โรงเรียนอมรินทราวารี - โครงการพัฒนาระบบการจัดการด้านอาหารและโภชนาการในสถานศึกษาเข้าสู่มาตรฐาน
ชื่อโครงการ | โรงเรียนอมรินทราวารี - โครงการพัฒนาระบบการจัดการด้านอาหารและโภชนาการในสถานศึกษาเข้าสู่มาตรฐาน |
ภายใต้โครงการ | โครงการพัฒนากลไกชุมชนและท้องถิ่นขับเคลื่อนระบบอาหารและโภชนาการเพื่อคุณภาพเด็กวัยเรียน ปีการศึกษา 2567 |
ภายใต้องค์กร | โรงเรียนอมรินทราวารี |
รหัสโครงการ | |
วันที่อนุมัติ | 20 สิงหาคม 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 กรกฎาคม 2567 - 15 ธันวาคม 2567 |
งบประมาณ | 15,000.00 บาท |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงเรียนอมรินทราวารี |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายกฤษฎา นิสัยกล้า |
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ | 0819667173 |
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ | phainsin2510@gmail.com |
พี่เลี้ยงโครงการ | นายถวิล บุญเจียม |
พื้นที่ดำเนินการ | เลขที่ 143 หมู่ที่ 3 ตำบลโคกยาง อำเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
ชื่อโรงเรียน | โรงเรียนอมรินทราวารี |
สังกัด | สพป. |
หน่วยงานต้นสังกัด | สพป.สุรินทร์ เขต ๓ |
ที่อยู่โรงเรียน | เลขที่ 143 หมู่ที่ 3 ตำบลโคกยาง อำเภอประสาท จังหวัดสุรินทร์ 32140 |
จำนวนนักเรียน | 337 คน |
ช่วงชั้น | ปฐมวัย,อนุบาล,ประถม,มัธยมต้น |
ผู้อำนวยการ | นายสังวาร หาญศึกษา |
ครูผู้รับผิดชอบ | นายกฤษฎา นิสัยกล้า |
การประชุม อบรม เยี่ยมชม เสนอแนะ และสรุปผลการดำเนินงานของโครงการระบบการจัดการอาหารและโภชนาการในสถานศึกษา
1.คณะครูและนักเรียนนักเรียนความรอบรู้ด้านอาหารตามเกณฑ์ที่กำหนด 2.โรงเรียนมีสภาพแวดล้อมอาหารที่เอื้อต่อสุขภาพนักเรียนอย่างมีคุณภาพ 3.โรงเรียนแนวทางการปฏิบัติที่ดี (Best Practice) ด้านโภชนาการและความปลอดภัยอาหาร 4.โรงเรียนมีการพัฒนาระบบการจัดการด้านอาหารและโภชนาการสู่ 5 มาตรฐานอย่างมีคุณภาพ
ประชุมคณะทำงานเตรียมการในการนำความรู้เพื่อไปพัฒนาระบบการจัดการด้านอาหารและโภชนาการสู่ 5 มาตรฐานในสถานศึกษา
1.คณะครูและนักเรียนความรอบรู้ด้านอาหาร 2.โรงเรียนมีการพัฒนาระบบการจัดการด้านอาหารและโภชนาการสู่ 5 มาตรฐาน 3.โรงเรียนแนวทางการปฏิบัติที่ดี (Best Practice) ด้านโภชนาการและความปลอดภัยอาหาร 4.โรงเรียนมีการพัฒนาระบบการจัดการด้านอาหารและโภชนาการสู่ 5 มาตรฐานอย่างมีคุณภาพ
ขั้นวางแผนการดำเนินการ
1.1 ประชุมวางแผนจัดทำโครงการและชี้แจงมอบหมายงาน
1.2 เขียนโครงการและเสนอโครงการเพื่อขออนุมัติโครงการและงบประมาณ
จัดเตรียมอุปกรณ์สำหรับใช้ในกิจกรรม
ขั้นการดำเนินการ
2.1 จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการคณะทำงาน
2.2 ดำเนินการตามโครงการอาหารปลอดภัย สร้างช่องทางการติดต่อและ
ประชาสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนและบุคคลภายนอกภาคีเครือข่าย
2.2.สร้างสื่อในการเผยแพร่กิจกรรมภายในโรงเรียนที่ดำเนินการและประสบผลสำเร็จ
ขั้นการตรวจสอบประเมินผล
สรุปผลการดำเนินการตามมาตรฐานตัวชี้วัด
- แกนนำครูนักเรียนแม่ครัวกรรมการสถานศึกษาด้านอาหารโภชนาการเข้าร่วมอบรม จำนวน 30 คน
- แกนนำครูนักเรียนแม่ครัวกรรมการสถานศึกษาได้เรียนรู้เรื่องอาหารโภชนาการ และมาตรฐานระบบพัฒนาอาหาร
- โรงเรียนมีระบบการจัดการอาหารและโภชนาการที่ปลอดภัยมาตรฐาน
- แกนนำนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจภาวะทุพโภชนาการที่ลด มีสุขภาพที่ดี ร่างกายสมส่วน
- โรงเรียนมีบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถในการดำเนินการอาหารปลอดภัย สุขาภิบาลอาหารและสิ่งแวดล้อม ที่เป็นประโยชน์ต่อนักเรียน
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 24 ส.ค. 2567 12:09 น.