ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนวัดคลองสวน(พรหมอุทิศวิทยาคาร)

รหัสโครงการ ศรร. 1213-044 รหัสสัญญา 58-00-2265-ก.13 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ตรวจวัดสมรรถภาพทางกาย

ขั้นตอน

  1. ทำแบบบันทึกการทำชั่งน้ำหนัก-วัดส่วนสูง 2.แจกแบบฟอร์มให้ครูแต่ละชั้น
  2. นักเรียนแกนนำชั่งน้ำหนัก-วัดส่วงสูงนักเรียน

แหล่งอ้างอิง -แบบบันทึกการชั่งน้ำหนัก -แบบบันทึกการวัดส่งสูง -รูปภาพประกอบกิจกรรม

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

แปรงฟัน กำจัดเหา

ขั้นตอนกิจกรรมแปรงฟัน

  1. เปิดเพลงให้นักเรียนและพานักเรียนลงมาแปลงฟันหลังรับประทานอาหารกลางวัน
  2. นักเรียนลงชื่อในบันทึกการแปรงฟัน

ขั้นตอนกิจกรรมกำจัดเหา

  1. ครูตรวจสุภาพนักเรียนว่ามีเหาหรือไม่
  2. ให้นักเรียนที่มีเหาสระผม
  3. ลงน้ำยากำจัดเหาที่นักเรียน

แหล่งอ้างอิง รูปภาพประกอบการทำกิจกรรม

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

กำจัดยุงลาย พ่นยุง

ขั้นตอน

  1. นักเรียนแกนนำตรวจสอบยุงลายตามแหล่งน้ำในโรงเรียน เช่น บ่อปล่า อ่างน้ำในห้องน้ำ
  2. เจ้าหน้าที่ และ แกนนำนักเรียนนำทรายอเบสใส่ลงไปตามแหล่งน้ำต่างๆ

ขั้นตอนกิจกรรมการพ่นยุงลาย

เจ้าหน้าที่จากหน่วยงานสวนสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเข้ามาทำการพ่นยุงตามอาหารและสถานที่ต่างในโรงเรยน

แหล่งข้อมูล รูปภาพประกอบกิจกรรม

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

ตรวจสุขภาพประจำปี

ขั้นตอน

  1. กำหนดวันในการตรวจสุขภาพ 2.ติดต่อเจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาลสวาทยานนท์ให้มาตรวจสุขภาพประจำปีนักเรียน
  2. ใหันักเรียนแต่ละชั้นมาตรวจสุขภาพกับเจ้าหน้าที่

แหล่งข้อมูลอ้างอิง

รูปภาพประกอบกิจกรรม

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

แปลงเกษตรสาธิต

รูปภาพการทำกิจกรรม

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ

ผ้ามัดย้อมจากจาก

ขั้นตอนการดำเนินกิจกรรม

  1. นำลูกจากมาทุบหรือตำเพื่อสกัดเอาน้ำของลูกจาก
  2. น้ำผ้าดิบมา รัดด้วยยางเป็นทรงต่าง ๆ
  3. นำน้ำของลูกจากไปต้มและนำผ้าที่เตรียมไว้ไปต้มลงไปในน้ำของลูกจากทิ้งไว้ประมาณ 45 นาที
  4. น้ำผ้าที่ต้มไว้นำไปตาก

แหล่งอ้างอิง -รูปภาพประกอบการทำกิจกรรม

 

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

  1. การบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ
  2. การประชุมชี้แจงให้ทราบถึงนโยบายของโครงการแก้มใสอย่างชัดเจน
  3. ขอความร่วมมือจากภาคีเครือข่าย อาทิ เช่น ผู้ปกครอง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกๆ ภาคส่วนให้มีส่วนร่วมในการขับเคลื่อน
  4. การประชุม ติดตาม และประเมินผลอย่างต่อเนื่อง

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

  • กระบวนการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ
  • บุคลากรที่รับผิดชอบและเกี่ยวข้องทุกภาคส่วน
  • สถานที่ สภาพแวดล้อมภายในโรงเรียนต้องเอื้อต่อการทำกิจกรรม
  • การมีส่วนร่วมของชุมชน
  • งบประมาณในการบริหารจัดการ

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

  • การสร้างความตระหนักในการเข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสเพื่ออะไร เพื่อใคร และมีผลดีอย่างไร
  • การวางแผนในการทำงานอย่างเป็นระบบ การสร้างทีมเวิร์ค การแบ่งภาระหน้าที่ความรับผิดชอบอย่างชัดเจน ตลอดจนการมีส่วนร่วม จากบุคลากรทุกคนภายในโรงเรียน
  • ใช้หลักธรรมาภิบาลในการทำงานเช้าใจ เข้าถึง พัฒนา ส่งเสริม และสร้างขวัญกำลังใจ
  • มีการติดตามประเมินผล

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

  • การจัดการอบรมให้กับครู บุคลากรทางการศึกษา นักเรียน แม่ครั้ง และผู้ปกครอง ให้ทราบนโยบายของโครงการเด็กไทยแก้มใส
  • ให้ทุกคนได้มี่ส่วนร่วมในกิจกรรม เพื่อการเรียนรู้ด้วยประสบการณ์ตรงเน้นความเข้าใจ
  • มีการประชุมวางแผนร่วมกัน รับฟังปัญหา พร้อมเสนอแนวทางแก้ไขอย่างเป็นระบบ
  • มีการติดตามและประเมินผลในกิจกรรม

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

  • กำหนดนโยบาลแผนเป็นกรอบแนวทางในการดำเนินโครงการ
  • ประชุมชี้แจงให้ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องได้รับทราบแนวทางการดำเนินการไปในทิศทางเดียวกัน
  • ลงมือปฏิบัติจริงโดยให้ผู้ปกครอง ชุมชน เข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมตามความเหมาะสม
  • มีการติดตาม ประเมินผลอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

 

 

 

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

ดำเนินการโดยการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงเทอมละ 2 ครั้งเพื่อประเมินผลและติดตามภาวะโภชนาการและแก้ไขปัญหาภาคะเด็กอ้วนเกินเกณฑ์

แบบฟอร์มการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูง

 

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/2
เตี้ย 3.31 3.31% 3.31 3.31% 2.49 2.49% 5.39 5.39% 4.25 4.25%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 8.62 8.62% 8.62 8.62% 6.50 6.50% 12.34 12.34% 10.68 10.68%
ผอม 5.22 5.22% 5.22 5.22% 3.93 3.93% 8.72 8.72% 7.57 7.57%
ผอม+ค่อนข้างผอม 13.89 13.89% 13.89 13.89% 9.61 9.61% 17.03 17.03% 15.66 15.66%
อ้วน 7.89 7.89% 7.89 7.89% 3.38 3.38% 3.74 3.74% 4.88 4.88%
เริ่มอ้วน+อ้วน 14.78% 14.78% 14.78% 14.78% 7.64% 7.64% 8.52% 8.52% 9.54% 9.54%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

  1. การบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ
  2. การประชุมชี้แจงให้ทราบถึงนโยบายของโครงการแก้มใสอย่างชัดเจน
  3. ขอความร่วมมือจากภาคีเครือข่าย อาทิ เช่น ผู้ปกครอง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกๆ ภาคส่วนให้มีส่วนร่วมในการขับเคลื่อน
  4. การประชุม ติดตาม และประเมินผลอย่างต่อเนื่อง

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh