ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนชุมชนวัดบางกระดาน(สวนราษฎร์บำรุง)

รหัสโครงการ ศรร.1212-040 รหัสสัญญา 58-00-2265-ก.09 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน

-เกษตรชุมชนเพื่ออาหารกลางวันในครอบครัวและโรงเรียน

ทำความเข้าใจกับนักเรียน ผู้ปกครองและชุมชนถึงความสำคัญของอาหารและโภชนาการสำหรับเด็ก และสร้างความร่วมมือในการผลิตอาหารปลอดสารเคมีสำหรับเด็กในโรงเรียนและชุมชนเนื่องจากโรงเรียนไม่สามารถผลิตได้เพียงพอต่อความต้องการ จึงให้นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนวางแผนร่วมกันปลูกสำหรับบริโภคในครัวเรือนและส่งให้โรงเรียนเข้าสหกรณ์และโครงการอาหารกลางวัน เอกสารหลักฐาน ภาพกิจกรรม รายการจัดซื้อผักของชุมชนเข้าอาหารกลางวัน

ขยายการดำเนินงานและเพิ่มชนิดผลผลิตทางการเกษตร

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน

 

  1. มีการจำหน่ายสินค้า อุปกรณ์เครื่องเขียน ผลผลิตของโรงเรียนในรูปของสหกรณ์โรงเรียน
  2. นักเรียนเป็นผู้ดำเนิน ขายสินค้า ทำบัญชีรับจ่ายของสหกรณ์ โดยมีครูเป็นที่ปรึกษา
  3. มีการปันผล จากผลกำไรตามเรือนหุ้นที่สามาชิกมี
  4. รับซื้อผลผลิตจากกิจกรรมเกษตรในโรงเรียนนำไปให้กิจกรรมการจัดบริการอาหารกลางวัน

ดำเนินการตามแนวทางของสหกรณ์อย่างต่อเนื่อง โดยเน้นให้นักเรียนได้ปฏิบัติจริง

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

 

  1. จัดให้มีการปรุง ประกอบอาหารถูกหลักโภชนาการ สุขาภิบาลจัดโปรแกรมอาหารหมุนเวียนรายเดือนด้วยโปรแกรม Thai School Lunch โดยนักเรียนมีส่วนร่วมในการคิดรายการอาหาร
  2. อาหารและอาหารปลอดภัยโดยมีการจัดซื้อวัตถุดิบจากสหกรณ์โรงเรียนโดยผ่านกิจกรรมสกรณ์โรงเรียนและภายในท้องถิ่นที่ปลอดภัยได้มาตรฐาน มีการตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร
  3. จัดกิจกรรมรู้ประมาณ รับประทานพออิ่ม มีการบริการตักเสิร์ฟอาหารให้นักเรียนในเวลา 11.00 – 12.00 น. โดยมีการตักในสัดส่วนที่เหมาะสมกับความต้องการและช่วงวัยของนักเรียน
  4. ผู้ปรุงมีสุขภาพดี ไม่เป็นโรคติดต่อ ไม่เป็นโรคผิวหนัง โดยผู้ปรุงมีการตรวจสุขภาพประจำปี

-

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

 

  1. มีการประเมินภาวะการเจริญเติบโตโดยการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงด้วยอุปกรณ์ที่ได้มาตรฐานและแปลผล โดยใช้โปรแกรมคำนวณภาวะโภชนาการ ของสถาบันวิจัยโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล
  2. มีการแก้ปัญหานักเรียนกลุ่มที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการ อ้วน เตี้ย โดยจัดอาหาร อาหารเสริมและกิจกรรมให้กับนักเรียนในแต่ละกลุ่ม
  3. มีการประเมินสมรรถภาพทางกายนักเรียนเป็นประจำ ภาคเรียนละ 1 ครั้ง
  4. จัดกิจกรรมการออกกำลังการโดยการเล่นกีฬา การแข่งขันกีฬา เพื่อส่งเสริมสุขภาพนักเรียนให้แข็งแรง

จัดให้นักเรียนได้ออกกำลังกายโดยการเล่นก๊ฬาที่หลากหลายและจัดให้มีการแข่งขันกีฬาที่หลากหลายมากขึ้น

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

 

  1. ปลูกฝังการดูแลความสะอาดของร่างกาย เล็บ ผม คราบไคล โดยมีการให้ความรู้กับนักเรียนเกี่ยวกับการดูแลความสะอาดของร่างกาย ครูประจำชั้นคอยตรวจความสะะอาดของร่างกายเป็นประจำ
  2. จัดกิจกรรมส่งเสริมการแปลงฟันช่วงพักกลางวัน มีการแก้ปัญหาช่องปากโดยได้รับความอนุเคราะห์จากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบางกระดานตรวจสุขภาพช่องปาก อุดฟัน เคลือบหลุมร่องฟันและถอนฟันให้กับนักเรียน

พัฒนาต่อเนื่องผ่านกิจกรรมในชีวิตประจำวันและสอดแทรกความเป็นสากล ตลอดจนสุขนิสัยที่เป็นแบบอย่างได้

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

 

  1. มีการจัดบริการน้ำดื่มที่ปลอดภัยและเพียงพอโดยมีทั้งหมด 5 จุด ทั้ง 5 จุดมีเครื่องกรองน้ำและเปลี่ยนไส้กรองน้ำ ทำให้น้ำมีความสะอาด
  2. มีการส่งตัวอย่างน้ำที่ใช้ในการบริโภคไปทดสอบคุณภาพ ทำให้มั่นใจได้ว่าน้ำที่บริโภคในโรงเรียนมีความสะอาด
  3. มีการจัดห้องสุขาที่สะอาด ปลอดภัย และเพียงพอไว้บริการ โดยห้องน้ำแต่ละแห่งจะมีนักเรียนเปลี่ยนเวรกันทำความสะอาด
  4. มีการจัดการขยะ ส่งเสริมให้นักเรียนแยกขยะ โดยมีถังขยะประเภทต่างๆ มีหลุมขยะ และมีโรงปุ๋ยหมัก
  5. มีการเฝ้าระวังจุดเสี่ยงต่างๆที่อาจก่อให้เกิดอันตรายแก่นักเรียนโดยการสำรวจจุดเสี่ยงต่างๆ ถ้าพบก็ทำการแก้ไขเพื่อไม่ให้เกิดอันตรายกับนักเรียน ุ6. มีการจัดป้ายนิเทศให้ความรู้กับนักเรียนในเรื่องสุขบัญญัติ 10 ประการ
  1. ควบคุมดูแลการทำความสะอาดของถังน้ำดื่มและตรวจเช็คไฟรั่ว เปลี่ยนไส้กรองน้ำเมื่อครบกำหนดระยะ
  2. ดูแลป้ายนิเทศว่านักเรียนให้ความสนใจหรือไม่ นักเรียนท่องได้หรือไม่ ปฏิบัติได้ครบทุกข้อหรือไม่ ข้อไหนไม่ได้เพราะอะไร ควรทำอย่างไร ครูควรให้ความสนใจ ดูแลนักเรียนอย่างใกล้ชิด เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง สมบูรณ์
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

 

  1. มีการจัดห้องพยาบาลสำหรับปฐมพยาบาลนักเรียนที่เจ็บป่วย โดยมีครูพยาบาลและนักเรียนแกนนำคอยดูแล
  2. มีการแยกส่วนเตียงชาย/หญิง เพื่อให้เป็นสัดส่วนที่ชัดเจน
  3. มีการจัดอบรมนักเรียนแกนนำที่ทำหน้าที่ดูแลห้องพยาบาล โดยกได้รับความอนุเคราะห์จากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบางกระดานมาให้ความรู้กับนักเรียนแกนนำ
  4. มีการจัดระบบส่งต่อสำหรับนักเรียนที่ควรได้รับการดูแลจากแพทย์

จัดหางบประมาณสนับสนุนเพิ่มเติมเพื่อซื้อแผงกั้นห้องพยาบาลให้ครบทั้ง 2 ฝั่ง และซื้อเตียงแทนเตียงที่มีการชำรุด

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

 

  1. มีการจัดทำแผนการเรียนรู้แบบบูรณาการ นำแผนการเรียนรู้มาสอดแทรกในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้
  2. มีกิจกรรมสร้างและส่งเสริมความรู้ด้านการเกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย โดยมีการนำนักเรียนไปดูงานในโครงการยุวเกษตร มีการจัดมุมความรู้ให้กับนักเรียน และให้นักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปโิบัติจริง
  1. เผยแพร่แผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการให้แก่ผู้ที่สนใจ
  2. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านสังคมออนไลน์
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ

ฝากปลูก ฝากเมล็ดพันธุ์พืชผักให้ผู้ปกครองนักเรียนไปปลูกที่บ้าน

เพื่อเป็นการสร้างความสัมพันธ์ ความผู้กพันธ์ ความรับผิดชอบโครงการร่วมกันของครู นักเรียน และผู้ปกครองนักเรียน ให้ความสนใจ ใส่ใจเกี่ยวกับการปลูกผัก การดูแลผัก การรดน้ำ จนกระทั้งมีผลผลิต นำผลผลิตที่ได้มาเป็นอาหารรับประทานภายในครอบครัวมีส่วนเหลือนำมาขายเข้าสหกรณ์โรงเรียน และนำไปประกอบอาหารกลางวันให้นักเรียนรับประทาน

ส่งเสริมขยายความรู้ ขยายครอบครัว ขยายกลุ่ม จัดวันพบปะแลกเปลี่ยนเรียนรู้ นำเอาผลมาพูดคุยกัน ร่วมกันแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น และจัดทำกิจกรรมไปพร้อมๆกัน เพื่อส่งผลไปยังครอบครัว นักเรียน และชุมชน สร้างสานสัมพันธ์ร่วมกิจกรรมฝากปลูก รักลูกหลาน

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

การจัดทำโครงการเด็กไทยแก้มใสมีหน่วยงานภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการและสนับสนุนการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องทั้งด้านการเงิน และอื่นๆให้กับโรงเรียนตลอดจนเป็นที่ปรึกษาและให้ข้อเสนอแนะคือ 1. อบต.บางปิด
2. สำนักงานเกษตรอำเภอแหลมงอบ 3.รพ.สต.บ้านบางกระดาน 4.สำนักงานเกษตรจังหวัดตราด 5.โรงพยาบาลแหลมงอบ 6.ศูนย์อนามัยที่ 6 7.สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตราด 8.นายหวังดีคุณโลหิต อสม.หมู่ 4 ตำบลบางปิด 9.นางบุญเรือน ผลานันทนิช กรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

ชุมชนรอบข้างโรงเรียนให้ความร่วมมือในการจัดกิจกรรมที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ของนักเรียน เช่น กิจกรรมฝากปลูก คือ ฝากเมล็ดพันธ์พืชผักให้กับผู้ปกครองและนักเรียนนำไปปลูกที่บ้าน และสภาพแวดล้อมภายในโรงเรียนมีความสะอาดร่มรื่นและมีพื้นที่ให้จัดกิจกรรมสำหรับการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับโครงการเด็กไทยแก้มใส และมีบุคลากรและทีมงานที่สามารถดำเนินการเป็นต้นแบบให้กับนักเรียน

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

กลไกการบริหารงานของผู้บริหารเพื่อให้ทีมงานมีการขับเคลื่อนไปด้วยดีคือมีการมอบหมายงานให้ตรงกับความรู้ความสามารถของครูและแบ่งความรับผิดชอบแต่ละกิจกรรมให้ทำร่วมกันและช่วยเหลือซึ่งกันและกันมีการติดตามเป็นระยะและสรุปวิเคราะห์ผลการดำเนินงาน

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

การจัดกระบวนการเรียนรู้ของครูนักเรียนและแม่ครัวที่เป็นปัจจัยความสำเร็จคือครูเป็นผู้แนะแนวทาง ให้คำแนะนำ นักเรียนแม่ครัว มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องที่แต่ละคนต้องรับผิดชอบ และลงมือปฏิบัติ ตลอดจนเป็นกำลังใจในการทำงาน

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

ผู้ปกครองนักเรียน ให้ความสนใจและมีส่วนร่วมในทุกกิจกรรมโดยเฉพาะการเข้าร่วมกิจกรรมฝากปลูกมากและดูแลนักเรียนในปกครองของตนเองในการปลูกผัก ดูแลผักรวมถึงการเก็บผลผลิตทำให้นักเรียนได้เรียนรู้จากการปฏิบัติจริง เป็นการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีภายในครอบครัวและได้รับประทานผักที่ปลอดภัย ทำให้สุขภาพแข็งแรงสมบูรณ์

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

มีการจัดซื้อในชุมชนนอกเหนือจากผลผลิตที่มีในโรงเรียนและสนับสนุนให้ชุมชนผู้ปกครองปลูกผักกินเองและส่งขายให้โรงเรียน

  • หลักฐานการซื้อจ่ายการจัดทำอาหารกลางวัน
  • รูปภาพการดำเนินการ

ขยายการดำเนินการ และจัดทำอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

เลี้ยงไก่ไข่จำนวน 100 ตัว โดยแบ่งให้นักเรียนเป็นผู้ดูแลเพื่อสร้างทักษะอาชีพในอนาคต

  • แบบบันทึกการเก็บผลผลิตไข่ไก่่
  • รูปภาพการดำเนินกิจกรรม

ขยายจำนวนให้เพียงพอกับความต้องการของกิจกรรมการจัดบริการอาหารกลางวัน ให้ความรู้และเสริมสร้างอาชีพแก่ชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

เลี้ยงปลาดุกจำนวน 300 ตัว เลี้ยงกบ 150 ตัวโดยแบ่งให้นักเรียนเป็นผู้ดูแลเพื่อสร้างทักษะอาชีพในอนาคต

  • แบบบันทึกการขายผลผลิต
  • รูปภาพการดำเนินกิจกรรม

ขยายจำนวนให้เพียงพอกับความต้องการของกิจกรรมการจัดบริการอาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

มีการให้ความรู้เกี่ยวกับความสำคัญของอาหารเช้าแก่นักเรียนและผู้ปกครอง และขอความร่วมมือผู้ปกครองช่วยกับดูแล

  • แบบสอบถาม
  • รูปภาพการดำเนินการ

 

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

มีการจัดทำอาหารที่มีผักเป็นส่วนประกอบในทุกมื้ออาหาร และจัดจัดผลไม้ 3 มื้อต่อสัปดาห์และมีครูคอยดูแลในการรับประทานอาหารของนักเรียน

  • รายการอาหาร
  • รูปภาพการดำเนินการ

ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยเพิ่มความหลากหลายในเรื่องของเมนูอาหารให้มากขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

มีการจัดทำอาหารที่มีผักเป็นส่วนประกอบในทุกมื้ออาหาร และจัดจัดผลไม้ 3 มื้อต่อสัปดาห์ และมีครูคอยดูแลในการรับประทานอาหารของนักเรียน

  • รายการอาหาร
  • รูปภาพการดำเนินการ

ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยเพิ่มความหลากหลายในเรื่องของเมนูอาหารให้มากขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

มีการจัดทำอาหารที่มีผักเป็นส่วนประกอบในทุกมื้ออาหาร และจัดจัดผลไม้ 3 มื้อต่อสัปดาห์ และมีครูคอยดูแลในการรับประทานอาหารของนักเรียน

  • รายการอาหาร
  • รูปภาพการดำเนินการ

ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยเพิ่มความหลากหลายในเรื่องของเมนูอาหารให้มากขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

มีการปลูกผักปลอกสารในโรงเรียนส่งโรงอาหารสำหรับกิจกรรมการจัดบริการอาหารกลางวันและจัดทำโครงการฝากปลูก โดยให้เมล็ดพันธุ์แก่ชุมชนนำไปปลูก เพื่อทานในครอบครัว และยังรับซื้อผลผลิตจากชุมชนเพื่อเข้าโครงการอาหารกลางวันของนักเรียน

  • บันทึกรายรับรายจ่ายของสหกรณ์
  • รายละเอียดโครงการ
  • ภาพกิจกรรม

เพิ่มการผลิตให้เพียงพอต่อความต้องการและส่งขายตลาดในชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

เรามีการใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างไม่สมบูรณ์ เนื่องจากเมนูอาหารไม่สอดคล้อง

  • แบบบันทึกเมนูุอาหารจากโปรแกรม Thai School Lunch
  • รูปภาพการจัดทำกิจกรรม

ปรับเปลี่ยนเมนูให้สอดคล้องกับปโปรแกรม Thai School Lunchและตรงตามหลักโภชนาการ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

มีการประเมินภาวะการเจริญเติบโตโดยการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ภาคเรียนละ 2 ครั้ง ด้วยอุปกรณ์ที่ได้มาตรฐานและแปลผล โดยใช้โปรแกรมคำนวณภาวะโภชนาการ ของสถาบันวิจัยโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียนในระบบออนไลน์ www.dekthaikamsai.com ของโรงเรียนชุมชนวัดบางกระดาน(สวนราษฎร์บำรุง)

ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง และดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 1/12558 1/22558 2/12558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/12560 1/22560 2/12560 2/22561 1/12561 1/2
เตี้ย 7.32 7.32% 4.79 4.79% 2.99 2.99% 4.12 4.12% 5.00 5.00% 3.98 3.98% 3.07 3.07% 3.05 3.05% 3.91 3.91% 4.49 4.49% 6.04 6.04% 2.66 2.66% 6.99 6.99% 5.85 5.85%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 10.98 10.98% 8.38 8.38% 6.59 6.59% 10.59 10.59% 9.44 9.44% 7.39 7.39% 6.13 6.13% 5.49 5.49% 6.70 6.70% 12.36 12.36% 12.09 12.09% 5.32 5.32% 11.83 11.83% 12.23 12.23%
ผอม 6.13 6.13% 3.61 3.61% 1.80 1.80% 6.43 6.43% 4.47 4.47% 4.00 4.00% 4.29 4.29% 3.05 3.05% 2.23 2.23% 9.55 9.55% 6.86 6.86% 4.79 4.79% 2.15 2.15% 6.38 6.38%
ผอม+ค่อนข้างผอม 14.11 14.11% 7.83 7.83% 5.99 5.99% 11.11 11.11% 10.06 10.06% 8.57 8.57% 7.98 7.98% 5.49 5.49% 6.70 6.70% 16.85 16.85% 15.43 15.43% 9.57 9.57% 8.06 8.06% 10.64 10.64%
อ้วน 11.04 11.04% 4.82 4.82% 14.97 14.97% 4.68 4.68% 5.59 5.59% 4.57 4.57% 3.07 3.07% 1.83 1.83% 2.79 2.79% 3.37 3.37% 8.00 8.00% 7.45 7.45% 6.99 6.99% 7.45 7.45%
เริ่มอ้วน+อ้วน 12.88% 12.88% 7.23% 7.23% 18.56% 18.56% 12.28% 12.28% 10.06% 10.06% 8.57% 8.57% 6.75% 6.75% 6.10% 6.10% 5.59% 5.59% 10.67% 10.67% 14.29% 14.29% 13.83% 13.83% 13.44% 13.44% 12.23% 12.23%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

จัดอาหารที่ไม่มีไขมันสูง ไม่หวานจัดให้กับนักเรียนที่มีปัญหาเริ่มอ้วนและอ้วน

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียนในระบบออนไลน์ www.dekthaikamsai.com ของโรงเรียนชุมชนวัดบางกระดาน(สวนราษฎร์บำรุง)

ดำเนินการอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ไม่มีปัญหานักเรียนเริ่มอ้วนและอ้วน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

จัดอาหารที่มีโปรตีนสูง และไขมันสูงพร้อมกับเพิ่มปริมาณอาหารที่รับประทาน

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียนในระบบออนไลน์ www.dekthaikamsai.com ของโรงเรียนชุมชนวัดบางกระดาน(สวนราษฎร์บำรุง)

ดำเนินการอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ไม่มีปัญหานักเรียนค่อนข้างผอมและผอม

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

จัดอาหารที่มีแคลเซียมสูง เช่น นม และให้ออกกำลังกายด้วยการโหนบา

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียนในระบบออนไลน์ www.dekthaikamsai.com ของโรงเรียนชุมชนวัดบางกระดาน(สวนราษฎร์บำรุง)

ดำเนินการอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ไม่มีปัญหานักเรียนค่อยข้างเตี้ยและเตี้ย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

มีการจัดการแก้ไขโดยดูแลควบคุมปริมาณอาหาร และมีกิจกรรมการออกกำลังกาย

  • แผนการดำเนินการ
  • รูปภาพประกอบกิจกรรม

ดำเนินการติดตามผลอย่างต่อเนื่อง เพิ่มกิจกรรมการออกกำลังการที่กหลากหลาย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

ให้ความรู้แก่ผู้ปกครองในการปรับเปลี่ยนเมนูอาหารให้ถูกหลักโภชนาการ และผู้ปกครองให้ความร่วมมือในการเฝ้าระวังพฤติกรรมที่ส่งผลกระทบต่อภาวะโภชนกาการของนักเรียน

  • การประชมผู้ปกครองประจำปี
  • สรุปการเยี่ยมบ้านนักเรียน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

การจัดทำโครงการเด็กไทยแก้มใสมีหน่วยงานภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการและสนับสนุนการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องทั้งด้านการเงิน และอื่นๆให้กับโรงเรียนตลอดจนเป็นที่ปรึกษาและให้ข้อเสนอแนะคือ 1. อบต.บางปิด
2. สำนักงานเกษตรอำเภอแหลมงอบ 3.รพ.สต.บ้านบางกระดาน 4.สำนักงานเกษตรจังหวัดตราด 5.โรงพยาบาลแหลมงอบ 6.ศูนย์อนามัยที่ 6 7.สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตราด 8.นายหวังดีคุณโลหิต อสม.หมู่ 4 ตำบลบางปิด 9.นางบุญเรือน ผลานันทนิช กรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh