำสมุดบันทึกโภชนาการประจำวัน เพื่อวางผนการปรับพฤติกรรมบริโภคให้ถูกหลักโภชนาการ ป้องกันภาวะเสี่ยงในอนาคต และสามารถนำความรู้ไปสานต่อในครอบครัวได้
  • ขอการสนับสนุนให้กระทรวงสาธารณสุขและ สสส. ในการอบรมให้ความรู้แก่ครูและแกนนำโภชนาการ
  • เสนอให้องค์กรปกครองส่วนท้องและกระทรวงศึกษาธิการจัดทำเป็นนโยบายที่ต้องทำทุกโรงเรียน
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน
  1. กิจกรรมลดอ้วนลดพุง โดยส่งเสริมการออกกำลังกายเฉพาะเด็กที่มีภาวะอ้วน และมีการติดตามอย่างต่อเนื่อง
  1. ประชุม วางแผน ประสานงานกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขหรือโรงพยาบาล
  2. ตรวจสุขภาพนักเรียน ภาวะโภชนาการโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขหรือโรงพยาบาล
  3. สรุปผลการตรวจสุขภาพนักเรียน (กิจกรรมที่ 2, 7 และ 8 ในรายงานผู้รับผิดชอบ)
  • ส่งเสริมการตรวจสุขภาพนักเรียนครบทุกด้าน
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน
  1. กิจกรรมลดอ้วนลดพุง โดยส่งเสริมการออกกำลังกายเฉพาะเด็กที่มีภาวะอ้วน และมีการติดตามอย่างต่อเนื่อง
  1. ประชุม วางแผน ประสานงานกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
  2. จัดอบรม ให้ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนา ส่งเสริมสุขนิสัยให้กับนักเรียน ผู้ปกครอง โดยครู เจ้าหน้าที่สาธารณสุข (กิจกรรมที่ 2, 7 และ 8 ในรายงานผู้รับผิดชอบ)
  • การพัฒนาสุขนิสัยและส่งเสริมสุขภาพให้กับนักเรียน โดยมีการจดบันทึกสุขภาพ น้ำหนัก ส่วนสูง การบริโภคอาหารเป็นประจำทุกวัน
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ
  1. การปรับปรุงอาคารสถานที่ ภูมิทัศน์ ห้องพยาบาล
  1. ประชุม วางแผน มอบหมายงาน
  2. จัดหางบประมาณในการปรับปรุงอาคารสถานที่ ภูมิทัศน์ ห้องพยาบาล
  3. ดำเนินการปรับปรุง ซ่อมแซม พัฒนาอาคารสถานที่ ภูมิทัศน์
  • พัฒนาสิ่งแวดล้อม อาคารสถานที่ให้สวยงาม เป็นระบบ ถูกสุขลักษณะ ตามเกณฑ์มาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน
  1. การตรวจสุขภาพนักเรียนตามมาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุขการตรวจโลหิต ภาวะปนเปื้อนสารพิษ
  1. ประชุม วางแผน ประสานงานกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขหรือโรงพยาบาล
  2. ตรวจสุขภาพนักเรียน ภาวะโภชนาการโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขหรือโรงพยาบาล
  3. สรุปผลการตรวจสุขภาพนักเรียน

(กิจกรรมที่ 2, 7 และ 8 ในรายงานผู้รับผิดชอบ)

  • ส่งเสริมการตรวจสุขภาพนักเรียนภาวะเสี่ยงน้ำตาลในเลือดสูง
  • ส่งเสริมการให้แกนนำนักเรียน จัดกิจกรรมรณรงค์เกี่ยวกับการบริการสุขภาพนักเรียน
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย
  1. การบูรณาการจัดการเรียนรู้ให้กับนักเรียนในด้านการเกษตร อาหาร โภชนาการ
  1. ประชุม วางแผน จัดทำกำหนดการจัดการเรียนรู้
  2. ดำเนินการจัดกิจกรรมบูรณาการจัดการเรียนรู้
  3. รายงานผลการจัดการเรียนรู้
  • ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการให้ครอบคลุมทุกองค์ประกอบ
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ

 

 

 

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

-ได้แก่ เทศบาลนครเชียงราย กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ศูนย์อนามัย โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ ชุมชน ผู้ปกครองนักเรียน นักวิชาการ

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

– สภาพแวดล้อมภายใน ได้แก่ ด้านบุคลากรที่ส่งเสริมการดำเนินการ งบประมาณ การบริหารจัดการ วิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษา การจัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ในการดำเนินงาน - สภาพแวดล้อมภายนอก ได้แก่ ผู้บริหารเทศบาลนครเชียงราย ผู้ปกครอง ชุมชน ภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินการด้านสาธารณสุข

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

  1. ผู้บริหารสถานศึกษา
    1. ผู้รับผิดชอบโครงการและทีมนำในการทำงาน
    2. ครูและบุคลากรในโรงเรียนทุกท่าน
    3. ภาคีเครือข่ายและหน่วยงานต้นสังกัด
    4. ประธานโครงการ เลขาโครงการและนักวิชาการของโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบฯ

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

  1. เกิดการเรียนรู้โดยการปฏิบัติจริง (Learning by doing)
    1. เกิดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การเรียนรู้จากภูมิปัญญาท้องถิ่น ปราชญ์ชาวบ้าน
    2. การเรียนรู้แบบบูรณาการของนักเรียนในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ กิจกรรมชุมนุมเกษตรหรือกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง
    3. การเรียนรู้แบบกลุ่ม
    4. การเรียนรู้แบบโครงงาน

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

  1. การประชุม วางแผน การชี้แจงให้กับผู้ปกครองและชุมชน ให้เล็งเห็นความสำคัญในการดำเนินการตามโครงการ
  2. การจัดอบรมโดยมีภูมิปัญญาท้องถิ่น ปราชญ์ชาวบ้านจากชุมชน โดยมีผู้ปกครองเข้ารับการอบรมร่วมกับนักเรียนด้านสุขภาพ ภาวะโภชนาการ
  3. บทบาทของผู้ปกครอง ชุมชนในการมีส่วนร่วมจัดกิจกรรมเกษตร ไร่ นา สวนผสม กิจกรรมสหกรณ์นักเรียน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ
  1. วางแผน มอบหมายงาน
  2. ปลูกผักสวนครัว ผลไม้ที่มีคุณค่า เช่น กล้วยหอมทอง
  1. บัญชีรายการวัสดุประกอบอาหาร
  1. ส่งเสริมการปลูกผักและผลไม้ในโรงเรียนให้เพียงพอต่อความต้องการของนักเรียน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)
  1. วางแผน มอบหมายงาน
  2. เลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์
  1. ภาพถ่าย
  1. ส่งเสริมการเลี้ยงสัตว์อื่นๆ เช่น กบ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

 

 

 

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม
  1. วางแผน มอบหมายงาน
  2. จัดหาผักและผลไม้สำหรับเป็นอาหารกลางวันให้กับนักเรียน
  1. บัญชีรายการวัสดุประกอบอาหาร
  1. ส่งเสริมการบริโภคผักและผลไม้ให้กับนักเรียนระดับชั้นอนุบาล การจัดอบรม ให้ความรู้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม
  1. วางแผน มอบหมายงาน
  2. จัดหาผักและผลไม้สำหรับเป็นอาหารกลางวันให้กับนักเรียน
  1. บัญชีรายการวัสดุประกอบอาหาร
  1. ส่งเสริมการบริโภคผักและผลไม้ให้กับนักเรียนระดับชั้นประถม การจัดอบรม ให้ความรู้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน
  1. วางแผน มอบหมายงาน
  2. จัดหาผักและผลไม้ในชุมชนสำหรับเป็นอาหารกลางวันให้กับนักเรียน
  1. บัญชีรายการวัสดุประกอบอาหาร
  1. จัดหาร้านที่จำหน่ายอาหารปลอดสารพิษในชุมชน มาประกอบอาหารกลางวัน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่
  1. วางแผน มอบหมายงาน
  2. บันทึกข้อมูลในโปรแกรม Thai School Lunch
  1. ข้อมูลในโปรแกรม Thai School Lunch
  1. ส่งเสริมการนำข้อมูลจากโปรแกรม Thai School Lunch มาใช้ในการดำเนินการ วิเคราะห์ สังเคราะห์อย่างเป็นระบบ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่
  1. วางแผน มอบหมายงาน
  2. จัดให้มีการตรวจสุขภาวะโภชนาการให้กับนักเรียนโดยครู เจ้าหน้าที่สาธารณสุข พยาบาลวิชาชีพ
  1. ภาพถ่าย
  2. ข้อมูลการตรวจสุขภาพนักเรียน
  1. ส่งเสริมให้มีการตรวจสุขภาพ สมรรถภาพนักเรียนอย่างสม่ำเสมอ
3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 1/22560 2/12560 2/22561 1/12562 1/2
เตี้ย 3.13 3.13% 1.01 1.01% 0.34 0.34% 1.01 1.01% 0.00 0.00% 2.94 2.94% 2.29 2.29% 0.32 0.32% 0.32 0.32% 1.25 1.25% 1.41 1.41%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 4.70 4.70% 4.71 4.71% 2.36 2.36% 4.04 4.04% 4.10 4.10% 7.84 7.84% 5.88 5.88% 0.97 0.97% 1.29 1.29% 5.63 5.63% 3.95 3.95%
ผอม 1.88 1.88% 8.75 8.75% 3.37 3.37% 7.41 7.41% 5.08 5.08% 3.59 3.59% 3.61 3.61% 2.59 2.59% 2.27 2.27% 2.81 2.81% 2.26 2.26%
ผอม+ค่อนข้างผอม 3.13 3.13% 16.50 16.50% 11.45 11.45% 14.48 14.48% 13.90 13.90% 7.19 7.19% 6.56 6.56% 6.47 6.47% 5.83 5.83% 8.13 8.13% 5.37 5.37%
อ้วน 4.70 4.70% 8.75 8.75% 7.41 7.41% 8.75 8.75% 3.39 3.39% 8.82 8.82% 8.52 8.52% 12.94 12.94% 11.65 11.65% 9.38 9.38% 10.17 10.17%
เริ่มอ้วน+อ้วน 6.58% 6.58% 13.80% 13.80% 12.12% 12.12% 13.47% 13.47% 9.49% 9.49% 15.36% 15.36% 13.77% 13.77% 18.77% 18.77% 15.53% 15.53% 16.25% 16.25% 15.82% 15.82%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง
  1. ตรวจสุขภาวะโภชนาการนักเรียนโดยครู เจ้าหน้าที่สาธารณสุข พยาบาลวิชาชีพ
  2. จัดอบรม ให้ความรู้ให้กับผู้ปกครองและนักเรียนที่มีภาวะอ้วน
  3. จัดกิจกรรมการออกกำลังกายให้กับนักเรียนที่มีภาวะอ้วน
  1. ภาพถ่าย
  2. ข้อมูลการตรวจสุขภาพนักเรียน
  1. ส่งเสริมให้มีการตรวจสุขภาพ สมรรถภาพนักเรียนอย่างสม่ำเสมอ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง
  1. ตรวจสุขภาวะโภชนาการนักเรียนโดยครู เจ้าหน้าที่สาธารณสุข พยาบาลวิชาชีพ
  2. จัดอบรม ให้ความรู้ให้กับผู้ปกครองและนักเรียนที่มีภาวะผอม
  3. จัดกิจกรรมการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ให้กับนักเรียนที่มีภาวะผอม
  1. ภาพถ่าย
  2. ข้อมูลการตรวจสุขภาพนักเรียน
  1. ส่งเสริมให้มีการตรวจสุขภาพ สมรรถภาพนักเรียนอย่างสม่ำเสมอ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง
  1. ตรวจสุขภาวะโภชนาการนักเรียนโดยครู เจ้าหน้าที่สาธารณสุข พยาบาลวิชาชีพ
  2. จัดอบรม ให้ความรู้ให้กับผู้ปกครองและนักเรียนที่มีภาวะเตี้ย
  3. จัดกิจกรรมการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ให้กับนักเรียนที่มีภาวะเตี้ย
  1. ภาพถ่าย
  2. ข้อมูลการตรวจสุขภาพนักเรียน
  1. ส่งเสริมให้มีการตรวจสุขภาพ สมรรถภาพนักเรียนอย่างสม่ำเสมอ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร
  1. ตรวจสุขภาวะโภชนาการนักเรียนโดยครู เจ้าหน้าที่สาธารณสุข พยาบาลวิชาชีพ
  2. จัดอบรม ให้ความรู้ให้กับผู้ปกครองและนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ
  3. จัดกิจกรรมให้กับนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการทุกคน
  1. ภาพถ่าย
  2. ข้อมูลการตรวจสุขภาพนักเรียน
  1. ส่งเสริมให้มีการตรวจสุขภาพ สมรรถภาพนักเรียนอย่างสม่ำเสมอ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร
  1. จัดอบรม ให้ความรู้ให้กับผู้ปกครองและนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ
  2. ส่งเสริมให้ผู้ปกครองดูแลการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ อาหารที่ดีต่อสุขภาพให้กับนักเรียน
  1. เอกสารการจัดอบรม
  1. ส่งเสริมให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

-ได้แก่ เทศบาลนครเชียงราย กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ศูนย์อนามัย โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ ชุมชน ผู้ปกครองนักเรียน นักวิชาการ

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh