ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใส

แบบฟอร์มการสังเคราะห์คุณค่าของโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส โรงเรียนสำนักสงฆ์ศรีวิชัย

รหัสโครงการ ศรร.1413-112 รหัสสัญญา 58-00-2265-ต.1 ระยะเวลาโครงการ 2 พฤษภาคม 2016 - 30 เมษายน 2017

วันที่เริ่มประเมิน

1. นวัตกรรมที่เกิดขึ้นเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(ให้เลือกนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในกิจกรรมตาม 8 องค์ประกอบ และอธิบายว่านวัตกรรมที่เกิดขึ้นมีลักษณะขั้นตอนอย่างไร)

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
1. การเกษตรในโรงเรียน
  1. น้ำส้มควันไม้ไล่แมลงจากเตาเผาถ่าน
  2. เตาแก๊สชีวภาพจากมูลหมู
  1. นำไม้ดิบมาเผาในเตาที่ทำไว้แล้วทำท่อไว้ที่ปล่องไฟ เพื่อให้ไอความรู้ที่ระเหยหยดออกมาเป็นน้ำ พร้อมทำที่รองรับไอน้ำแขวนไว้ตรงปล่องทิ้งไว้ให้ตกตะกอน เมื่อนำไปใช้ต้องนำมาผสมน้ำตามสัดส่วน จากนั้นนำไปฉีดพ่นแปลงผัก ซึ่งเป็นนวัตกรรมที่นักเรียนนำไปใช้ในชีวิตประจำวันกับครอบครัวและชุมชนได้
  2. เกิดจากการหมักของมูลหมูซึ่งเป็นการลดมลพิษและนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์กระบวนการทำ นำมูลหมูจากคอกส่งทางท่ิลงบ่อซีเมนต์ หมักไว้ 2-3 เดือน โดยมีวาล์วเปิด- ปิด เพื่อต่อไปยังเตาแก๊ส
    หลักฐานเอกสาร / รูปภาพ

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
2. สหกรณ์นักเรียน
  1. ประกันชีวิตศรีวิชัย
  2. สหกรณ์บริการ

จากกระบวนการสหกรณ์ต่างๆ เช่น ธนาคารศรีวิชัย สหกรณ์กลุ่มผลผลิต สหกรณ์ร้านค้า และสหกรณ์บริการ ที่ดำเนินการโดยนักเรียนมีส่วนร่วมทุกขั้นตอน ทำให้กิจการสหกรณ์มีผลกำไร ทางโรงเรียนได้จัดทำประกันชีวิตให้กับนักเรียนและคณะครูทุกคน โดยเก็บเงินคนละ 100 บาท และโรงเรียนนำผลกำไรมาสมทบ หลักฐานเอกสาร/รูปภาพ

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
3. การบริหารจัดการอาหารของโรงเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
4. การเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ และสมรรถภาพทางกายนักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
5. การพัฒนาสุขนิสัยและการส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน

 

 

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
6. การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ

โครงการ ZERO Waste

มีการคัดแยกขยะโดยการใช้กระบวนการ 7R ซึ่งผลจาการใช้กระบวนการนี้โรงเรียนมีรายได้ สามารถนำขยะกลับมาใช้ใหม่ได้ หลักฐานเอกสาร

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
7. การจัดบริการสุขภาพนักเรียน

ผลิตภัณฑ์ขัดผิว

จากการนำวัสดุที่มีอยู่รอบตัว เช่น ไข่ขาว น้ำผึ้งรวง เบียร์ และ EM มาผสมเข้าด้วยกันตามอัตราส่วน
หลักฐานเอกสาร/รูปภาพ

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
8. การจัดการเรียนรู้เกษตร สหกรณ์ อาหาร โภชนาการและสุขภาพอนามัย

เรียนรู้แบบชีววิถี

ให้นักเรียนแบ่งความรับผิดชอบตามฐานแต่ละฐาน โดยมีครูที่ปรึกษาฐานละ 2 คน มีทั้งหมด 13 ฐานการเรียนรู้ หลักฐานเอกสาร/รูปภาพ

 

แนวทางการดำเนินงาน (๘ แนวทางหลัก)ผลที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมของโรงเรียนลักษณะ/ขั้นตอน/รายละเอียด/หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง (บรรยาย)แนวทางการพัฒนาต่อ
มีไม่มี
9. อื่น ๆ

เตาประหยัดพลังงาน

  1. นำวัสดุเหลือใช้ (ถังถ่านหิน) มาผ่าครึ่งทำมือจับไว้ที่ฝาครอบ ทำขารองสำหรับวางเตา
  2. เอาตะแกรงวางตรงกลางเว้นช่องว่างด้านข้าง 2 ด้านเพื่อใส่ถ่าน ทำให้ไม่สิ้นเปลืองถ่าน หลักฐานเอกสารรายละเอียดวิธีทำ /รูปภาพ

 

2. อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จ(นวัตกรรม)

1. หน่วยงานภาคีเครือข่าย

1.วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี สงขลา 2.การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย 3.เครือข่ายผู้ปกครอง 4.ท้องถิ่น (เทศบาล ผู้นำท้องที่) 5.โรงพยาบาลรพสต. 6.เครือข่ายเอกชน ซึ่งภาคีเครือข่ายได้เข้ามามีส่วนร่วมโดยการให้ความรู้ คำแนะนำ และให้ความช่วยเหลือด้านงบประมาณ

2. สภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยเอื้อ

โรงเรียนมีศูนย์การเรียนรู้เกษตรพอเพียงนำสู่การพัฒนาทักษะนวัตกรรมสำหรับนักเรียนและชุมชน มีแหล่งเรียนรู้ที่สามารถฝึกปฏิบัติจริง

3. กลไกที่ทำให้เกิดการขับเคลื่อนและทีมทำงาน

ผู้บริหารมีการชี้แจงนโยบายและสร้างความเข้าใจให้และความตระหนักให้กับทีมงานในการจัดทำโครงการและสร้างการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานแต่ละองค์ประกอบในทุกขั้นตอนที่ต้องเรียนรู้ร่วมกันเข้าใจและช่วยเหลือซึ่งกันและกันจนทีมงานเกิดความเป็นหนึ่งมีความรักความผูกพันธ์สามัคคีจนเกิดความสำเร็จ

4. กระบวนการเรียนรู้ของครู นักเรียนและแม่ครัว

เรียนรู้จากการได้ศึกษาดูงาน การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จากการปฎิบัติจริง และนำมาสรุปผลและวิเคราะห์ร่วมกัน จากนั้นวางแผน แก้ไข และพัฒนาต่อในทุกกิจกรรม

5. กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน

ผู้ปกครองและชุมชน เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมต่างๆของโรงเรียน โดยการมีการประชาสัมพันธ์ชี้แจงการจัดทำโครงการให้กับผู้ปกครองและชุมชนได้ทราบ ซึ่งจากการดำเนินการดังกล่าว ผู้ปกครองและชุมชนเห็นข้อดีและความสำตัญของโครงการนี้จึงเข้ามามีส่วนร่วมในการสนับสนุนในการจัดกิจกรรม ทั้งแรงกาย และกำลังทรัพย์ และ ให้ข้อเสนอแนะ ในการดำเนินงานร่วมกัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

3. ผลผลิตทางการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีชนิดและปริมาณของผักและผลไม้ที่ผลิตในโรงเรียนเพียงพอ

การบริหารจัดการให้แม่ครัวซื้อจากตลาดชุมชนที่ผู้ปกครองนำมาขาย

เอกสารการจัดซื้อและการนำผลผลิตทางการเกษตรของโรงเรียนผ่านสหกรณ์นักเรียนเข้าโครงการอาหารกลางวัน/ภาพกิจกรรม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ไก่ไข่/ไก่เนื้อ/เป็ด/หมู)

มีไก่ไข่,หมู โดยให้นักเรียนแกนนำรับผิดชอบการเลี้ยงแล้วนำผลผลิตเข้าสหกรณ์ส่งต่ออาหารกลางวัน ส่วนหมูเลี้ยงแล้วนำไปขายเพื่อเอาเงินเข้าโครงการกองทุนหมุนเวียนอาหารกลางวัน

เอกสารสรุปผลการดำเนินงาน/ภาพกิจกรรม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีการเลี้ยงสัตว์น้ำเพื่อเป็นอาหารโปรตีน (ปลา/กบ)

เลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก,ท่อซีเมนต์ จำนวน200ตัวต่อเทอม

ภาพกิจกรรม/เอกสารสรุปการจัดกิจกรรม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนมีบริการอาหารเช้าหรือไม่

 

 

 

5. มีการจัดบริการให้เด็กบริโภคผักและผลไม้ (ต้องได้บริโภคร้อยละ 50 ของปริมาณที่แนะนำต่อวัน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.1. เด็กอนุบาล 3-5 ปี ควรได้รับผัก 30 กรัม(2 ข้อนโต๊ะ) ผลไม้ 100 กรัม

เป็นการจ้างเหมาแต่ให้ผู้รับจ้างจัดรายการอาหารตาม TSL ที่ครูโภชนาการกำหนดแล้วให้แม่ครัวไปจัดการซื้อวัตถุดิบในส่วนที่ทางโรงเรียนไม่มีจากตลาดนำมาปรุงให้นักเรียนโดยแม่ครัวตักอาหารบริการนักเรียนมีครูคอยดูแลให้นักเรียนได้บริโภค

รายการอาหารตาม TSL ภาพรายการอาหาร เอกสารหลักฐานการจัดซื้อวัตถุดิบแต่ละวัน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.2. เด็กประถม 6-12 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 60 กรัม(4 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

เป็นการจ้างเหมาแต่ให้ผู้รับจ้างจัดรายการอาหารตาม TSL ที่ครูโภชนาการกำหนดแล้วให้แม่ครัวไปจัดการซื้อวัตถุดิบในส่วนที่ทางโรงเรียนไม่มีจากตลาดนำมาปรุงให้นักเรียนโดยแม่ครัวตักอาหารบริการนักเรียนมีครูคอยดูแลให้นักเรียนได้บริโภค

รายการอาหารตาม TSL ภาพรายการอาหาร เอกสารหลักฐานการจัดซื้อวัตถุดิบแต่ละวัน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5.3. เด็กมัธยม 13-18 ปี ควรได้รับผักไม่น้อยกว่า 90 กรัม(6 ช้อนโต๊ะ) ผลไม้ 200 กรัม

ไม่มีนักเรียนระดับมัธยมศึกษา

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. โรงเรียนมีความร่วมมือกับเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

4. สถานการณ์การจัดบริการอาหารและโภชนาการของนักเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การใช้โปรแกรม Thai School Lunch ทำได้อย่างสมบูรณ์หรือไม่

มีการจัดทำตามTSL เป็นรายสัปดาห์ ให้แม่ครัวไปดำเนินการจัดซื้อ

เอกสารหลักฐานรายการอาหารและการจัดซื้อ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีการติดตามภาวะโภชนาการเทอมละ 2 ครั้ง ได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

โดยการชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูงโดยครูประจำชั้นครูประจำชั้นให้ครูโภชนาการวิเคราะห์ข้อมูลจากนั้นแบ่งกลุ่มเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการและภาวะโภชนาการปกติส่งกลับให้ครูประจำชั้นดำเนินการแจ้งผู้ปกครองและจัดทำโครงการแก้ไขปัญหา

 

 

3. เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการเป็นไปตามตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการหรือไม่

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียน (ปีการศึกษา)

ภาวะ2558 2/22559 1/12559 1/22559 2/12559 2/22560 1/22560 2/12560 2/22561 1/2
เตี้ย 1.75 1.75% 2.22 2.22% 1.47 1.47% 0.98 0.98% 1.23 1.23% 0.92 0.92% 1.15 1.15% 1.62 1.62% 1.83 1.83%
เตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย 6.25 6.25% 10.86 10.86% 5.90 5.90% 5.65 5.65% 5.68 5.68% 7.62 7.62% 6.24 6.24% 5.08 5.08% 5.25 5.25%
ผอม 6.75 6.75% 6.91 6.91% 5.41 5.41% 2.21 2.21% 3.47 3.47% 6.93 6.93% 6.47 6.47% 5.08 5.08% 3.42 3.42%
ผอม+ค่อนข้างผอม 12.50 12.50% 14.57 14.57% 11.06 11.06% 9.58 9.58% 8.93 8.93% 17.32 17.32% 16.86 16.86% 13.39 13.39% 12.56 12.56%
อ้วน 4.50 4.50% 3.21 3.21% 3.69 3.69% 7.13 7.13% 6.20 6.20% 4.85 4.85% 5.08 5.08% 5.31 5.31% 6.62 6.62%
เริ่มอ้วน+อ้วน 13.75% 13.75% 10.37% 10.37% 10.57% 10.57% 11.06% 11.06% 11.66% 11.66% 9.47% 9.47% 9.47% 9.47% 11.32% 11.32% 10.50% 10.50%
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.1. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.2. ภาวะค่อนข้างผอมและผอมลดลง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3.3. ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยลดลง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. โรงเรียนได้มีการเฝ้าระวังและมีกิจกรรมเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ตามข้อ 3.1-3.3) เป็นรายบุคคลหรือไม่ อย่างไร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้วยหรือไม่อย่างไร

มีการประชุมเครือข่ายผู้ปกครองเดือนละ 1 ครั้งเพื่อพบปะพูดคุย ชี้แจงและเสนอแนะในประเด่นต่างๆ เพื่อจะได้เร่งหาแนวทางแก้ไข

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

5. สรุปผล (บทคัดย่อ)*

1.วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี สงขลา 2.การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย 3.เครือข่ายผู้ปกครอง 4.ท้องถิ่น (เทศบาล ผู้นำท้องที่) 5.โรงพยาบาลรพสต. 6.เครือข่ายเอกชน ซึ่งภาคีเครือข่ายได้เข้ามามีส่วนร่วมโดยการให้ความรู้ คำแนะนำ และให้ความช่วยเหลือด้านงบประมาณ

หมายเหตุ *

  • สรุปผล จะนำไปใส่ในบทคัดย่อของรายงานสรุปปิดโครงการ (ส.3)
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของสรุปผล ให้ลบข้อความในช่องสรุปผลทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh