แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการตามเกณฑ์และรู้จักเลือกรับประทานอาหาร
ตัวชี้วัด : นักเรียนเจริญเติบโตสมวัย โดยมี ภาวะเริ่มอ้วน และอ้วน ไม่เกิน 7 % ภาวะค่อนข้างผอมและผอม ไม่เกิน 3 % ภาวะค่อนข้างเตี้ย และเตี้ยไม่เกิน 4 %

 

 

นักเรียนได้เจริญเติบโตสมวัย ตามตัวชี้วัด

2 เพื่อให้นักเรียนเกิดทักษะในด้านการเกษตร สหกรณ์โรงเรียน ธนาคารโรงเรียน และสามารถนำทักษะไปใช้ในการดำรงชีวิตประจำวัน
ตัวชี้วัด : นักเรียนได้กินผัก-ผลไม้หลากหลายเพิ่มขึ้น ในมื้อกลางวัน เฉลี่ย ผักวันละ (อนุบาล40กรัม ประถม60กรัม)ผลไม้(อนุบาล 4ส่วน ประถม 6 ส่วนๆละพอดีคำ) ต่อมื้อต่อคน

 

 

นักเรียนได้กินผัก-ผลไม้หลากหลายเพิ่มขึ้น ในมื้อกลางวัน เฉลี่ย ผัก อนุบาลวันละ 40 กรัม ประถม วันละ ุ60 กรัม และกินผลไม้ อนุบาล 4 ส่วน ต่อมื้อต่อคน ประถม 6 ส่วน ต่อมื้อต่อคน

3 เพื่อให้นักเรียนมีคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียงในการดำเนินชีวิต
ตัวชี้วัด : นักเรียนเกิดความรับผิดชอบโดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คือมีความรู้มีคุณธรรมใช้ความพอประมาณอยู่บนพื้นฐานความมีเหตุผลและมีความรอบครบจากการสร้างภูมิคุ้มกัน

 

 

นักเรียนเกิดความรับผิดชอบโดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คือมีความรู้ มีคุณธรรม ใช้ความพอประมาณ อยู่บนฐานความมีเหตุผลและมีความรอบครบจากการสร้างภูมิคุ้มกัน นำสู่ 4 มิติ คือ วัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม สร้างความสมดุล พร้อมรับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นตลอดเวลา